SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
หน้าที่ชาวพุทธ
1. การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
2. ศึกษาหาความรู้เรื่ององค์ประกอบพุทธศาสนา
3. การปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอุบาสกธรรม 7
4. ศึกษาพิธีกรรมทางศาสนา
5. พิธีทาบุญบ้าน
พุทธมามกะ
พุทธมามกะ หมายถึง ผู้ประกาศตนเป็นชาวพุทธ นับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึง
แล้วปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอน ขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มีขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมสถานที่ประกอบพิธีกรรม แล้วแต่ความเหมาะสม เช่นนิมนต์พระสงฆ์มาที่หอประชุมโรงเรียน
หรือเดินทางไปที่วัด ประกอบพิธี ในพระอุโบสถ หรือศาลาการเปรียญ โดยจัดโต๊ะหมู่บูชา และเครื่องบูชา
จัดอาสนสงฆ์ให้ครบตามจานวนที่อาราธนาพระสงฆ์ไว้
2. ผู้ปกครองนาเด็ก หรือครูนานักเรียน ไปแสดงตัวต่อพระสงฆ์ ณ สถานที่ที่กาหนดไว้ ตามเวลาที่นัดหมาย
3. ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ขณะที่ผู้ที่จะแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
นั่งคุกเข่าแบบเทพธิดา,เทพบุตร ตามเพศพร้อมกับ ประนมมือและกล่าวคาบูชาพระรัตนตรัยพร้อมกัน
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้าด้วยเครื่องสักการะนี้
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรมด้วยเครื่องสักการะนี้
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้
หมายเหตุ ถ้ากล่าวคนเดียว ให้เปลี่ยน คาว่า ปูเชมะ เป็น ปูเชมิ
4. หลังจากนั้นให้กล่าวคาปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ ดังนี้
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ
เอสาหัง ภันเตสุจิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ
พุทธะมามะโกติ มัง สังโฆ ธาเรตุ
คาแปล
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นแม้ปรินิพพานไปนานแล้วพร้อมทั้ง
พระธรรม และ พระสงฆ์ว่า เป็นสรณะที่พึ่ง ขอพระสงฆ์จงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นพุทธมามกะ
หมายเหตุ
ถ้าเป็นหญิงคนเดียว ให้เปลี่ยน คาว่า พุทธะมามะโกติ เป็น พุทธะมามิกาติ
แต่ถ้ากล่าวพร้อมกันหลายคน ให้เปลี่ยนคาว่า เอสาหัง เป็น เอเตมะยัง ให้ผู้หญิง เปลี่ยนเป็น เอตามะยัง คาว่า
คัจฉามิ เปลี่ยนเป็น คัจฉามะ และ พุทธะมามะโกติ เป็น พุทธะมามิกาติ และ มัง เป็น โน
5. ต่อจากนั้น ฟังโอวาทจากพระสงฆ์ สมาทานศีล และรับศีล ถวายจตุปัจจัย พระสงฆ์อนุโมทนา
กรวดน้ารับพร หลังจากนั้นกราบลาด้วยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นเสร็จพิธี การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ
นิยมจัดทาเนื่องในโอกาส เด็กมีอายุ ประมาณ 7-15 ปี หรือโรงเรียนจัดทาในโอกาสเข้าปีการศึกษาใหม่
หรือมีผู้เลื่อมใสเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา
การศึกษาองค์ประกอบพระพุทธศาสนา
การพิจารณาความหมายของศาสนา นักวิชาการได้แบ่งองค์ประกอบของศาสนาเป็น 6ประการ
ประกอบด้วย
1. ผู้ก่อตั้ง หรือ ศาสดา ซึ่งผู้ก่อตั้งศาสนาพุทธ คือเจ้าชายสิทธัตถะ
ได้ออกบวชเป็นโยคีสิตธัตถะแล้วศึกษาหาความรู้ บาเพ็ญเพียรด้วยความวิริยะอุตสาหะ
แสวงหาโมกขธรรมจนค้นพบสัจธรรม ตรัสรู้เป็นองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ณ
ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม แขวงเมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย
แล้วประกาศศาสนาครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ เมื่อวันขึ้น 15ค่า เดือน 8 ก่อนพุทธศักราช 45ปี ณ
ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน
2. หลักคาสอน หรือศาสนธรรม ทุกศาสนาต้องมีหลักคาสอนเป็นสารัตถะ
เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัต ิิในการดาเนินชีวิตในสังคมและหาเป้าหมายสุดท้ายของชีวิต
ทางพุทธศาสนาเรียก นิพพาน หลักคาสอนของศาสนาพุทธเรียกว่า พระธรรม
โดยมีการบันทึกลายลักษณ์อักษรเป็นคัมภีร์ เรียกว่า พระไตรปิฎก
3. นักบวช สาวก หรือ ศาสนบุคคล ศาสนาพุทธได้มีการสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันนี้
ก็เพราะการปฏิบัติ การศึกษาและการเผยแผ่ของพระสงฆ์ เป็นหลัก
4. ศาสนิกชน ผู้นับถือศาสนาพุทธ เราเรียกว่า พุทธศาสนิกชน หมายถึงผู้ที่เลื่อมใส พระรัตนตรัย
แล้วศึกษาหลักคาสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า มาเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต
5. ศาสนสถาน ศาสานวัตถุ หรือสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หมายถึง
สถานที่ที่ปรากฎในพุทธประวัติ อันได้แก่สังเวชชนียสถาน
หรือสถานที่ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม ทางพุทธศาสนา อันได้แก่วัด โบสถ์ วิหาร เจดีย์
ศาลาการเปรียญ หอไตร เป็นต้น
6. พิธีกรรม หรือพุทธศาสนพิธี หมายถึงกิจกรรม
ของพุทธบริษัทต้องปฏิบัติเพื่อดารงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา อาทิ การอุปสมบท การทอดผ้าป่า
การทอดกฐิน การทาบุญตักบาตรในทุก ๆ วัน หรือในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น
อุบาสกธรรม 7
พุทธศาสนิกชนจาเป็นต้องมีกิจวัตรเป็นหลักปฏิบัติ เรียกว่า อุบาสกธรรม ซึ่งมีอยู่ 7ประการคือ
1. หมั่น ไปวัดตามโอกาสที่เหมาะสม เพราะ
การไปวัดจะได้พบปะกับพระภิกษุผู้ทรงศีลทรงคุณธรรมหรือได้พบกับมิตรที่สนใจใน
เรื่องธรรมเหมือนกับเรา ย่อมได้ชื่อว่าเป็นการคบหากัลยาณมิตร หรือเรียกว่ามิตรที่ดี
ซึ่งจะส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมเพิ่มขึ้น ดังพุทธสุภาษิตที่ว่า
ยํเว เสวติ ตาทิโส ( ยังเว เสวะติ ตาทิโส ) คบคนเช่นไรก็เป็นคนเช่นนั้นแล
2. หมั่น ฟังธรรม เมื่อมีโอกาสควรใส่ใจในการฟังธรรมอยู่เสมอ เพราะการฟังธรรมเป็นเหตุให้ได้รู้สิ่งไม่รู้
ส่วนสิ่งที่รู้แล้วก็จะช่วยให้เข้าใจยิ่งขึ้น เช่นการไปวัดเพื่อฟังเทศน์ ฟังธรรมตามโอกาสต่าง ๆ
ฟังการแสดงธรรมเทศนาทางวิทยุหรือทางโทรทัศน์ เป็นต้น
3. พยายามสนใจศึกษาและรักษาศีลให้บริสุทธิ์
โดยนาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศานามาใช้ปรับปรุงวิถีการดาเนินชีวิตให้ดียิ่ง ขึ้น
เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจว่าตนเองว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่แท้จริง
4. มีความเลื่อมใสในพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายเท่าเทียมกัน
ทั้งนี้เพราะพระสงฆ์แต่ละรูปได้เสียสละความสุขทางโลก
เพื่อมาประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอันเป็นหนทางไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์
และพระสงฆ์ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้สืบต่ออายุของพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวตลอดไป
5. ตั้งจิตให้เป็นกุศลในขณะฟังธรรม มิใช่ฟังธรรมโดยคิดในแง่ อคติ คิดขัดแย้ง
พยายามฟังธรรมเพื่อก่อให้เกิดกุศล จิตใจจะได้เป็นสุข
6. ทาบุญกุศลตามหลักและวิธีการของพระพุทธศาสนา ไม่แสวงบุญนอกคาสอนของพระพุทธเจ้า
ควรประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
7. ทะนุ บารุงพระพุทธศาสนาในทุก ๆ ด้าน ถ้าสามารถช่วยเหลือพระพุทธศาสนาได้
ด้วยวิธีการใดก็ควรขวนขวายเร่งรีบกระทา อาทิ การตั้งชมรมพุทธศาสน์ในโรงเรียน ในมหาวิทยาลัย
จัดให้มีการอบรมเยาวชน บุคคลทั่วไป หรือ คนต่างชาติให้เข้าใจใน พระพุทธศาสนา
พิธีกรรม
พิธีกรรม มาจาก คาว่า วิธี รวมกับ กรรม หมายถึงการปฏิบัติเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง
ซึ่งพิธีกรรมจะมีองค์ประกอบดังนี้
1. มีระเบียบแบบแผนหรือขั้นตอนการปฏิบัติ
2. มีการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณที่ประกอบพิธีกรรม
3. มีการแสดงความเคารพหรือการปลูกฝังให้มีมรรยาท
4. มีการใช้สัญลักษณ์สื่อความหมาย
พุทธศาสนพิธี หมายถึง การประกอบพิธีกรรมที่มีการนาพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย
เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้
1. เพื่อความเป็นสิริมงคล
2. ช่วยให้มีความสุขสดชื่น
3. ก่อให้เกิดความสามัคคี
4. ก่อให้เกิดความรู้มีความเฉลียวฉลาด
5. ช่วยให้มีสติ
6. ช่วยให้เกิดความประณีตมีความละเอียดถี่ถ้วน
7. เป็นการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี
การประกอบพิธีกรรมในงานใดก็ตามทั้งงานที่เป็นมงคลหรืองานอัปมงคลผู้มีส่วนร่วมในพิธีย่อมมีจุดประสง
ค์
ตามความศรัทธาหรือความเชื่อที่ตนมีอยู่
ว่าเมื่อทาแล้วย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างน้อยที่สุดก็ในเรื่องของความเป็นสิริมงคล
พิธีกรรมทางศาสนาพุทธหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ศาสนพิธี จาแนกได้เป็น 2 ประเภท
1. พิธีกรรมที่เป็นพุทธบัญญัติ
2. พิธีกรรมที่พัฒนาขึ้นในท้องถิ่น
พิธีกรรมที่เป็นพุทธบัญญัติ เป็นพิธีการเกี่ยวกับวินัยสงฆ์ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้
จะต้องปฏิบัติพิธีกรรมนั้นๆ ให้ถูกต้องตามที่บัญญัติไว้
พิธีกรรมที่พัฒนาขึ้นในท้องถิ่น คือ พิธีกรรมที่พุทธศาสนิกชนในท้องถิ่นต่าง ๆ กาหนดขึ้น
โดยมีการผสมผสานขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นให้เข้ากับกิจกรรมทางพุทธศาสนา
และได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็นประเพณี
ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้น เนื่องจากมีหลักการของพระพุทธศาสนา
ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงวางไว้แต่ในปีที่ตรัสรู้ เพื่อสาวกจะได้ถือเป็นหลักในการออกไปประกาศพระศาสนา
อันเรียกว่า "โอวาทปาติโมกข์" ในโอวาทนั้น มีหลักการสาคัญที่ทรงวางไว้ 3ประการ คือ
สอนไม่ให้ทาความชั่วทั้งปวง สอนให้อบรมกุศลให้พร้อม สอนให้ทาจิตใจของตนให้ผ่องแผ้ว
โดยหลักการทั้ง 3นี้ พุทธบริษัทต้องพยายามเลิกละความประพฤติชั่วทุกอย่างจนเต็มความสามารถ
และพยายามสร้างกุศลสาหรับตนให้พร้อมเท่าที่จะสร้างได้ กับพยายามชาระจิตใจให้ผ่องใสอยู่เสมอ
ด้วยการพยายามทาตามคาสอนในหลักการ เป็นการพยายามทาความดี หรือชาวพุทธเรียกว่า "ทาบุญ"
การทาบุญนี้คนไทยมักใช้ควบคู่กับคาว่า “ทาทาน” จนมีการเรียกจนติดปากว่า ให้รู้จัก “ทาบุญทาทาน”
กันบ้าง ซึ่งอาจหมายถึง การให้ โดยไม่หวังผลตอบแทน
พระพุทธเจ้าทรงแสดง การทาความดีหรือทาบุญ ไว้ที่เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ 10 ได้แก่
1. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน การให้ของที่ควรแก่คนที่ควรจะได้รับ เช่น การให้สิ่งของ เงิน
ทอง อาหาร ที่อยู่อาศัย ให้วิชาความรู้ ให้ธรรมะ ให้อภัย
2. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล การตั้งอยู่ในศีลอย่างเคร่งครัด อย่างน้อยควรรักษาเบญจศีล
3. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา การแผ่เมตตา การเดินจงกรม การกาหนดลมหายใจ
เจริญวิปัสสนากรรมฐาน
4. อปวายนมัย บุญสาเร็จด้วยการอ่อนน้อมถ่อมตนแก่ผู้มีวัยวุฒิ และผู้มีคุณวุฒิ คือ ไม่ทาตัวเป็น
คนพาล การทาตัวหยิ่งยโส ให้เป็นคนสุภาพอ่อนโยน
5. เวยยาวัจวมัย บุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือการงาน ขวนขวายในกิจกรรมที่ชอบ เช่นรับใช้บิดา
มารดา ผู้มีพระคุณ ครูอาจารย์รวมตลอดถึงคนที่เราไม่รู้จักแต่ต้องการความช่วยเหลือจากเราในบาง
โอกาส โดยที่กิจการต่างๆที่เราช่วยนี้ด้วยชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยประเพณี และชอบด้วยธรรม
6. ปัตติทานมัย บุญสาเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ เฉลี่ยส่วนความดีให้กับผู้อื่น แผ่ส่วนบุญให้เพื่อนมนุษย์
มารเทพ เทวดา พรหม
7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสาเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ ยินดีในความดีของผู้อื่น
8. ธรรมสวนมัย บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม คือ การได้ฟังธรรมเสมอ ๆ
ได้รับฟังความรู้ที่เป็นประโยชน์ ตั้งอยู่ในสัมมาทิฏฐิ ความเห็นที่ดีงาม เพื่อชาระจิตใจให้บริสุทธิ์
9. ธัมมเทสนามัย บุญสาเร็จด้วยการแสดงธรรม คือ การถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น
10. ทิฏฐุชุกัมมะ บุญสาเร็จด้วยการอบรมความเห็นของตนให้ถูกกับหลักธรรมในพุทธศาสนา ด้วยการ
ศึกษาเล่าเรียนทาความเห็นให้ตรง คือ การใช้ปัญญาไตร่ตรองอยู่เสมอว่าอะไรผิด อะไรถูก
บุญกิริยาวัตถุนี้
เป็นแนวให้พุทธบริษัทปฏิบัติตามหลักการดังกล่าวข้างต้นและทาให้เกิดศาสนพิธีต่างๆ ขึ้นโดยนิยม ทาบุญ
โดยเริ่มต้นมีการรับศีล ต่อไปภาวนาด้วยการสวดมนต์เองหรือฟังพระสวดแล้วส่งใจไปตาม
จบลงด้วยการบริจาคทานตามสมควร เพราะนิยมทาบุญเป็นการบาเพ็ญความดีดังกล่าวนี้ จึงเกิดพิธีกรรมขึ้น
เมื่อพิธีกรรมใด เป็นที่นิยมและรับรองปฏิบัติสืบ ๆ มาจนเป็นประเพณี พิธีกรรมนั้นก็กลายเป็นศาสนพิธี
การทาบุญ
พิธีการทาบุญในงานมงคล ลาดับขั้นตอนการทาบุญ
1. กาหนดวัน/เดือน/ ปี ตามฤกษ์ที่ถือว่าเป็นมงคล
2. เมื่อถึงวันงานจัดตกแต่งสถานที่ให้พร้อม
3. เมื่อได้ฤกษ์ยามตามที่กาหนด ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ผู้มาร่วมงานทุกคนพนมมือ
4. ผู้ทาหน้าที่เป็นมัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางโต๊ะหมู่บูชา
กราบเบญจางคประดิษฐ์ 3ครั้ง แล้วกล่าวคาบูชาพระรัตนตรัย
อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมะ
ข้าพเจ้า ขอบูชา พระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี้
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมะ
ข้าพเจ้า ขอบูชา พระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมะ
ข้าพเจ้า ขอบูชา พระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้
5. ลาดับต่อไป ให้ทุคนกล่าวพร้อมกัน
อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ
ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว
ธัมมัง นะมัสสามิ
ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม
สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว
สังฆัง นะมามิ
ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์
6. มัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน
แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์ 3ครั้ง เสร็จแล้วนั่งพับเพียบกล่าวคาอาราธนาศีล
สาธุฯ มะยัง ภันเตวิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเตวิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
7. ลาดับต่อไปพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน จะแสดงเบญจศีล
ให้ทุกคนกล่าวตามและสมาทานศีลคือการรับนาไปปฏิบัติตามลาดับสืบไป
โดยพระสงฆ์ผู้เป็นประธานแล้วทุกคนกล่าวตามดังนี้
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (กล่าว 3 ครั้ง) แล้วกล่าวตาม 3ครั้ง
จากนั้นกล่าวตามทีละวรรค
พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
8. พระสงฆ์ผู้เป็นประธานจะบอกศีล 5 ทีละข้อ ให้ทุกคนกล่าวตามดังนี้
ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
9. เมื่อกล่าวตามจบทั้ง 5 ข้อแล้ว พระสงฆ์ผู้เป็นประธานจะสรุปอานิสงส์ของการรักษาศีล 5ดังนี้
อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ เหล่านี้คือสิกขาบทห้าประการ
สีเลนะ สุคะติงยันติ บุคคลย่อมไปสู่สุคติก็เพราะศีล
สีเลนะ โภคะสัมปะทา ย่อมถึงพร้อมด้วยโภคะสมบัติก็เพราะศีล
สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ย่อมไปสูนิพพานก็เพราะศีล
ตัสฺมา สีลัง วิโสธะเย เพราะฉะนั้นพึงชาระศีลให้หมดจด ฯ
10. ทุกคนน้อมวันทาพร้อมกับรับคาว่า สาธุ .
11. ลาดับต่อไป มัคนายก/มัคนายิกา กล่าวคาอาราธนาพระปริตร เพื่อขอให้พระสงฆ์สวดมนต์ดังนี้
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง
วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง
12. พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ทุกคนสารวมกาย วาจา ใจเพื่อสดับพระพุทธมนต์โดยเคารพ
13. เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ถึง มงคลคาถา ว่า “อะเสวะนา จะ พาลานัง ...
ให้มัคนายก/มัคนายิกา/เจ้าภาพ จุดเทียนนามนต์ แล้วยกประเคนให้พระสงฆ์
14. เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง มัคนายก/มัคนายิกา
นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางโต๊ะหมู่บูชา กล่าวนา คาบูชาข้าวแด่พระพุทธเจ้าดังนี้
นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( 3 ครั้ง ) แล้วกล่าวว่า
อิมัง สูปะ พะยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง โภชะนังอุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิฯ
ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาข้าวสาลี พร้อมทั้งแกงและกับ และน้าอันประเสริฐนี้แด่พระพุทธเจ้า
15. แล้วยกสารับกับข้าวถวายพระพุทธ
16. จากนั้นมัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางพระสงฆ์กล่าวคาถวายภัตตาหาร
ให้ทุกคนกล่าวตามดังนี้
อิมานิ มะยัง ภันเตภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโนชะยามะ สาธุ โนภันเต ภิกขุสังโฆ
อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้
ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ.
17. ลาดับต่อไปให้เจ้าภาพยกภัตตาหารประเคนพระสงฆ์ อาหารคาวและหวานตามลาดับ
หลังจากพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าภาพถวาย จตุปัจจัยไทยธรรม
18. ลาดับต่อไปจะกรวดน้าและรับพรจากพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน จะกล่าวดังนี้
ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง
ห้วงน้าที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด
เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ
ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วแต่โลกนี้ ย่อมสาเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันนั้น
อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง
ขออิฏฐผลที่ท่านปรารถนาแล้วตั้งใจแล้ว
ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา
จงสาเร็จโดยฉับพลัน ขอความดาริทั้งปวงจงเต็มที่
จันโท ปัณณะระโส ยะถา มะณิ โชติระโส ยะถา
เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสวควรยินดี ฯ
19. ขณะที่พระสงฆ์ผู้เป็นประธานกล่าว “ยะถา วริวะหา ......... จบ
เจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน นาน้าที่เตรียมไว้รินน้าให้หมดภาชนะขณะที่พระประธานกล่าวจบพร้อมกับกล่าวว่า
“อิทัง เมญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย
ขอบุญนี้จงสาเร็จแก่ญาติทั้งหลาย ของข้าพเจ้า ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุข ๆ เถิด”
20. เมื่อพระผู้เป็นประธานกล่าวจบพระสงฆ์ทุกรูปที่อยู่ในพิธีจะเริ่มสวดมนต์ให้พร ในบทที่ว่า
สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ มาเต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก
ภะวะอะภิวาทะนะสีลิสสะนิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมาวัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง
ความจัญไรทั้งปวง จงบาราศไป
โรคทั้งปวง(ของท่าน) จงหาย
อันตรายอย่ามีแก่ท่าน
ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน
ธรรมสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ
ย่อมเจริญแก่บุคคล ผู้มีปรกติไหว้กราบ
มีปรกติอ่อนน้อม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนิตย์ ฯ
และให้พรบทอื่น จบด้วยบทพระพุทธานุภาพทุกครั้ง อาทิฯ
๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะ พุทธา นุภาเวนะด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง
สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะ ธัมธา นุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง
สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน
สัพพะ สังฆา นุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง
สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ
21. เมื่อกรวดน้ารับพรพระแล้ว พระสงฆ์ผู้เป็นประธานหรือตัวแทนจะประพรมน้าพระพุทธมนต์
แด่ผู้มาร่วมงาน ขณะที่พระสงฆ์รูปอื่นสวดชะยันโต .... จนจบ เป็นอันเสร็จพิธี เจ้าภาพส่งพระกลับวัด
ขอขอบคุณที่มาของข้อมูล
http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak

More Related Content

What's hot

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาlinda471129101
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาprimpatcha
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayatippaya6563
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3Ch Khankluay
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา25Sura
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยThanawut Rattanadon
 

What's hot (17)

วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-4page
 
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนาวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
วันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนาวันสำคัญทางศาสนา
วันสำคัญทางศาสนา
 
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
Wansamkarn tippaya
Wansamkarn tippayaWansamkarn tippaya
Wansamkarn tippaya
 
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1pageใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
ใบความรู้ วันสำคัญทางศาสนา วันมาฆบูชา ป.1+414+dltvsocp1+55t2soc p01 f02-1page
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
 
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
ปริวาสกรรม ของ สมัชชาสงฆ์ไทยฯ ๒๕๕๔
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชาวันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
วันมาฆบูชา ตอน ๒: แนวคิดเกี่ยวกับวันมาฆบูชา
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา02 สังคมศึกษา
02 สังคมศึกษา
 
พระรัตนตรัย
พระรัตนตรัยพระรัตนตรัย
พระรัตนตรัย
 
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
Seang Dhamma Vol. 36 No. 433 May, 2011
 

Similar to หน้าที่ชาวพุทธ

สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...Prachoom Rangkasikorn
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมniralai
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่งพัน พัน
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) niralai
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555Panda Jing
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาTongsamut vorasan
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยTongsamut vorasan
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammablcdhamma
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาutumporn charoensuk
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 

Similar to หน้าที่ชาวพุทธ (20)

สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...สไลด์  ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
สไลด์ ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญของศาสนพิธี ป.4+466+dltvsocp4+55t2soc p04 ...
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรมสมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
สมุดประจำตัวสำหรับผู้เขาค่ายคุณธรรม
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต) พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
พุทธวิธีในการสอน พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตฺโต)
 
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
แนวปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ ส22106 ม.2 เทอม2
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
แนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชาแนวคิดเรื่องการบูชา
แนวคิดเรื่องการบูชา
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
Seang Dhamma Vol. 37 No. 443 March 2012
 
Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6Dhammaratana journal 6
Dhammaratana journal 6
 
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
140128 วารสารยุวพุทธสัมพันธ์
 
วิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทยวิจารณ์การศึกษาไทย
วิจารณ์การศึกษาไทย
 
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhammaScript พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
Script พม.ดร.สมชาย ฐฺานวฑฺโฒ blc dhamma
 
วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600Buddhajayanti2,600
Buddhajayanti2,600
 

More from leemeanshun minzstar

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลleemeanshun minzstar
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครleemeanshun minzstar
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวleemeanshun minzstar
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวleemeanshun minzstar
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชleemeanshun minzstar
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพleemeanshun minzstar
 

More from leemeanshun minzstar (20)

ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 10 เรื่อง การอ่านและการบันทึกโน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 9 เรื่อง จังหวะและเครื่องหมายกำหนดจังหวะ
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลักใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 8 เรื่อง กุญแจประจำหลัก
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 7 เรื่อง โน้ตสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 5 เรื่อง ประเภทของเครื่องดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 4 เรื่อง ประเภทของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 3 เรื่อง ลักษณะของวงดนตรีสากล
 
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากลใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
ใบความรู้ที่ 1 บทที่ 1 เรื่อง ประวัติดนตรีสากล
 
โฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสารโฮมเพจวารสาร
โฮมเพจวารสาร
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ  ท่องเที่ยวเหนือ  ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
เหนือ เที่ยว
เหนือ   เที่ยวเหนือ   เที่ยว
เหนือ เที่ยว
 
เหนือ ท่องเที่ยว
เหนือ   ท่องเที่ยวเหนือ   ท่องเที่ยว
เหนือ ท่องเที่ยว
 
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานครโรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
โรงเรียนมัธยมสังคีตวิทยา กรุงเทพมหานคร
 
ภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยวภาคเหนือ เที่ยว
ภาคเหนือ เที่ยว
 
ภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยวภาคตะวันออก เที่ยว
ภาคตะวันออก เที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
ภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยวภาคตะวันตก เที่ยว
ภาคตะวันตก เที่ยว
 
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชการจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
การจัดการความรู้ของมหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
 
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพกลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
กลยุทธ์การจัดการความรู้สำหรับการรับประกันคุณภาพ
 
Wiki
WikiWiki
Wiki
 

หน้าที่ชาวพุทธ

  • 1. หน้าที่ชาวพุทธ 1. การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 2. ศึกษาหาความรู้เรื่ององค์ประกอบพุทธศาสนา 3. การปฏิบัติหน้าที่ตามหลักอุบาสกธรรม 7 4. ศึกษาพิธีกรรมทางศาสนา 5. พิธีทาบุญบ้าน พุทธมามกะ พุทธมามกะ หมายถึง ผู้ประกาศตนเป็นชาวพุทธ นับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึง แล้วปฏิบัติตามหลักธรรมคาสอน ขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ มีขั้นตอนดังนี้ 1. เตรียมสถานที่ประกอบพิธีกรรม แล้วแต่ความเหมาะสม เช่นนิมนต์พระสงฆ์มาที่หอประชุมโรงเรียน หรือเดินทางไปที่วัด ประกอบพิธี ในพระอุโบสถ หรือศาลาการเปรียญ โดยจัดโต๊ะหมู่บูชา และเครื่องบูชา จัดอาสนสงฆ์ให้ครบตามจานวนที่อาราธนาพระสงฆ์ไว้ 2. ผู้ปกครองนาเด็ก หรือครูนานักเรียน ไปแสดงตัวต่อพระสงฆ์ ณ สถานที่ที่กาหนดไว้ ตามเวลาที่นัดหมาย 3. ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ขณะที่ผู้ที่จะแสดงตนเป็นพุทธมามกะ นั่งคุกเข่าแบบเทพธิดา,เทพบุตร ตามเพศพร้อมกับ ประนมมือและกล่าวคาบูชาพระรัตนตรัยพร้อมกัน อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้าด้วยเครื่องสักการะนี้ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรมด้วยเครื่องสักการะนี้ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมะ ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้ หมายเหตุ ถ้ากล่าวคนเดียว ให้เปลี่ยน คาว่า ปูเชมะ เป็น ปูเชมิ 4. หลังจากนั้นให้กล่าวคาปฏิญาณตนเป็นพุทธมามกะ ดังนี้ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ เอสาหัง ภันเตสุจิระปะรินิพพุตัมปิ ตัง ภะคะวันตัง สะระนัง คัจฉามิ ธัมมัญจะ สังฆัญจะ พุทธะมามะโกติ มัง สังโฆ ธาเรตุ คาแปล
  • 2. ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าขอถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้นแม้ปรินิพพานไปนานแล้วพร้อมทั้ง พระธรรม และ พระสงฆ์ว่า เป็นสรณะที่พึ่ง ขอพระสงฆ์จงจาข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นพุทธมามกะ หมายเหตุ ถ้าเป็นหญิงคนเดียว ให้เปลี่ยน คาว่า พุทธะมามะโกติ เป็น พุทธะมามิกาติ แต่ถ้ากล่าวพร้อมกันหลายคน ให้เปลี่ยนคาว่า เอสาหัง เป็น เอเตมะยัง ให้ผู้หญิง เปลี่ยนเป็น เอตามะยัง คาว่า คัจฉามิ เปลี่ยนเป็น คัจฉามะ และ พุทธะมามะโกติ เป็น พุทธะมามิกาติ และ มัง เป็น โน 5. ต่อจากนั้น ฟังโอวาทจากพระสงฆ์ สมาทานศีล และรับศีล ถวายจตุปัจจัย พระสงฆ์อนุโมทนา กรวดน้ารับพร หลังจากนั้นกราบลาด้วยเบญจางคประดิษฐ์ เป็นเสร็จพิธี การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ นิยมจัดทาเนื่องในโอกาส เด็กมีอายุ ประมาณ 7-15 ปี หรือโรงเรียนจัดทาในโอกาสเข้าปีการศึกษาใหม่ หรือมีผู้เลื่อมใสเปลี่ยนมานับถือพระพุทธศาสนา การศึกษาองค์ประกอบพระพุทธศาสนา การพิจารณาความหมายของศาสนา นักวิชาการได้แบ่งองค์ประกอบของศาสนาเป็น 6ประการ ประกอบด้วย 1. ผู้ก่อตั้ง หรือ ศาสดา ซึ่งผู้ก่อตั้งศาสนาพุทธ คือเจ้าชายสิทธัตถะ ได้ออกบวชเป็นโยคีสิตธัตถะแล้วศึกษาหาความรู้ บาเพ็ญเพียรด้วยความวิริยะอุตสาหะ แสวงหาโมกขธรรมจนค้นพบสัจธรรม ตรัสรู้เป็นองค์สัมมาสัมพุทธเจ้า เมื่อวันขึ้น 15 ค่า เดือน 6 ณ ริมฝั่งแม่น้าเนรัญชรา ตาบลอุรุเวลาเสนานิคม แขวงเมืองพาราณสี ประเทศอินเดีย แล้วประกาศศาสนาครั้งแรกแก่ปัญจวัคคีย์ เมื่อวันขึ้น 15ค่า เดือน 8 ก่อนพุทธศักราช 45ปี ณ ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน 2. หลักคาสอน หรือศาสนธรรม ทุกศาสนาต้องมีหลักคาสอนเป็นสารัตถะ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัต ิิในการดาเนินชีวิตในสังคมและหาเป้าหมายสุดท้ายของชีวิต ทางพุทธศาสนาเรียก นิพพาน หลักคาสอนของศาสนาพุทธเรียกว่า พระธรรม โดยมีการบันทึกลายลักษณ์อักษรเป็นคัมภีร์ เรียกว่า พระไตรปิฎก 3. นักบวช สาวก หรือ ศาสนบุคคล ศาสนาพุทธได้มีการสืบทอดกันมาจนถึงปัจจุบันนี้ ก็เพราะการปฏิบัติ การศึกษาและการเผยแผ่ของพระสงฆ์ เป็นหลัก 4. ศาสนิกชน ผู้นับถือศาสนาพุทธ เราเรียกว่า พุทธศาสนิกชน หมายถึงผู้ที่เลื่อมใส พระรัตนตรัย แล้วศึกษาหลักคาสอนขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า มาเป็นแนวทางในการดาเนินชีวิต
  • 3. 5. ศาสนสถาน ศาสานวัตถุ หรือสัญลักษณ์ที่เกี่ยวกับพระพุทธศาสนา หมายถึง สถานที่ที่ปรากฎในพุทธประวัติ อันได้แก่สังเวชชนียสถาน หรือสถานที่ที่ใช้ในการประกอบพิธีกรรม ทางพุทธศาสนา อันได้แก่วัด โบสถ์ วิหาร เจดีย์ ศาลาการเปรียญ หอไตร เป็นต้น 6. พิธีกรรม หรือพุทธศาสนพิธี หมายถึงกิจกรรม ของพุทธบริษัทต้องปฏิบัติเพื่อดารงไว้ซึ่งพระพุทธศาสนา อาทิ การอุปสมบท การทอดผ้าป่า การทอดกฐิน การทาบุญตักบาตรในทุก ๆ วัน หรือในวันสาคัญทางพระพุทธศาสนา เป็นต้น อุบาสกธรรม 7 พุทธศาสนิกชนจาเป็นต้องมีกิจวัตรเป็นหลักปฏิบัติ เรียกว่า อุบาสกธรรม ซึ่งมีอยู่ 7ประการคือ 1. หมั่น ไปวัดตามโอกาสที่เหมาะสม เพราะ การไปวัดจะได้พบปะกับพระภิกษุผู้ทรงศีลทรงคุณธรรมหรือได้พบกับมิตรที่สนใจใน เรื่องธรรมเหมือนกับเรา ย่อมได้ชื่อว่าเป็นการคบหากัลยาณมิตร หรือเรียกว่ามิตรที่ดี ซึ่งจะส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในการปฏิบัติธรรมเพิ่มขึ้น ดังพุทธสุภาษิตที่ว่า ยํเว เสวติ ตาทิโส ( ยังเว เสวะติ ตาทิโส ) คบคนเช่นไรก็เป็นคนเช่นนั้นแล 2. หมั่น ฟังธรรม เมื่อมีโอกาสควรใส่ใจในการฟังธรรมอยู่เสมอ เพราะการฟังธรรมเป็นเหตุให้ได้รู้สิ่งไม่รู้ ส่วนสิ่งที่รู้แล้วก็จะช่วยให้เข้าใจยิ่งขึ้น เช่นการไปวัดเพื่อฟังเทศน์ ฟังธรรมตามโอกาสต่าง ๆ ฟังการแสดงธรรมเทศนาทางวิทยุหรือทางโทรทัศน์ เป็นต้น 3. พยายามสนใจศึกษาและรักษาศีลให้บริสุทธิ์ โดยนาหลักธรรมคาสอนของพระพุทธศานามาใช้ปรับปรุงวิถีการดาเนินชีวิตให้ดียิ่ง ขึ้น เพื่อให้เกิดความภาคภูมิใจว่าตนเองว่าเป็นพุทธศาสนิกชนที่แท้จริง 4. มีความเลื่อมใสในพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายเท่าเทียมกัน ทั้งนี้เพราะพระสงฆ์แต่ละรูปได้เสียสละความสุขทางโลก เพื่อมาประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมวินัยอันเป็นหนทางไปสู่ความหลุดพ้นจากทุกข์ และพระสงฆ์ยังได้ชื่อว่าเป็นผู้สืบต่ออายุของพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวตลอดไป 5. ตั้งจิตให้เป็นกุศลในขณะฟังธรรม มิใช่ฟังธรรมโดยคิดในแง่ อคติ คิดขัดแย้ง พยายามฟังธรรมเพื่อก่อให้เกิดกุศล จิตใจจะได้เป็นสุข 6. ทาบุญกุศลตามหลักและวิธีการของพระพุทธศาสนา ไม่แสวงบุญนอกคาสอนของพระพุทธเจ้า ควรประพฤติปฏิบัติตามหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
  • 4. 7. ทะนุ บารุงพระพุทธศาสนาในทุก ๆ ด้าน ถ้าสามารถช่วยเหลือพระพุทธศาสนาได้ ด้วยวิธีการใดก็ควรขวนขวายเร่งรีบกระทา อาทิ การตั้งชมรมพุทธศาสน์ในโรงเรียน ในมหาวิทยาลัย จัดให้มีการอบรมเยาวชน บุคคลทั่วไป หรือ คนต่างชาติให้เข้าใจใน พระพุทธศาสนา พิธีกรรม พิธีกรรม มาจาก คาว่า วิธี รวมกับ กรรม หมายถึงการปฏิบัติเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ซึ่งพิธีกรรมจะมีองค์ประกอบดังนี้ 1. มีระเบียบแบบแผนหรือขั้นตอนการปฏิบัติ 2. มีการจัดตกแต่งสถานที่บริเวณที่ประกอบพิธีกรรม 3. มีการแสดงความเคารพหรือการปลูกฝังให้มีมรรยาท 4. มีการใช้สัญลักษณ์สื่อความหมาย พุทธศาสนพิธี หมายถึง การประกอบพิธีกรรมที่มีการนาพระพุทธศาสนาเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย เพื่อก่อให้เกิดประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 1. เพื่อความเป็นสิริมงคล 2. ช่วยให้มีความสุขสดชื่น 3. ก่อให้เกิดความสามัคคี 4. ก่อให้เกิดความรู้มีความเฉลียวฉลาด 5. ช่วยให้มีสติ 6. ช่วยให้เกิดความประณีตมีความละเอียดถี่ถ้วน 7. เป็นการรักษาขนบธรรมเนียมประเพณี การประกอบพิธีกรรมในงานใดก็ตามทั้งงานที่เป็นมงคลหรืองานอัปมงคลผู้มีส่วนร่วมในพิธีย่อมมีจุดประสง ค์ ตามความศรัทธาหรือความเชื่อที่ตนมีอยู่ ว่าเมื่อทาแล้วย่อมก่อให้เกิดประโยชน์อย่างน้อยที่สุดก็ในเรื่องของความเป็นสิริมงคล พิธีกรรมทางศาสนาพุทธหรือที่เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า ศาสนพิธี จาแนกได้เป็น 2 ประเภท 1. พิธีกรรมที่เป็นพุทธบัญญัติ 2. พิธีกรรมที่พัฒนาขึ้นในท้องถิ่น พิธีกรรมที่เป็นพุทธบัญญัติ เป็นพิธีการเกี่ยวกับวินัยสงฆ์ ซึ่งพระพุทธเจ้าได้ทรงบัญญัติไว้ จะต้องปฏิบัติพิธีกรรมนั้นๆ ให้ถูกต้องตามที่บัญญัติไว้
  • 5. พิธีกรรมที่พัฒนาขึ้นในท้องถิ่น คือ พิธีกรรมที่พุทธศาสนิกชนในท้องถิ่นต่าง ๆ กาหนดขึ้น โดยมีการผสมผสานขนบธรรมเนียมประเพณีท้องถิ่นให้เข้ากับกิจกรรมทางพุทธศาสนา และได้ปฏิบัติสืบต่อกันมาจนเป็นประเพณี ศาสนพิธีในพระพุทธศาสนาเกิดขึ้น เนื่องจากมีหลักการของพระพุทธศาสนา ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงวางไว้แต่ในปีที่ตรัสรู้ เพื่อสาวกจะได้ถือเป็นหลักในการออกไปประกาศพระศาสนา อันเรียกว่า "โอวาทปาติโมกข์" ในโอวาทนั้น มีหลักการสาคัญที่ทรงวางไว้ 3ประการ คือ สอนไม่ให้ทาความชั่วทั้งปวง สอนให้อบรมกุศลให้พร้อม สอนให้ทาจิตใจของตนให้ผ่องแผ้ว โดยหลักการทั้ง 3นี้ พุทธบริษัทต้องพยายามเลิกละความประพฤติชั่วทุกอย่างจนเต็มความสามารถ และพยายามสร้างกุศลสาหรับตนให้พร้อมเท่าที่จะสร้างได้ กับพยายามชาระจิตใจให้ผ่องใสอยู่เสมอ ด้วยการพยายามทาตามคาสอนในหลักการ เป็นการพยายามทาความดี หรือชาวพุทธเรียกว่า "ทาบุญ" การทาบุญนี้คนไทยมักใช้ควบคู่กับคาว่า “ทาทาน” จนมีการเรียกจนติดปากว่า ให้รู้จัก “ทาบุญทาทาน” กันบ้าง ซึ่งอาจหมายถึง การให้ โดยไม่หวังผลตอบแทน พระพุทธเจ้าทรงแสดง การทาความดีหรือทาบุญ ไว้ที่เรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ 10 ได้แก่ 1. ทานมัย บุญสาเร็จด้วยการบริจาคทาน การให้ของที่ควรแก่คนที่ควรจะได้รับ เช่น การให้สิ่งของ เงิน ทอง อาหาร ที่อยู่อาศัย ให้วิชาความรู้ ให้ธรรมะ ให้อภัย 2. สีลมัย บุญสาเร็จด้วยการรักษาศีล การตั้งอยู่ในศีลอย่างเคร่งครัด อย่างน้อยควรรักษาเบญจศีล 3. ภาวนามัย บุญสาเร็จด้วยการเจริญภาวนา การแผ่เมตตา การเดินจงกรม การกาหนดลมหายใจ เจริญวิปัสสนากรรมฐาน 4. อปวายนมัย บุญสาเร็จด้วยการอ่อนน้อมถ่อมตนแก่ผู้มีวัยวุฒิ และผู้มีคุณวุฒิ คือ ไม่ทาตัวเป็น คนพาล การทาตัวหยิ่งยโส ให้เป็นคนสุภาพอ่อนโยน 5. เวยยาวัจวมัย บุญสาเร็จด้วยการช่วยเหลือการงาน ขวนขวายในกิจกรรมที่ชอบ เช่นรับใช้บิดา มารดา ผู้มีพระคุณ ครูอาจารย์รวมตลอดถึงคนที่เราไม่รู้จักแต่ต้องการความช่วยเหลือจากเราในบาง โอกาส โดยที่กิจการต่างๆที่เราช่วยนี้ด้วยชอบด้วยกฎหมาย ชอบด้วยประเพณี และชอบด้วยธรรม 6. ปัตติทานมัย บุญสาเร็จด้วยการให้ส่วนบุญ เฉลี่ยส่วนความดีให้กับผู้อื่น แผ่ส่วนบุญให้เพื่อนมนุษย์ มารเทพ เทวดา พรหม 7. ปัตตานุโมทนามัย บุญสาเร็จด้วยการอนุโมทนาส่วนบุญ ยินดีในความดีของผู้อื่น 8. ธรรมสวนมัย บุญสาเร็จด้วยการฟังธรรม คือ การได้ฟังธรรมเสมอ ๆ ได้รับฟังความรู้ที่เป็นประโยชน์ ตั้งอยู่ในสัมมาทิฏฐิ ความเห็นที่ดีงาม เพื่อชาระจิตใจให้บริสุทธิ์
  • 6. 9. ธัมมเทสนามัย บุญสาเร็จด้วยการแสดงธรรม คือ การถ่ายทอดความรู้ที่เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น 10. ทิฏฐุชุกัมมะ บุญสาเร็จด้วยการอบรมความเห็นของตนให้ถูกกับหลักธรรมในพุทธศาสนา ด้วยการ ศึกษาเล่าเรียนทาความเห็นให้ตรง คือ การใช้ปัญญาไตร่ตรองอยู่เสมอว่าอะไรผิด อะไรถูก บุญกิริยาวัตถุนี้ เป็นแนวให้พุทธบริษัทปฏิบัติตามหลักการดังกล่าวข้างต้นและทาให้เกิดศาสนพิธีต่างๆ ขึ้นโดยนิยม ทาบุญ โดยเริ่มต้นมีการรับศีล ต่อไปภาวนาด้วยการสวดมนต์เองหรือฟังพระสวดแล้วส่งใจไปตาม จบลงด้วยการบริจาคทานตามสมควร เพราะนิยมทาบุญเป็นการบาเพ็ญความดีดังกล่าวนี้ จึงเกิดพิธีกรรมขึ้น เมื่อพิธีกรรมใด เป็นที่นิยมและรับรองปฏิบัติสืบ ๆ มาจนเป็นประเพณี พิธีกรรมนั้นก็กลายเป็นศาสนพิธี การทาบุญ พิธีการทาบุญในงานมงคล ลาดับขั้นตอนการทาบุญ 1. กาหนดวัน/เดือน/ ปี ตามฤกษ์ที่ถือว่าเป็นมงคล 2. เมื่อถึงวันงานจัดตกแต่งสถานที่ให้พร้อม 3. เมื่อได้ฤกษ์ยามตามที่กาหนด ประธานในพิธีจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย ผู้มาร่วมงานทุกคนพนมมือ 4. ผู้ทาหน้าที่เป็นมัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางโต๊ะหมู่บูชา กราบเบญจางคประดิษฐ์ 3ครั้ง แล้วกล่าวคาบูชาพระรัตนตรัย อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมะ ข้าพเจ้า ขอบูชา พระพุทธเจ้า ด้วยเครื่องสักการะนี้ อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมะ ข้าพเจ้า ขอบูชา พระธรรม ด้วยเครื่องสักการะนี้ อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมะ ข้าพเจ้า ขอบูชา พระสงฆ์ ด้วยเครื่องสักการะนี้ 5. ลาดับต่อไป ให้ทุคนกล่าวพร้อมกัน อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา พระผู้มีพระภาคเจ้า เป็นพระอรหันต์ ดับเพลิงกิเลสทุกข์สิ้นเชิง ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ข้าพเจ้าอภิวาทพระผู้มีพระภาคเจ้า ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน สฺวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม พระธรรม เป็นธรรมที่พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสไว้ดีแล้ว ธัมมัง นะมัสสามิ
  • 7. ข้าพเจ้านมัสการพระธรรม สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ พระสงฆ์สาวกของพระผู้มีพระภาคเจ้า ปฏิบัติดีแล้ว สังฆัง นะมามิ ข้าพเจ้านอบน้อมพระสงฆ์ 6. มัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์ 3ครั้ง เสร็จแล้วนั่งพับเพียบกล่าวคาอาราธนาศีล สาธุฯ มะยัง ภันเตวิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ทุติยัมปิ มะยัง ภันเตวิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะนัตถายะ ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ 7. ลาดับต่อไปพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน จะแสดงเบญจศีล ให้ทุกคนกล่าวตามและสมาทานศีลคือการรับนาไปปฏิบัติตามลาดับสืบไป โดยพระสงฆ์ผู้เป็นประธานแล้วทุกคนกล่าวตามดังนี้ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (กล่าว 3 ครั้ง) แล้วกล่าวตาม 3ครั้ง จากนั้นกล่าวตามทีละวรรค พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ 8. พระสงฆ์ผู้เป็นประธานจะบอกศีล 5 ทีละข้อ ให้ทุกคนกล่าวตามดังนี้ ปาณาติปาตา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ อะทินนาทานา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ กาเมสุมิจฉาจารา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ มุสาวาทา เวระมะณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ
  • 8. สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวรมณี สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ 9. เมื่อกล่าวตามจบทั้ง 5 ข้อแล้ว พระสงฆ์ผู้เป็นประธานจะสรุปอานิสงส์ของการรักษาศีล 5ดังนี้ อิมานิ ปัญจะ สิกขาปะทานิ เหล่านี้คือสิกขาบทห้าประการ สีเลนะ สุคะติงยันติ บุคคลย่อมไปสู่สุคติก็เพราะศีล สีเลนะ โภคะสัมปะทา ย่อมถึงพร้อมด้วยโภคะสมบัติก็เพราะศีล สีเลนะ นิพพุติง ยันติ ย่อมไปสูนิพพานก็เพราะศีล ตัสฺมา สีลัง วิโสธะเย เพราะฉะนั้นพึงชาระศีลให้หมดจด ฯ 10. ทุกคนน้อมวันทาพร้อมกับรับคาว่า สาธุ . 11. ลาดับต่อไป มัคนายก/มัคนายิกา กล่าวคาอาราธนาพระปริตร เพื่อขอให้พระสงฆ์สวดมนต์ดังนี้ วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะทุกขะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะภะยะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง วิปัตติปะฏิพาหายะ สัพพะสัมปัตติสิทธิยา สัพพะโรคะวินาสายะ ปะริตตังพรูถะมังคะลัง 12. พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ทุกคนสารวมกาย วาจา ใจเพื่อสดับพระพุทธมนต์โดยเคารพ 13. เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ ถึง มงคลคาถา ว่า “อะเสวะนา จะ พาลานัง ... ให้มัคนายก/มัคนายิกา/เจ้าภาพ จุดเทียนนามนต์ แล้วยกประเคนให้พระสงฆ์ 14. เมื่อพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว กราบแบบเบญจางคประดิษฐ์ 3 ครั้ง มัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางโต๊ะหมู่บูชา กล่าวนา คาบูชาข้าวแด่พระพุทธเจ้าดังนี้ นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( 3 ครั้ง ) แล้วกล่าวว่า อิมัง สูปะ พะยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง โภชะนังอุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิฯ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาข้าวสาลี พร้อมทั้งแกงและกับ และน้าอันประเสริฐนี้แด่พระพุทธเจ้า 15. แล้วยกสารับกับข้าวถวายพระพุทธ 16. จากนั้นมัคนายก/มัคนายิกา นั่งในท่าเทพบุตร/เทพธิดา หันหน้าไปทางพระสงฆ์กล่าวคาถวายภัตตาหาร ให้ทุกคนกล่าวตามดังนี้ อิมานิ มะยัง ภันเตภัตตานิ สะปะริวารานิ ภิกขุสังฆัสสะ โอโนชะยามะ สาธุ โนภันเต ภิกขุสังโฆ อิมานิ ภัตตานิ สะปะริวารานิ ปะฏิคคันหาตุ อัมหากัง ทีฆะรัตตัง หิตายะ สุขายะ ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งภัตตาหาร กับทั้งบริวารทั้งหลายเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์เพื่อความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนานเทอญ.
  • 9. 17. ลาดับต่อไปให้เจ้าภาพยกภัตตาหารประเคนพระสงฆ์ อาหารคาวและหวานตามลาดับ หลังจากพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จเรียบร้อยแล้ว เจ้าภาพถวาย จตุปัจจัยไทยธรรม 18. ลาดับต่อไปจะกรวดน้าและรับพรจากพระสงฆ์ โดยพระสงฆ์ผู้เป็นประธาน จะกล่าวดังนี้ ยะถา วาริวะหา ปูรา ปะริปูเรนติ สาคะรัง ห้วงน้าที่เต็มย่อมยังสมุทรสาครให้บริบูรณ์ได้ ฉันใด เอวะเมวะ อิโต ทินนัง เปตานัง อุปะกัปปะติ ทานที่ท่านอุทิศให้แล้วแต่โลกนี้ ย่อมสาเร็จประโยชน์แก่ผู้ที่ละโลกนี้ไปแล้วได้ ฉันนั้น อิจฉิตัง ปัตถิตัง ตุมหัง ขออิฏฐผลที่ท่านปรารถนาแล้วตั้งใจแล้ว ขิปปะเมวะ สะมิชฌะตุ สัพเพ ปูเรนตุ สังกัปปา จงสาเร็จโดยฉับพลัน ขอความดาริทั้งปวงจงเต็มที่ จันโท ปัณณะระโส ยะถา มะณิ โชติระโส ยะถา เหมือนพระจันทร์วันเพ็ญ เหมือนแก้วมณีอันสว่างไสวควรยินดี ฯ 19. ขณะที่พระสงฆ์ผู้เป็นประธานกล่าว “ยะถา วริวะหา ......... จบ เจ้าภาพและผู้มาร่วมงาน นาน้าที่เตรียมไว้รินน้าให้หมดภาชนะขณะที่พระประธานกล่าวจบพร้อมกับกล่าวว่า “อิทัง เมญาตินัง โหตุ สุขิตา โหนตุ ญาตะโย ขอบุญนี้จงสาเร็จแก่ญาติทั้งหลาย ของข้าพเจ้า ขอญาติทั้งหลายจงเป็นสุข ๆ เถิด” 20. เมื่อพระผู้เป็นประธานกล่าวจบพระสงฆ์ทุกรูปที่อยู่ในพิธีจะเริ่มสวดมนต์ให้พร ในบทที่ว่า สัพพีติโย วิวัชชันตุ สัพพะโรโค วินัสสะตุ มาเต ภะวัตวันตะราโย สุขี ทีฆายุโก ภะวะอะภิวาทะนะสีลิสสะนิจจัง วุฑฒาปะจายิโน จัตตาโร ธัมมาวัฑฒันติ อายุ วัณโณ สุขัง พะลัง ความจัญไรทั้งปวง จงบาราศไป โรคทั้งปวง(ของท่าน) จงหาย อันตรายอย่ามีแก่ท่าน ท่านจงเป็นผู้มีความสุขมีอายุยืน ธรรมสี่ประการ คือ อายุ วรรณะ สุขะ พละ ย่อมเจริญแก่บุคคล ผู้มีปรกติไหว้กราบ มีปรกติอ่อนน้อม (ต่อผู้ใหญ่) เป็นนิตย์ ฯ และให้พรบทอื่น จบด้วยบทพระพุทธานุภาพทุกครั้ง อาทิฯ ๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน
  • 10. รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะ พุทธา นุภาเวนะด้วยอานุภาพแห่งพระพุทธเจ้าทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะ ธัมธา นุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระธรรมทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ ๏ ภะวะตุสัพ พะมัง คะลัง ๏ ขอสรรพมงคล จงมีแก่ท่าน รักขันตุ สัพพะเทวะตา ขอเหล่าเทพดาทั้งปวงจงรักษาท่าน สัพพะ สังฆา นุภาเวนะ ด้วยอานุภาพแห่งพระสงฆ์ทั้งปวง สะทา โสตถี ภะวัน ตุเต ขอความสวัสดีทั้งหลายจงมีแก่ท่านทุกเมื่อ 21. เมื่อกรวดน้ารับพรพระแล้ว พระสงฆ์ผู้เป็นประธานหรือตัวแทนจะประพรมน้าพระพุทธมนต์ แด่ผู้มาร่วมงาน ขณะที่พระสงฆ์รูปอื่นสวดชะยันโต .... จนจบ เป็นอันเสร็จพิธี เจ้าภาพส่งพระกลับวัด ขอขอบคุณที่มาของข้อมูล http://www.sainampeung.ac.th/chalengsak