SlideShare a Scribd company logo
1 of 52
Download to read offline
ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment)
การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ในสังคมตะวันตกสมัย คริ สตศตวรรษ
ั
ที่ 17 เป็ นผลสื บ เนื่ อ งจากการฟื ้ น ฟู ศิ ล ปวิ ท ยาการที่ ก ระตุ้ นให้
ชาวตะวัน ตกสนใจศึ ก ษาหาความรู้ และค้ น หาความจริ ง จึ ง ท าให้
ตะวันตกพ้ นจากยุคมืดและสามารถแสวงหาความรู้ ซึงก่อให้ เกิดความ
่
เจริ ญก้ าวหน้ าทางวิทยาการ เทคนิค และสิ่งประดิษฐ์ ที่เป็ นประโยชน์
นาไปสู่การปฏิวติทางภูมิปัญญา (Intellectual Ravolution)
ั
ในคริสศตวรรษที่ 18 อีกด้ วย
ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment)
วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการหลุดพ้ นจากอานาจของคริ สตจักร
ทาให้ ชาวตะวันตกกล้ าใช้ เหตุผลเพื่อแสดงความคิดเห็นทางสังคมและ
การเมืองมากขึ ้น และเชื่อมันว่าความมีเหตุผลจะเปลี่ยนแปลงชีวิตและ
่
สัง คมให้ ดี ขึ น ได้ การแสดงความคิ ด เห็ น ทางสัง คมและการเมื อ ง
้
การเรี ยกร้ องสิทธิ เสรี ภาพในการปกครอง เป็ นพืนฐานสาคัญที่ทาให้
้
ชาติตะวันตกเข้ าสูความเจริญในยุคใหม่
่
1. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes:ค.ศ. 1588-1679)
• นักปรัชญาเขียนหนังสือเรื่ อง ลีไวอาทัน (Leviathan) แสดงแนวคิดทาง
การเมืองว่าสังคมการเมืองที่อยู่
• เสนอว่าอานาจการปกครองต้ องรวมอยู่ที่บคคลคนเดียวเพื่อมิให้ มนุษย์กลับ
ุ
ไปสู่สภาพธรรมชาติของตนที่เลวร้ าย กษั ตริ ย์มีอานาจการปกครองสูงสุด
มนุษย์ต้องเชื่อฟั งกฎหมายที่กษัตริ ย์บญญัตขึ ้น
ั
ิ
• เน้ นว่าอานาจของกษัตริ ย์มาจากความยินยอมของประขาชน
มิได้ มาจากลัทธิเทวสิทธิ์
• โจมตีความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์วาเป็ นเรื่ องไร้ เหตุผล
่
มนุษย์ควรมีชีวิตอยูด้วยเหตุผลและวิธีการทางวิทยาศาสตร์
่
เขามิได้ ปฏิเสธพระเจ้ า แต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นาทางศาสนา
2. จอห์ น ล็อก (John Locke : ค.ศ. 1632-1704)
• เขียนหนังสือเรื่ อง Two Treatises of Government
ซึงเสนอแนวคิดว่ารัฐบาลต้ องจัดตังโดยความยินยอมของประชาชน
่
้
และต้ องรับผิดชอบความเป็ นอยูของประชาชน
่
• ประชาชนทุกคนมีสทธิตามธรรมชาติ คือ สิทธิในชีวิตเสรี ภาพ
ิ
และทรัพย์สิน
• มนุษย์เป็ นผู้จดตังรัฐบาลถ้ ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชน
ั ้
มีสทธิ์ล้มรัฐบาลได้
ิ
• อานาจอธิปไตยยังเป็ นของประชาชนส่วนใหญ่อานาจทางการเมือง
ที่แท้ จริงมาจากประชาชน ทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมายรัฐ
มีหน้ าที่หลักคือรักษาสิทธิขนมูลฐานของมนุษย์
ั้
• เป็ นผู้ริเริ่มแนวคิดแบ่งแยกอานาจ
• แนวคิดของเขาเป็ นทังทฤษฎีประชาธิปไตยและทฤษฎีการปฏิวติ
้
ั
มีอิทธิพลอย่างมากต่อปั ญญาชน ปรัชญาเมธีของยุโรป โดยเฉพาะกลุม
่
นักคิดฟิ โลซอฟของฝรั่งเศษ
3. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu)
หรือชาร์ ลส์ หลุยส์ เดอ เช็กกองดาต์ (Charles Louis de
Secondat) : ค.ศ.1689-1755
• เขียนหนังสือเรื่ อง วิญญาณแห่งกฎหมาย (The Spirit of Laws)
ค้ นคว้ า 20 ปี พิมพ์เผยแพร่ครังแรกใน ค.ศ. 1748 ต่อมาได้ รับ
้
การตีพิมพ์อีก 22 ครัง และแปลเป็ นภาษาตะวันตกต่างๆ เกือบทุกภาษา
้
หนังสือเล่มนี ้ มีอิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญการปกครอง
ประเทศของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็ นแม่บทของระบอบการปกครอง
ในระบบประชาธิปไตย โดนใช้ แนวคิด แบ่งแยกอานาจและระบบ
คานอานาจ
• ทฤษฎีแบ่งอานาจการเมือง 3 ฝ่ ายคือ นิติบญญัติ บริหาร ตุลาการ
ั
• ระบบการปกครองต้ องสอดคล้ องกับลักษณะภูมิประเทศ
และประวัติศาสตร์ ของแต่ละสังคม
• การปกครองที่ดีที่สดคือให้ กษัตริย์อยูใต้ รัฐธรรมนูญ
ุ
่
•
•

•
•

4. วอลแตร์ (Voltaire : ค.ศ.1694-1778)
เขียนหนังสือเรื่ อง จดหมายปรัญญา
(The Philosophical Letters)
เป็ นนักคิดนักเขียนชาวฝรั่งเศส ที่สนับสนุนแนวคิดประชาธิปไตย ประทับใจ
ในระบบการปกครองของอังกฤษมาก
มีความเห็นว่า รัฐบาลที่ดีต้องให้ เสรี ภาพและอิสรภาพแก่ประชาชน และ
ต้ องเป็ นผู้รอบรู้ มีเหตุผลและปกครองด้ วยหลักเหตุและผล ประชาชน
สามารถใช้ เสรี ภาพและอิสรภาพในการแสดงความคิดเห็น
ได้ รับสมญานามว่า เจ้ าทฤษฎีแห่งสื่อสารมวลชน
5.ชอง ชาคส์ รูโซ (Jean Jacques Rousseau
: ค.ศ.1712-1778)
• เป็ นเจ้ าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตยของประชาชน ถือเป็ นบิดาแห่ง
ประชาธิปไตย
• เขียนหนังสือชื่อ สัญญาประชาคม (Social Contract 1762)
โดยเน้ นว่า “อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน” รัฐบาลที่ดีต้องมาจาก
ประชาชน และรัฐบาลต้ องสัญญากับประชาชนว่าจะดูแลให้ ประชาชน
อยูดีกินดี มีสข ถ้ ารัฐบาลไม่ทาตามสัญญา ประชาชนมีสทธิล้มล้ าง
่
ุ
ิ
รัฐบาลได้
• มีผลต่อการปฏิวติฝรั่งเศส “เสรี ภาพ เสมอภาพ ภารดรภาพ”
ั
• เน้ นเรื่ อง “เจตจานงร่วมของประชาชน” (General Will) คือ
อานาจสูงสุดในการปกครอง เสนอว่ามนุษย์มาอยูรวมกันเป็ น
่
“องค์อธิปัตย์” คือองกรที่มีอานาจสูงสุดดังนันรัฐบาลต้ องยอมรับ
้
เจตจานงทัวไปของประขาขนรัฐบาลต้ องสร้ างความเสมอภาคให้
่
การศึกษาจัดระบบกิจการคลังที่ดี มีระบบการเก็บภาษีมรดกและ
สิ่งฟุ่ มเฟื อย
การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ั
หลังจากสงครามกลางเมือง (Civil War) ค.ศ.16421649 กษัตริย์องกฤษพระเจ้ าชาลส์ที่ 1 ถูกสาเร็จโทษ อังกฤษ
ั
ปกครองระบอบสาธารณรัฐชัวระยะเวลาหนึง มีการปราบผู้ที่ไม่เห็นด้ วย
่
่
ถือว่าเป็ นยุคแห่งความหวาดกลัว เกิดความขัดแย้ งระหว่างกลุม
่
เกิดการสู้รบนองเลือดจนมีการประกาศยกเลิกระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอังกฤษ รัฐสภาได้ ฟืนฟูระบบกษัตริย์ขึ ้นมา
้
อีกครังหนึงโดยเชิญกษัตริย์ในราชวงศ์สจวตมาปกครอง
้ ่
การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ั
ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างถาวรเกิดขึ ้นใน
ค.ศ. 1688 เนื่องจากพระเจ้ าเจมส์ที่ 2 ไม่ยอมรับอานาจรัฐสภา
รัฐสภาร่วมมือกับประชาชนต่อต้ านจนพระเจ้ าเจมส์ที่ 2 ต้ องสละราช
สมบัติและมีการสถาปนาพระเจ้ าวิลเลี่ยมที่ 1 แห่งฮอนแลนด์ ร่วมกับ
พระนางแมรี ที่ 2 การปฏิวติในครังนี ้ได้ มีการประกาศ พระราชบัญญัติ
ั
้
ว่าด้ วยสิทธิ (Bill of Rights) ที่ย ้าถึงสิทธิและเสรี ภาพที่ชาว
อังกฤษควรมีได้ รับเท่าเทียมกันและอานาจของรัฐสภามีเหนือสถาบัน
กษัตริย์
การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ
ั
ซึงท้ ายที่สดได้ เกิดการปฏิวติอนรุ่งโรจน์
่
ุ
ั ั
(The Glorious Revolution) โดยไม่มีการเสียเลือดเนื ้อ
ถือว่าเป็ นการสิ ้นสุดระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์
อังกฤษได้ รับการยกย่องว่าเป็ นประเทศแม่แบบของการปกครองระบบ
ประชาธิปไตย อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็ นลายลักษณ์อกษร จึงยึดหลัก
ั
ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคยปกครองกันมา และยึดกฎหมายเป็ นหลัก
การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776
ั
ั
การปฏิวติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18
ั
ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิองกฤษของประชาชน
ั
ชาวอเมริกา จึงได้ มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ ้นในเวลาต่อมา
่
หลังจากได้ รับชัยชนะในการปฏิวติในครังนี ้
ั
้
การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776
ั
ั
สาเหตุในการปฏิวัติ
อังกฤษใช้ นโยบายการค้ าอย่างไม่ยติธรรมกับอาณานิคม เนื่องจาก
ุ
บริเวณลุมแม่น ้ามิสซิสซิปปี นี ้เป็ นแหล่งเพาะปลูกใบชาที่สาคัญ อังกฤษ
่
ใช้ วิธีซื ้อจากอาณานิคมในราคาถูกมากแล้ วนาไปขายในยุโรปในราคา
เพิ่มหลายเท่า ทาให้ ชาวอาณานิคมไม่พอใจ และประกอบกับการที่ชาว
อมริกนได้ รับแนวคิดจาก นักปรัชญา คือ จอห์น ล็อก ทาให้ เหตุการณ์
ั
ลุกลามใหญ่ ก่อให้ การประท้ วงชุมนุมงานเลี ้ยงน ้าชาที่บอสตัน
(Boston Tea Party) ที่กรุงบอสตัน อังกฤษจึงส่งกาลังเข้ า
ปราบปราม ก่อให้ เกิดการต่อต้ านอย่างหนัก ฝรั่งเศสได้ แอบส่งกาลัง
อาวุธเข้ าช่วยเหลืออเมริกา
การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776
ั
ั
จนในที่สด ทาให้ อเมริกาสามารถประกาศอิสรภาพได้ ใน
ุ
วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ที่เมืองฟิ ลาเดเฟี ย (วอชิงตัน ดี.ซี.
ในปั จจุบน) เกิดประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกาคือ จอร์ จ
ั
วอชิงตัน และการที่ฝรั่งเศสเข้ าช่วยอเมริกานี ้เอง ทาให้ ทหารที่เข้ า
มาร่วมรบในสงครามปฏิวติอเมริกา ได้ ซมซับแนวคิดและความต้ องการ
ั
ึ
อิสรภาพของชาวอเมริกนทังมวลเข้ าไว้ และกลายเป็ นพลังผลักดันที่ทา
ั ้
ให้ เกิดการปฏิวติในฝรั่งเศสและประกอบกับสภาพการณ์ ในขณะนัน
ั
้
ฝรั่งเศสกาลังย่าแย่ด้วยสภาพเศรษฐกิจ สถาบันกษัตริย์ที่ออนแอ ทาให้
่
ฝรั่งเศสเข้ าสูการปฏิวติฝรั่งเศสและกลายเป็ นแรงผลักดันให้ เกิดการ
่
ั
ปฏิวติไปทัวยุโรปในเวลาต่อมาอีกด้ วย
ั
่
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
สาเหตุท่ วไปของการปฏิวัตฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ประกอบด้ วย
ั
ิ
• ด้ านการเมือง
1. พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอานาจเด็ดขาด
ในการบริหารประเทศจึงเปิ ดโอกาสให้ คณะ บุคคลบางกลุมเข้ ามามีสทธิ
่
ิ
ร่วมในการบริหารประเทศ
2. สภาท้ องถิ่น (Provincial Estates) เป็ นสภาที่มีอยู่
ทัวไปในฝรั่งเศส และตกอยูภายใต้ อานาจอิทธิพลของขุนนางท้ องถิ่น
่
่
เริ่มกลับเข้ ามามีบทบาทอีกครัง
้
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรื อศาลสูงสุดของฝรั่งเศส
ทาหน้ าที่ให้ การปรึกษากับกษัตริย์มีสทธิ์ยงยังการออกกฎหมายใหม่
ิ ั ้
(Vito) ซึงเป็ นสภาที่เป็ นปากเป็ นเสียงของประชนเคยถูกปิ ดไปแล้ ว
่
กลับเข้ ามามีอานาจอีกครัง พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ทรงยอมให้ สภา
้
ปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบางอย่างทางการเมือง
4. ประเทศฝรั่งเศสไม่มีรัฐธรรมนูญ ทาให้ การปกครองเป็ นไป
อย่างไม่มีประสิทธิภาพ และประชาชนไม่ได้ รับการคุ้มครอง
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
5. สภาฐานันดรหรื อสภาทัวไป (Estates General)ที่จดตัง
่
ั ่
ขึ ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้ าฟิ ลิปที่ 4 เพื่อต่อต้ านอานาจของ
สันตะปาปาซึงมีผลทาให้ เกิดชนชันของประชาชน 3 ชนชันคือ พระ
่
้
้
ขุนนาง และสามัญชน ในปี ค.ศ. 1789 สถานะทางด้ านการคลังของ
ประเทศเกิดปั ญหาขาดดุลอย่างหนัง ทาให้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 เปิ ด
สภานี ้ขึ ้นมาใหม่หลังจากจากที่ถกปิ ดไปถึง 174 ปี เพื่อขอเสียง
ู
สนับสนุนจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภาษีเพิ่มขึ ้น แต่เกิด
ปั ญหาการนับคะแนนเสียงขึ ้น จนกลายเป็ นชนวนที่ก่อให้ เกิดการปฏิวติ
ั
ในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1789
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
• ด้ านเศรษฐกิจ
1. สืบเนื่องมาจากพระเจ้ าหลุยส์ที่ 15 ทรงใช้ จ่ายอย่างฟุ่ มเฟื อย
ในราชสานัก เป็ นปั ญหาสังสมมาจนถึงพระเจ้ าหลุยส์ที่ 16
่
2. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรม
มาสูภาคอุตสาหกรรม ทาให้ เกิดวิกฤตการทางการเกษตร ราคาอาหารสูงขึ ้น
่
ไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้ รับ การเปลี่ยนแปลงนี ้ก่อให้ เกิดชนชันใหม่ขึ ้นมา คือ
้
ชนชันกลาง (พ่อค้ า นายทุน) ซึงมีสวนสาคัญในการปฏิวติ
้
่ ่
ั
3. เป็ นปั ญหาสืบเนื่องมาจากการที่ฝรั่งเศสเข้ าไปพัวพันกับสงคราม
ในต่าง ประเทศมากเกินไป โดยเฉพาะสงครามกู้เอกราชของสหรัฐอเมริ กาใน
ปี ค.ศ. 1776 จึงทาให้ เกิดค้ าใช้ จ่ายสูง
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
4. พระเจ้ าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้ จ่ายในราชสานักได้ แต่ก็
พยายามแก้ ไขโดย
- ปรับปรุงการเก็บภาษี ให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ก่อให้ เกิดการไม่
พอใจในกลุมคนบางกลุมที่ไม่เคยเสียภาษี
่
่
- เพิ่มการกู้เงิน ซึงก็ช่วยทาให้ มีรายได้ เพิ่มขึ ้น แต่ก็ต้องจ่ายค่าดอกเบี ้ย
่
มากขึ ้นด้ วยเช่นกัน
- ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี ้ยบานาน ลดจานวนค่า
ราชการ ซึงทาให้ เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ ยังส่งผลถึงการทางานของ
่
ราชการไม่มีประสิทธิภาพ การแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจไม่เป็ นผลสาเร็ จ เนื่องจาก
แก้ ไขที่ไม่ตรงจุด จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ นลงไปได้
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
• ด้ านสังคม
1. การรับอิทธิพลทางความคิดของชาวต่างชาติ จาการที่
ฝรั่งเศสเข้ าไปช่วยสหรัฐอเมริกาทาสงครามประกาศอิสภาพจากอังกฤษ
จึงทาให้ รับอิทธิพลทางความคิดด้ านเสรี ภาพนันกลับเข้ ามาในประเทศ
้
ด้ วย อิทธิพลทางความคิดที่สาคัญที่รับมาคือจากบรรดานักปรัชญากลุม
่
ฟิ โลซอฟส์ (Philosophes) นักปรัชญาคนสาคัญคือ วอร์ แตร์ ,
จอห์น ล็อค, รุสโซ่
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
2. เกิดปั ญหาความแตกต่างทางสังคม อันเนื่องมาจากพลเมืองแบ่ง
ออกเป็ น 3 ฐานันดร คือ
- ฐานันดรที่ 1 พระ
- ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง
- ฐานันดรที่ 3 สามัญชน
ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็ นกลุมที่มีอภิสทธิ์ชน คือไม่ต้อง
่
ิ
เสียภาษี ทาให้ กลุมฐานันดรที่ 3 ต้ องแบกรับภาระทังหลายอย่างเอาไว้
่
้
เช่น การเสียภาษี การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ
กลุมฐานันดรที่ 3 ถือเป็ นกลุมไม่มีอภิสทธิ์ชน
่
่
ิ
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
สาเหตุปัจจุบนของการปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
ั
เมื่อประเทศฝรั่งเศสประสบปั ญหาทางด้ านเศรษฐกิจจนไม่
สามารถแก้ ปัญหาได้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 จึงทรงเปิ ดประชุมสภา
ฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17 มิถนายน ค.ศ.
ุ
1789 เพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุมช่วยกัน
่
แก้ ไขปั ญหาทางการคลัง แต่ได้ เกิดปั ญหาขึ ้นเพราะกลุมฐานันดรที่ 3
่
เรี ยกร้ องให้ นบคะแนนเสียงเป็ นรายหัว แต่กลุมฐานันดรที่ 1และ2 ซึง
ั
่
่
ได้ ร่วมมือกันเสมอนันเสนอให้ นบคะแนนเสียงแบบกลุม จึงทาให้ กลุม
้
ั
่
่
ฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้ วจัดตังสภาแห่งชาติ (National
้
Assembly) เรี ยกร้ องให้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ปิ ดห้ องประชุม
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
ต่อมาวันที่ 20 มิถนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ ย้ายไปประชุมที่
ุ
สนามเทนนิส และร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้ และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่า
จะได้ รับชัยชนะ และต้ องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ ้นใช้ ในการปกครองประเทศ
ในขณะเดียวกันกับ ความวุนวายได้ เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องในปารี ส และได้
่
ขยายตัวออกไปทัวประเทศ ฝูงชนชาวปารี สได้ รับข่าวลือว่าพระเจ้ าหลุยส์ที่
่
16 กาลังจะส่งกาลังทหารเข้ ามาปราบปรามความฝูงชนที่
ก่อวุนวาย
่
ในปารี ส
ดังนัน ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ ร่วมมือ
้
กันทาลายคุกบาสติล(Bastille) ซึงเป็ นสถานที่คมขังนักโทษทางการเมือง
่
ุ
และถือว่าเป็ นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
ผลจากการปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789
ั
1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (คนเดียว)
มาสูระบอบสาธารณรัฐ (หลายตน)
่
2. มีการล้ มล้ างกลุมอภิสิทธิชน พระและขุนนางหมดอานาจ
่
กลุมสามัญชน กรรมกร ชาวนา และโดยเฉพาะกลุมชนชันกลาง
่
่
้
เข้ ามามีอานาจแทนที่
3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ ากับรัฐ ทาให้ อานาจของสันตะปาปาถูก
ควบคุมโดยรัฐ
4. เกิดความวุนวายทัวประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยูกบ
่
่
่ ั
การปกครองแบบเก่า
5. มีการทาสงครามกับต่างชาติ
6. มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็ นต้ นแบบของการปฏิวติไป
ั
ยังประเทศอื่น ๆ ในยุโรป
ศิลปะสมัยใหม่
เป็ นคาที่ใช้ เรี ยกการสร้ างงานศิลปะตังแต่ช่วงปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 จนถึง
้
ประมาณคริ สต์ทศวรรษ 1970 เป็ นงานที่เป็ นรูปแบบเฉพาะของศิลปิ นแต่ละ
คนเน้ นความเป็ นตัวของตัวเองของศิลปิ นแต่ละกลุมซึงมีมากมายหลายกลุม
่ ่
่
แต่ละกลุมก็มีแนวคิดเทคนิค วิธีการที่แตกต่างกันออกไปอย่างหลากหลาย
่
บ้ างก็ สะท้อนสภาพสังคม บ้ างก็ แสดงมุมมองบางอย่างทีแตกต่าง
่
ออกไป บ้ างก็ แสดงภาวะทางจิ ตของศิ ลปิ นและกลุ่มชน บ้ างก็ แสดงความ
ประทับใจในความงามตามธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
ศิลปะบารอค (Baroque)
เป็ นศิลปะที่พฒนามาจากศิลปะแบบเรเนสซองส์ ในช่วง
ั
คริสต์ศตวรรษที่ 17-18 มีลกษณะเฉพาะ คือ การแสดงออกถึงความมี
ั
อิสรภาพของมนุษย์ตามแนวความคิดมนุษยนิยม (Humanism)
ผลงานที่ปรากฎ มักแสดงออกถึงลักษณะแน่นอนตายตัวของศิลปิ น
ศิลปะแบบบารอค เกิดขึ ้นในช่วงที่รัฐต่างๆ ในยุโรปมีความมังคัง
่ ่
ทางเศรษฐกิจและมีความมังคังทางการเมือง เป็ นผลให้ พระราชวงศ์ ขุน
่ ่
นาง และพ่อค้ ามีความพร้ อมที่จะอุปถัมภ์การสร้ างสรรค์ผลงานของศิลปิ น
แขนงต่างๆ ได้ อย่างเต็มที่
งานสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมแบบบารอค
• 1. งานจิตรกรรม มีการลวงตาด้ วยเส้ น สี แสง เงา และใช้ หลักทัศนียวิสย ส่วนใหญ่ยงคงรับรูปแบบและเทคนิคจากสมัยเรเนสซองส์ แต่ได้
ั
ั
พัฒนาฝี มือและเทคนิคการผสมสีที่วิจิตงดงามยิ่งขึ ้น นิยมใช้ สีสดและ
ฉูดฉาด ภาพวาดมักปรากฎตามวัด วัง และคฤหาสน์ของชนชันกลางผู้
้
มังคัง แสดงชีวิตความเป็ นอยูที่หรูหราสุขสบายของเจ้ านายและเรื่ องราว
่ ่
่
ที่เกี่ยวข้ องกับคริสต์ศาสนา
• 2. งานสถาปั ตยกรรม แสดงออกถึงความใหญ่โตหรูหรา และการ
ประดับประดาที่ฟมเฟื อย โดยนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และ
ุ่
วิทยาศาสตร์ มาใช้ งานก่อสร้ างมากขึ ้น ผลงานชิ ้นสาคัญของศิลปะแบบ
บารอค คือ พระราชวังแวร์ ซายส์ ( Versailles ) ของพระเจ้ าหลุยส์ที่
14 แห่งฝรั่งเศส
• 3. ศิลปะด้ านดนตรี มีการพัฒนาไปมากทังการร้ องและการบรรเลง
้
เครื่ องดนตรี ขนาดของวงดนตรี ขยายใหญ่ จากแบบ Chamber
Music ที่ใช้ ผ้ เู ล่นไม่กี่คน มาเป็ นแบบ Orchestra ที่ใช้ ผ้ เู ล่นและ
เครื่ องดนตรี จานวนมาก มีการแต่งเพลงและใช้ โน้ ตเพลง และเปิ ดการ
แสดงดนตรี ในห้ องโถงใหญ่ๆ นักดนตรี สาคัญ คือ โยฮันน์ เซบาสเตียน
บาค (Johann Sebastian Bach) ชาวเยอรมัน ซึงแต่งเพลง
่
ทางด้ านศาสนาเป็ นส่วนใหญ่
• 4. งานด้ านวรรณกรรม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้ ชื่อว่าเป็ นยุค
ทองแห่งวรรณกรรมยุโรป มีผลงานชิ ้นเอกของนักประพันธ์ชาวอังกฤษ
และฝรั่งเศสเกิดขึ ้นมากมาย ที่เด่นคือ งานเขียนทางปรัชญาการเมือง
ของ จอห์น ลอค (John Lock) และผลงานของนักเขียนบทละคร
เสียดสีสงคมชันสูง ชื่อ โมลิแอร์ (Moliere) เป็ นต้ น แต่มกจะเขียน
ั
้
ั
เรื่ องที่เกินจริง
ลัทธิคลาสสิกใหม่ (Neoclassicism)
ได้ รับความนิยมในยุโรปประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลาง
คริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึงเป็ นยุคที่มนุษย์เปลี่ยนความรู้สก ความเชื่อ และ
่
ึ
ทัศนคติอย่างสิ ้นเชิง เพราะจากความสาเร็จในการปฏิวติและการ
ั
ค้ นพบทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ มนุษย์มีความเชื่อมันในเหตุผล มี
่
ความสามารถ เฉลียวฉลาด รู้คณค่าของความเป็ นมนุษย์ เรี ยกว่าเป็ น
ุ
สมัยแห่ง ภูมิธรรม
งานสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมแบบลัทธิคลาสสิกใหม่
• 1.สถาปั ตยกรรม มีการฟื นฟูศิลปะคลาสสิกมาปรับปรุงใหม่ให้
้
เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ในสมัยนัน มีการสะท้ อนเรื่ องราวของ
้
อารยธรรมโบราณ แสดงความสง่าของทรวดทรง เน้ นในความสมดุลได้
สัดส่วน
• 2. ประติมากรรมและจิตรกรรม ประติมากรรมคลาสสิกใหม่นิยม
ลอกเลียนแบบประติมากรรมของกรี ก-โรมัน ส่วนจิตรกรรรมเน้ นในเรื่ อง
เส้ นมากกว่าการให้ สี แสดงออกให้ เห็นถึงความสง่างาม และยิ่งใหญ่ใน
ความเรี ยบง่าย คล้ ายกับผลงานของกรี กโบราณ
• 3.นาฏกรรม ในสมัยนี ้ได้ รับอิทธิพลจากการละครของกรี ก ซึงต้ องการ
่
แสดงความสมเหตุสมผลของเรื่ อง และมุงมันที่จะสังสอนนอกเหนือจาก
่ ่
่
การให้ ความเพลิดเพลิน ฝรั่งเศสเป็ นชาติแรกที่เขียนบทละครคลาสสิก
• 4.ดนตรี สมัยนี ้นิยมเนื ้อเรื่ องที่แสดงออกด้ านความคิดเห็น และในเรื่ อง
ของความเสมอภาคตามทัศนะของนักเขียนสมัยภูมิปัญญา นอกจากนี ้
ความคิดที่เชื่อมันในเหตุผล สติปัญญา และความสามารถของมนุษย์ ก็
่
มีบทบาทที่ทาให้ การแต่งเพลงมีอิสระมากขึ ้น นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียง
สมัยคลาสสิกได้ แก่ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ ต(Wolfgang
Amadeus Mozart ค.ศ.1756-1791)
ลัทธิจินตนิยม (romanticism)
ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19
ศิลปะของโลกตะวันตกมีลกษณะเป็ นแบบจินตนิยม ซึงเน้ นอารมณ์ และ
ั
่
ความรู้สกภายใน เนื่องจากผู้คนเริ่มเบื่อหน่ายการใช้ เหตุผล และต้ องการ
ึ
กลับไปชื่นชมความงามของธรรมชาติ พอใจในเรื่ องราวแปลก แตกต่าง
ออกไปจากดินแดนต่างๆ โดยไม่คานึงถึงประเพณีนิยม พวกศิลปิ นจะสร้ าง
งานโดยยึดถืออารมณ์ฝัน และจินตนาการของตนเป็ นสาคัญ และไม่เห็น
ด้ วยกับการสร้ างงานที่ยดถือหลักวิชาการ และเหตุผล
ึ
• 1. สถาปั ตยกรรม มีการนารูปแบบสถาปั ตยกรรมในอดีตมาดัดแปลง
ตามจินตนาการ เพื่อให้ เกิดผลทางด้ านอารมณ์ ส่วนใหญ่จะได้ รับ
อิทธิพลจากสถาปั ตกรรมแบบกอทิก
• 2. ประติมากรรม ประติมากรรมจินตนิยมเน้ นการแสดงอารมณ์
ความรู้สก และแนวความคิดประติมากรจินตนิยมที่มีชื่อเสียงของ
ึ
ฝรั่งเศส ได้ แก่ ฟรองซัว รูเด(Francois Rude ค.ศ.1784-1855) ผู้
ปั นประติมากรรมนูนสูงมาร์ ซายแยส(Marseillaise) ประดับฐาน
้
อนุสาวรี ย์ประตูชย(Arch of Triumph)ในกรุงปารี ส
ั
• 3. จิตรกรรม มีการจัดองค์ประกอบด้ วยสี เส้ น แสงเงา และปริมาตรค่อนข้ าง
รุนแรง มุงให้ เกิดความสะเทือนอารมณ์ คล้ อยตามไปกับจินตนาการที่เต็มไปด้ วย
่
ความเพ้ อฝั น แปลกประหลาดตื่นเต้ นเร้ าใจ ความรุนแรง และความน่าหวาดเสียว
สยดสยอง จิตรกรคนสาคัญของฝรั่งเศส ได้ แก่ เออชอน เดอลา-กรัวซ์ (Eugene
Delacroix ค.ศ.1798-1863) ผู้เขียนภาพอิสรภาพนาประชาชน (Liberty
leading the people) เขียนจากเหตุการณ์นองเลือดเมื่อประชาชนลุกฮือ
ขึ ้นโค่นบัลลังก์ราชวงศ์บร์บง ที่เกิดเมื่อ ค.ศ.1830
ู
• 4. ดนตรี ดนตรี แนวจินตนิยมไม่ได้ แต่งเพื่อฟั งเพลิดเพลินอย่างเดียว แต่มี
จุดมุ่งหมายที่จะเร้ าความรู้สกทางจิตใจด้ วย เช่น ความรู้สกชาตินิยม โน้ ม
ึ
ึ
น้ าวจิตใจผู้ฟังให้ คล้ อยตาม นักแต่งเพลงจินตนิยมที่มีชื่อเสียงได้ แก่ ลุดวิก
ฟาน เบโทเฟน(Ludwig van Beethoven ค.ศ.1770-1827) ฟรานซ์
ชูเบิร์ต(Franz Schubert ค.ศ.1797-1828) เป็ นต้ น
• 5. การละคร นิยมแสดงเรื่ องที่ตวเอกประสบปั ญหาอุปสรรค หรื อมีข้อขัดแย้ ง
ั
ในชีวิตอย่างสาหัส ซึงจะดึงอารมณ์ของผู้ชมให้ เอาใจช่วยตัวเอก การเขียน
่
บทไม่เคร่งครัดในระเบียบแบบแผนอย่างละครคลาสสิก ละครแนวจินตนิยม
กาเนิดในเยอรมนี บทละครที่ยิ่งใหญ่ที่สด คือ เรื่ องเฟาสต์(Faust)ของโย
ุ
ฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ(Johanne Wolfgang von Goethe
ค.ศ.1749-1832)
• 6. วรรณกรรม เน้ นจินตนาการ และอารมณ์ และถือว่าควมต้ องการของ
ผู้ประพันธ์สาคัญกว่าความต้ องการของคนในสังคม บทร้ อยกรอง
ประเภทคีตกานต์(lyric) ซึงเป็ นโคลงสันๆแสดงอารมณ์ของกวีได้ รับ
่
้
ความนิยมสูงสุดในสมัยนี ้ กวีคนสาคัญของอังกฤษ คือ วิลเลียม เวิดส์
เวิร์ท(William wordsworth ค.ศ.1770-1850) และ แซมวล
เทย์เลอร์ โคลริดจ์(Samuel Taylor Colridge ค.ศ.17721834) กวีที่ยิ่งใหญ่ที่สดของฝรั่งเศส คือ วิกเตอร์ -มารี อูโก(Victor
ุ
Marie Hugo ค.ศ.1802-1885) นอกจาแต่งโคลงแล้ ว ยังแต่งบท
ละครและนวนิยาย นวนิยายที่มีชื่เสียงมาก คือ เหยื่ออธรรม (Les
Miserables)
ลัทธิสจนิยม (Realisticism)
ั
ตังแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้ นมา เป็ นสมัยแห่งความเจริญทาง
้
เทคโนโลยีและความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ สังคมของยุโรปเปลี่ยนแปลงไปอย่าง
รวดเร็ว การใช้ ระบบเศรษฐกิจที่เป็ นแบบทุนนิยม ทาให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่าง
กรรมกรกับนายทุน ขณะเดียวกันก็เกิดแนวความคิดแบบสังคมนิยม ซึง่ตอต้ าน
่
ระบบนายทุน ต้ องการให้ ชนชันแรงงานเป็ นเจ้ าของปั จจัยการผลิตและมีอานาจทาง
้
สังคมและการเมือง อย่างไรก็ตามชนชันกลางหรื อนายทุนก็ยงสามารถรักษา
้
ั
สถานภาพและอานาจในสังคมของตนไว้ ได้ ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้ทาให้
แนวความคิดทางศิลปะหันเหจากแนวจินตนิยมมาเป็ นแนวสัจนิยม ซึงเป็ น
่
แนวความคิดที่ตงอยูบนพื ้นฐานความเป็ นจริงของชีวิต โดยต้ องการให้ เห็นว่าโลกที่
ั้ ่
แท้ จริงไม่ได้ งดงามตามแบบที่พวกจินตนิยมเชื่อถือกัน ชีวิตต้ องดิ ้นรนต่อสู้ มีการเอา
รัดเอาเปรี ยบและการขัดแย้ งกันระหว่างชนชันในสังคม
้
• ลักษณะเด่ นของสัจนิยม คือ การแสดงให้ เห็นสภาพที่เป็ นจริงของ
สังคม เปิ ดโปงความชัวร้ ายของพวกนายทุน และความไม่ยติธรรมที่กลุม
่
ุ
่
ผู้ใช้ แรงงานได้ รับ มักจะเน้ นชีวิตของพวกกรรมกรที่ทกข์ยาก ชุมชน
ุ
แออัด ความสับสนวุนวายในเมือง สภาพของคนที่ยากไร้ การเอารัดเอา
่
เปรี ยบของกลุมคนที่มีฐานะดีกว่า ส่วนมากจะเป็ นรายละเอียดของ
่
ชีวิตประจาวันทุกด้ านตามความเป็ นจริง พวกสัจนิยมไม่นิยมเรื่ อง
ประวัติศาสตร์ เรื่ องจินตนาการเพ้ อฝั น และไม่มองโลกในแง่ดีเหมือน
พวกจินตนิยม นอกจากนี ้ยังเสนอผลงานอย่างตรงไปตรงมาและเป็ น
กลาง
• 1. ด้ านสถาปั ตยกรรม เนื่องจากอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจขยายตัว
อย่างรวดเร็ว จึงมีการสร้ างโรงงานขนาดใหญ่ อาคารสานักงานที่สง
ู
หลายๆชันกันมาก การก่อสร้ างอาคารจะนาวัสดุที่เกิดจากเทคโนโลยี
้
ใหม่ๆมาใช้ เช่น เหล็กกล้ า เหล็กหล่อ แทนอิฐ ไม้ เหมือนแต่ก่อน อาคาร
ส่วนใหญ่เป็ นลักษณะเรี ยบง่าย ให้ ใช้ ประโยชน์ได้ มากที่สดในเนื ้อที่
ุ
จากัด การออกแบบจึงต้ องสอดคล้ องกับประโยชน์ใช้ สอย แต่ใน
ขณะเดียวกันก็ต้องมีความงามทางศิลปะด้ วย
• 2. ประติมากรรม นิยมปั นและหล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วนเหมือนคน
้
จริง ผิวรูปปั นหยาบ ไม่เรี ยบ เมื่อมีแสงส่องกระทบจะเห็นกล้ ามเนื ้อ
้
ชัดเจน ศิลปิ นคนสาคัญ คือ โอกูสต์ โรแดง (August
Rodin ค.ศ.1840-1917) ซึงเป็ นประติมากรที่สาคัญที่สดคนหนึงของ
่
ุ
่
ฝรั่งเศสและของโลก ผลงานชิ ้นเอก เช่น นักคิด (The Thinker)
หล่อด้ วยสาริด
• 3.จิตรกรรม มักสะท้ อนสภาพชีวิตจริงของมนุษย์ในด้ านลบ เช่น ชีวิต
คนชันต่าตามเมืองใหญ่ๆ ชีวิตชาวไร่ชาวนาที่ยากไร้ ในชยบท ศิลปะสัจ
้
นิยมมีกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส จากการริเริ่มของกูสตาฟ กูร์เบ
(Gustave Courbet ค.ศ. 1819-1877) ซึงยึดหลักการสร้ างงาน
่
ให้ เหมือนจริงและเป็ นจริงตามที่ตาแลเห็น
จัดทาโดย
• นางสาว พิชญา บุญทรัยพ์
• นางสาว รัญชิดา นพรัตน์

ม.๖.๕
ม.๖.๕

เลขที่ ๓๒
เลขที่ ๓๓

More Related Content

What's hot

สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมFemale'PiAtip BoOn Paeng
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1Taraya Srivilas
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติWarinthorn Limpanakorn
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติPatt Thank
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อsukanya5729
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMudmook Mvs
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2Phonlawat Wichaya
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาLilrat Witsawachatkun
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกPannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่Mind Mmindds
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่nanpapimol
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 Bom Anuchit
 

What's hot (20)

การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญาการปฏิวัติทางภูมิปัญญา
การปฏิวัติทางภูมิปัญญา
 
สมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยมสมัยจักรวรรดินิยม
สมัยจักรวรรดินิยม
 
สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1สงครามโลกครั้งที่ 1
สงครามโลกครั้งที่ 1
 
กำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติกำเนิดรัฐชาติ
กำเนิดรัฐชาติ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
ปัจจัยที่ทำให้เกิดรัฐชาติ
 
ตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อตัวอย่างบทคัดย่อ
ตัวอย่างบทคัดย่อ
 
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
การปฏิวัติทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงานบทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
บทที่ 4.ผลการดำเนินงาน
 
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
ผลของสงครามโลกครั้งที่ 2
 
การปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญาการปฏิวัติภูมิปัญญา
การปฏิวัติภูมิปัญญา
 
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตกการขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
การขยายอิทธิพลของชาติตะวันตก
 
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
พัฒนาการของยุโรปสมัยใหม่
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
ศิลปวัฒนธรรมสมัยใหม่
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 

Similar to ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่

5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่Jitjaree Lertwilaiwittaya
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757CUPress
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานีThongkum Virut
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมwissanujo
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003AlittleDordream Topten
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลSom Kamonwan
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการthnaporn999
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)Kanpitcha Sandra
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทยsangworn
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyKatawutPK
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติintira
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..sandzii
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรีsangworn
 
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONThai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONVogelDenise
 

Similar to ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่ (20)

00ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.200ยุคภูมิ..[1] 6.2
00ยุคภูมิ..[1] 6.2
 
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
5.6 5.7 ยุคภูมิธรรม-ศิลปะสมัยใหม่
 
9789740335757
97897403357579789740335757
9789740335757
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
53011312317
5301131231753011312317
53011312317
 
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศสกฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
กฎหมายมหาชนกับการปฎิวัติฝรั่งเศส
 
ดุสิตธานี
ดุสิตธานีดุสิตธานี
ดุสิตธานี
 
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยมGp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
Gp 05 บทที่ 5 โลกาภิวัตน์กับชาติและชาตินิยม
 
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
เตือนใจ สามัคคีวิทยาคมลัทธิคอมมิวนิสต์ 2003
 
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากลเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
เหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์สากล
 
เผด็จการ
เผด็จการเผด็จการ
เผด็จการ
 
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีนงานนำเสนอ อารยธรรมจีน
งานนำเสนอ อารยธรรมจีน
 
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
ยุคโรแมนติคหรือจินตนิยม (Romanticism)
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
การปกครองของไทย
การปกครองของไทยการปกครองของไทย
การปกครองของไทย
 
Lesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereigntyLesson 2 sovereignty
Lesson 2 sovereignty
 
ประวัติ
ประวัติประวัติ
ประวัติ
 
อาณาจักรส..
อาณาจักรส..อาณาจักรส..
อาณาจักรส..
 
ธนบุรี
ธนบุรีธนบุรี
ธนบุรี
 
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTIONThai   Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
Thai Right of REVOLUTION & Political CORRUPTION
 

More from Pannaray Kaewmarueang

การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศPannaray Kaewmarueang
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์Pannaray Kaewmarueang
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2Pannaray Kaewmarueang
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียPannaray Kaewmarueang
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์Pannaray Kaewmarueang
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21Pannaray Kaewmarueang
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันPannaray Kaewmarueang
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียPannaray Kaewmarueang
 

More from Pannaray Kaewmarueang (15)

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศการประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
การประสานประโยชน์ระหว่างประเทศ
 
การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์การประสานผลประโยชน์
การประสานผลประโยชน์
 
สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2สงครามโลกครั้งที่2
สงครามโลกครั้งที่2
 
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์หลักฐานทางประวัติศาสตร์
หลักฐานทางประวัติศาสตร์
 
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลางเหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
เหตุการณ์สำคัญในยุโปสมัยกลาง
 
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมียอารยธรรมเมโสโปเตเมีย
อารยธรรมเมโสโปเตเมีย
 
โอเปก
โอเปกโอเปก
โอเปก
 
เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์เอเชียไมเนอร์
เอเชียไมเนอร์
 
ปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนาปฏิรูปศาสนา
ปฏิรูปศาสนา
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
เหตุการณ์สำคัญของโลกในคริสต์ศตวรรษที่21
 
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลางพัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
พัฒนาการยุโรปสมัยกลาง
 
อารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมันอารยธรรมโรมัน
อารยธรรมโรมัน
 
อารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดียอารยธรรมอินเดีย
อารยธรรมอินเดีย
 

ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย,ศิลปะสมัยใหม่

  • 1.
  • 2. ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment) การปฏิวติทางวิทยาศาสตร์ ในสังคมตะวันตกสมัย คริ สตศตวรรษ ั ที่ 17 เป็ นผลสื บ เนื่ อ งจากการฟื ้ น ฟู ศิ ล ปวิ ท ยาการที่ ก ระตุ้ นให้ ชาวตะวัน ตกสนใจศึ ก ษาหาความรู้ และค้ น หาความจริ ง จึ ง ท าให้ ตะวันตกพ้ นจากยุคมืดและสามารถแสวงหาความรู้ ซึงก่อให้ เกิดความ ่ เจริ ญก้ าวหน้ าทางวิทยาการ เทคนิค และสิ่งประดิษฐ์ ที่เป็ นประโยชน์ นาไปสู่การปฏิวติทางภูมิปัญญา (Intellectual Ravolution) ั ในคริสศตวรรษที่ 18 อีกด้ วย
  • 3. ยุคภูมิธรรม (Age of Enlightenment) วิธีการทางวิทยาศาสตร์ และการหลุดพ้ นจากอานาจของคริ สตจักร ทาให้ ชาวตะวันตกกล้ าใช้ เหตุผลเพื่อแสดงความคิดเห็นทางสังคมและ การเมืองมากขึ ้น และเชื่อมันว่าความมีเหตุผลจะเปลี่ยนแปลงชีวิตและ ่ สัง คมให้ ดี ขึ น ได้ การแสดงความคิ ด เห็ น ทางสัง คมและการเมื อ ง ้ การเรี ยกร้ องสิทธิ เสรี ภาพในการปกครอง เป็ นพืนฐานสาคัญที่ทาให้ ้ ชาติตะวันตกเข้ าสูความเจริญในยุคใหม่ ่
  • 4.
  • 5. 1. ทอมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes:ค.ศ. 1588-1679) • นักปรัชญาเขียนหนังสือเรื่ อง ลีไวอาทัน (Leviathan) แสดงแนวคิดทาง การเมืองว่าสังคมการเมืองที่อยู่ • เสนอว่าอานาจการปกครองต้ องรวมอยู่ที่บคคลคนเดียวเพื่อมิให้ มนุษย์กลับ ุ ไปสู่สภาพธรรมชาติของตนที่เลวร้ าย กษั ตริ ย์มีอานาจการปกครองสูงสุด มนุษย์ต้องเชื่อฟั งกฎหมายที่กษัตริ ย์บญญัตขึ ้น ั ิ • เน้ นว่าอานาจของกษัตริ ย์มาจากความยินยอมของประขาชน มิได้ มาจากลัทธิเทวสิทธิ์ • โจมตีความเชื่อทางศาสนาของมนุษย์วาเป็ นเรื่ องไร้ เหตุผล ่ มนุษย์ควรมีชีวิตอยูด้วยเหตุผลและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ ่ เขามิได้ ปฏิเสธพระเจ้ า แต่ปฏิเสธพิธีกรรมและผู้นาทางศาสนา
  • 6. 2. จอห์ น ล็อก (John Locke : ค.ศ. 1632-1704) • เขียนหนังสือเรื่ อง Two Treatises of Government ซึงเสนอแนวคิดว่ารัฐบาลต้ องจัดตังโดยความยินยอมของประชาชน ่ ้ และต้ องรับผิดชอบความเป็ นอยูของประชาชน ่ • ประชาชนทุกคนมีสทธิตามธรรมชาติ คือ สิทธิในชีวิตเสรี ภาพ ิ และทรัพย์สิน
  • 7. • มนุษย์เป็ นผู้จดตังรัฐบาลถ้ ารัฐบาลทาผิดสัญญาประชาคม ประชาชน ั ้ มีสทธิ์ล้มรัฐบาลได้ ิ • อานาจอธิปไตยยังเป็ นของประชาชนส่วนใหญ่อานาจทางการเมือง ที่แท้ จริงมาจากประชาชน ทุกคนมีความเสมอภาคทางกฎหมายรัฐ มีหน้ าที่หลักคือรักษาสิทธิขนมูลฐานของมนุษย์ ั้ • เป็ นผู้ริเริ่มแนวคิดแบ่งแยกอานาจ • แนวคิดของเขาเป็ นทังทฤษฎีประชาธิปไตยและทฤษฎีการปฏิวติ ้ ั มีอิทธิพลอย่างมากต่อปั ญญาชน ปรัชญาเมธีของยุโรป โดยเฉพาะกลุม ่ นักคิดฟิ โลซอฟของฝรั่งเศษ
  • 8. 3. บารอน เดอ มองเตสกิเออร์ (Baron de Montesquieu) หรือชาร์ ลส์ หลุยส์ เดอ เช็กกองดาต์ (Charles Louis de Secondat) : ค.ศ.1689-1755 • เขียนหนังสือเรื่ อง วิญญาณแห่งกฎหมาย (The Spirit of Laws) ค้ นคว้ า 20 ปี พิมพ์เผยแพร่ครังแรกใน ค.ศ. 1748 ต่อมาได้ รับ ้ การตีพิมพ์อีก 22 ครัง และแปลเป็ นภาษาตะวันตกต่างๆ เกือบทุกภาษา ้
  • 9. หนังสือเล่มนี ้ มีอิทธิพลต่อสังคมตะวันตก รัฐธรรมนูญการปกครอง ประเทศของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็ นแม่บทของระบอบการปกครอง ในระบบประชาธิปไตย โดนใช้ แนวคิด แบ่งแยกอานาจและระบบ คานอานาจ • ทฤษฎีแบ่งอานาจการเมือง 3 ฝ่ ายคือ นิติบญญัติ บริหาร ตุลาการ ั • ระบบการปกครองต้ องสอดคล้ องกับลักษณะภูมิประเทศ และประวัติศาสตร์ ของแต่ละสังคม • การปกครองที่ดีที่สดคือให้ กษัตริย์อยูใต้ รัฐธรรมนูญ ุ ่
  • 10. • • • • 4. วอลแตร์ (Voltaire : ค.ศ.1694-1778) เขียนหนังสือเรื่ อง จดหมายปรัญญา (The Philosophical Letters) เป็ นนักคิดนักเขียนชาวฝรั่งเศส ที่สนับสนุนแนวคิดประชาธิปไตย ประทับใจ ในระบบการปกครองของอังกฤษมาก มีความเห็นว่า รัฐบาลที่ดีต้องให้ เสรี ภาพและอิสรภาพแก่ประชาชน และ ต้ องเป็ นผู้รอบรู้ มีเหตุผลและปกครองด้ วยหลักเหตุและผล ประชาชน สามารถใช้ เสรี ภาพและอิสรภาพในการแสดงความคิดเห็น ได้ รับสมญานามว่า เจ้ าทฤษฎีแห่งสื่อสารมวลชน
  • 11. 5.ชอง ชาคส์ รูโซ (Jean Jacques Rousseau : ค.ศ.1712-1778) • เป็ นเจ้ าทฤษฎีแห่งอานาจอธิปไตยของประชาชน ถือเป็ นบิดาแห่ง ประชาธิปไตย • เขียนหนังสือชื่อ สัญญาประชาคม (Social Contract 1762) โดยเน้ นว่า “อานาจอธิปไตยเป็ นของปวงชน” รัฐบาลที่ดีต้องมาจาก ประชาชน และรัฐบาลต้ องสัญญากับประชาชนว่าจะดูแลให้ ประชาชน อยูดีกินดี มีสข ถ้ ารัฐบาลไม่ทาตามสัญญา ประชาชนมีสทธิล้มล้ าง ่ ุ ิ รัฐบาลได้
  • 12. • มีผลต่อการปฏิวติฝรั่งเศส “เสรี ภาพ เสมอภาพ ภารดรภาพ” ั • เน้ นเรื่ อง “เจตจานงร่วมของประชาชน” (General Will) คือ อานาจสูงสุดในการปกครอง เสนอว่ามนุษย์มาอยูรวมกันเป็ น ่ “องค์อธิปัตย์” คือองกรที่มีอานาจสูงสุดดังนันรัฐบาลต้ องยอมรับ ้ เจตจานงทัวไปของประขาขนรัฐบาลต้ องสร้ างความเสมอภาคให้ ่ การศึกษาจัดระบบกิจการคลังที่ดี มีระบบการเก็บภาษีมรดกและ สิ่งฟุ่ มเฟื อย
  • 13. การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ ั หลังจากสงครามกลางเมือง (Civil War) ค.ศ.16421649 กษัตริย์องกฤษพระเจ้ าชาลส์ที่ 1 ถูกสาเร็จโทษ อังกฤษ ั ปกครองระบอบสาธารณรัฐชัวระยะเวลาหนึง มีการปราบผู้ที่ไม่เห็นด้ วย ่ ่ ถือว่าเป็ นยุคแห่งความหวาดกลัว เกิดความขัดแย้ งระหว่างกลุม ่ เกิดการสู้รบนองเลือดจนมีการประกาศยกเลิกระบอบ สมบูรณาญาสิทธิราชย์ของอังกฤษ รัฐสภาได้ ฟืนฟูระบบกษัตริย์ขึ ้นมา ้ อีกครังหนึงโดยเชิญกษัตริย์ในราชวงศ์สจวตมาปกครอง ้ ่
  • 14. การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ ั ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์อย่างถาวรเกิดขึ ้นใน ค.ศ. 1688 เนื่องจากพระเจ้ าเจมส์ที่ 2 ไม่ยอมรับอานาจรัฐสภา รัฐสภาร่วมมือกับประชาชนต่อต้ านจนพระเจ้ าเจมส์ที่ 2 ต้ องสละราช สมบัติและมีการสถาปนาพระเจ้ าวิลเลี่ยมที่ 1 แห่งฮอนแลนด์ ร่วมกับ พระนางแมรี ที่ 2 การปฏิวติในครังนี ้ได้ มีการประกาศ พระราชบัญญัติ ั ้ ว่าด้ วยสิทธิ (Bill of Rights) ที่ย ้าถึงสิทธิและเสรี ภาพที่ชาว อังกฤษควรมีได้ รับเท่าเทียมกันและอานาจของรัฐสภามีเหนือสถาบัน กษัตริย์
  • 15. การปฏิวติทางการเมืองการปกครองของอังกฤษ ั ซึงท้ ายที่สดได้ เกิดการปฏิวติอนรุ่งโรจน์ ่ ุ ั ั (The Glorious Revolution) โดยไม่มีการเสียเลือดเนื ้อ ถือว่าเป็ นการสิ ้นสุดระบบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ อังกฤษได้ รับการยกย่องว่าเป็ นประเทศแม่แบบของการปกครองระบบ ประชาธิปไตย อังกฤษไม่มีรัฐธรรมนูญเป็ นลายลักษณ์อกษร จึงยึดหลัก ั ขนบธรรมเนียมประเพณีที่เคยปกครองกันมา และยึดกฎหมายเป็ นหลัก
  • 16. การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776 ั ั การปฏิวติอเมริกา คือช่วงระยะเวลาครึ่งหลังของศตวรรษที่ 18 ั ที่มีการลุกฮือเพื่อประกาศเอกราชจากจักรวรรดิองกฤษของประชาชน ั ชาวอเมริกา จึงได้ มีการสถาปนาสหรัฐอเมริกาขึ ้นในเวลาต่อมา ่ หลังจากได้ รับชัยชนะในการปฏิวติในครังนี ้ ั ้
  • 17. การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776 ั ั สาเหตุในการปฏิวัติ อังกฤษใช้ นโยบายการค้ าอย่างไม่ยติธรรมกับอาณานิคม เนื่องจาก ุ บริเวณลุมแม่น ้ามิสซิสซิปปี นี ้เป็ นแหล่งเพาะปลูกใบชาที่สาคัญ อังกฤษ ่ ใช้ วิธีซื ้อจากอาณานิคมในราคาถูกมากแล้ วนาไปขายในยุโรปในราคา เพิ่มหลายเท่า ทาให้ ชาวอาณานิคมไม่พอใจ และประกอบกับการที่ชาว อมริกนได้ รับแนวคิดจาก นักปรัชญา คือ จอห์น ล็อก ทาให้ เหตุการณ์ ั ลุกลามใหญ่ ก่อให้ การประท้ วงชุมนุมงานเลี ้ยงน ้าชาที่บอสตัน (Boston Tea Party) ที่กรุงบอสตัน อังกฤษจึงส่งกาลังเข้ า ปราบปราม ก่อให้ เกิดการต่อต้ านอย่างหนัก ฝรั่งเศสได้ แอบส่งกาลัง อาวุธเข้ าช่วยเหลืออเมริกา
  • 18. การปฏิวติของชาวอเมริกน ค.ศ. 1776 ั ั จนในที่สด ทาให้ อเมริกาสามารถประกาศอิสรภาพได้ ใน ุ วันที่ 4 กรกฎาคม ค.ศ. 1776 ที่เมืองฟิ ลาเดเฟี ย (วอชิงตัน ดี.ซี. ในปั จจุบน) เกิดประธานาธิบดีคนแรกของสหรัฐอเมริกาคือ จอร์ จ ั วอชิงตัน และการที่ฝรั่งเศสเข้ าช่วยอเมริกานี ้เอง ทาให้ ทหารที่เข้ า มาร่วมรบในสงครามปฏิวติอเมริกา ได้ ซมซับแนวคิดและความต้ องการ ั ึ อิสรภาพของชาวอเมริกนทังมวลเข้ าไว้ และกลายเป็ นพลังผลักดันที่ทา ั ้ ให้ เกิดการปฏิวติในฝรั่งเศสและประกอบกับสภาพการณ์ ในขณะนัน ั ้ ฝรั่งเศสกาลังย่าแย่ด้วยสภาพเศรษฐกิจ สถาบันกษัตริย์ที่ออนแอ ทาให้ ่ ฝรั่งเศสเข้ าสูการปฏิวติฝรั่งเศสและกลายเป็ นแรงผลักดันให้ เกิดการ ่ ั ปฏิวติไปทัวยุโรปในเวลาต่อมาอีกด้ วย ั ่
  • 19. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั สาเหตุท่ วไปของการปฏิวัตฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ประกอบด้ วย ั ิ • ด้ านการเมือง 1. พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ทรงไม่เข็มแข็งพอไม่มีอานาจเด็ดขาด ในการบริหารประเทศจึงเปิ ดโอกาสให้ คณะ บุคคลบางกลุมเข้ ามามีสทธิ ่ ิ ร่วมในการบริหารประเทศ 2. สภาท้ องถิ่น (Provincial Estates) เป็ นสภาที่มีอยู่ ทัวไปในฝรั่งเศส และตกอยูภายใต้ อานาจอิทธิพลของขุนนางท้ องถิ่น ่ ่ เริ่มกลับเข้ ามามีบทบาทอีกครัง ้
  • 20. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั 3. สภาปาลมองต์ (Parlement) หรื อศาลสูงสุดของฝรั่งเศส ทาหน้ าที่ให้ การปรึกษากับกษัตริย์มีสทธิ์ยงยังการออกกฎหมายใหม่ ิ ั ้ (Vito) ซึงเป็ นสภาที่เป็ นปากเป็ นเสียงของประชนเคยถูกปิ ดไปแล้ ว ่ กลับเข้ ามามีอานาจอีกครัง พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ทรงยอมให้ สภา ้ ปามองต์แสดงบทบาทสามารถต่อรองขอสิทธิบางอย่างทางการเมือง 4. ประเทศฝรั่งเศสไม่มีรัฐธรรมนูญ ทาให้ การปกครองเป็ นไป อย่างไม่มีประสิทธิภาพ และประชาชนไม่ได้ รับการคุ้มครอง
  • 21. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั 5. สภาฐานันดรหรื อสภาทัวไป (Estates General)ที่จดตัง ่ ั ่ ขึ ้นในยุคกลางในสมัยพระเจ้ าฟิ ลิปที่ 4 เพื่อต่อต้ านอานาจของ สันตะปาปาซึงมีผลทาให้ เกิดชนชันของประชาชน 3 ชนชันคือ พระ ่ ้ ้ ขุนนาง และสามัญชน ในปี ค.ศ. 1789 สถานะทางด้ านการคลังของ ประเทศเกิดปั ญหาขาดดุลอย่างหนัง ทาให้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 เปิ ด สภานี ้ขึ ้นมาใหม่หลังจากจากที่ถกปิ ดไปถึง 174 ปี เพื่อขอเสียง ู สนับสนุนจากตัวแทนของประชาชนในการขอเก็บภาษีเพิ่มขึ ้น แต่เกิด ปั ญหาการนับคะแนนเสียงขึ ้น จนกลายเป็ นชนวนที่ก่อให้ เกิดการปฏิวติ ั ในเดือน กรกฎาคม ค.ศ. 1789
  • 22. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั • ด้ านเศรษฐกิจ 1. สืบเนื่องมาจากพระเจ้ าหลุยส์ที่ 15 ทรงใช้ จ่ายอย่างฟุ่ มเฟื อย ในราชสานัก เป็ นปั ญหาสังสมมาจนถึงพระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ่ 2. เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสภาพเศรษฐกิจจากภาคเกษตรกรรม มาสูภาคอุตสาหกรรม ทาให้ เกิดวิกฤตการทางการเกษตร ราคาอาหารสูงขึ ้น ่ ไม่สมดุลกับค่าแรงที่ได้ รับ การเปลี่ยนแปลงนี ้ก่อให้ เกิดชนชันใหม่ขึ ้นมา คือ ้ ชนชันกลาง (พ่อค้ า นายทุน) ซึงมีสวนสาคัญในการปฏิวติ ้ ่ ่ ั 3. เป็ นปั ญหาสืบเนื่องมาจากการที่ฝรั่งเศสเข้ าไปพัวพันกับสงคราม ในต่าง ประเทศมากเกินไป โดยเฉพาะสงครามกู้เอกราชของสหรัฐอเมริ กาใน ปี ค.ศ. 1776 จึงทาให้ เกิดค้ าใช้ จ่ายสูง
  • 23. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั 4. พระเจ้ าหลุยส์ไม่สามารถตัดค่าใช้ จ่ายในราชสานักได้ แต่ก็ พยายามแก้ ไขโดย - ปรับปรุงการเก็บภาษี ให้ มีประสิทธิภาพมากขึ ้น ก่อให้ เกิดการไม่ พอใจในกลุมคนบางกลุมที่ไม่เคยเสียภาษี ่ ่ - เพิ่มการกู้เงิน ซึงก็ช่วยทาให้ มีรายได้ เพิ่มขึ ้น แต่ก็ต้องจ่ายค่าดอกเบี ้ย ่ มากขึ ้นด้ วยเช่นกัน - ตัดรายจ่ายบางประการ เช่น การเลิกเบี ้ยบานาน ลดจานวนค่า ราชการ ซึงทาให้ เกิดความไม่พอใจในหมู่ข้าราชการ ยังส่งผลถึงการทางานของ ่ ราชการไม่มีประสิทธิภาพ การแก้ ไขปั ญหาเศรษฐกิจไม่เป็ นผลสาเร็ จ เนื่องจาก แก้ ไขที่ไม่ตรงจุด จึงไม่สามารถตัดรายจ่ายที่ไม่จาเป็ นลงไปได้
  • 24. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั • ด้ านสังคม 1. การรับอิทธิพลทางความคิดของชาวต่างชาติ จาการที่ ฝรั่งเศสเข้ าไปช่วยสหรัฐอเมริกาทาสงครามประกาศอิสภาพจากอังกฤษ จึงทาให้ รับอิทธิพลทางความคิดด้ านเสรี ภาพนันกลับเข้ ามาในประเทศ ้ ด้ วย อิทธิพลทางความคิดที่สาคัญที่รับมาคือจากบรรดานักปรัชญากลุม ่ ฟิ โลซอฟส์ (Philosophes) นักปรัชญาคนสาคัญคือ วอร์ แตร์ , จอห์น ล็อค, รุสโซ่
  • 25. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั 2. เกิดปั ญหาความแตกต่างทางสังคม อันเนื่องมาจากพลเมืองแบ่ง ออกเป็ น 3 ฐานันดร คือ - ฐานันดรที่ 1 พระ - ฐานันดรที่ 2 ขุนนาง - ฐานันดรที่ 3 สามัญชน ฐานันดรที่ 1 และ 2 เป็ นกลุมที่มีอภิสทธิ์ชน คือไม่ต้อง ่ ิ เสียภาษี ทาให้ กลุมฐานันดรที่ 3 ต้ องแบกรับภาระทังหลายอย่างเอาไว้ ่ ้ เช่น การเสียภาษี การจ่ายเงินค่าเช่าที่ดิน และการถูกเกณฑ์ไปรบ กลุมฐานันดรที่ 3 ถือเป็ นกลุมไม่มีอภิสทธิ์ชน ่ ่ ิ
  • 26. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั สาเหตุปัจจุบนของการปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั ั เมื่อประเทศฝรั่งเศสประสบปั ญหาทางด้ านเศรษฐกิจจนไม่ สามารถแก้ ปัญหาได้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 จึงทรงเปิ ดประชุมสภา ฐานันดร (Estates General) ในวันที่ 17 มิถนายน ค.ศ. ุ 1789 เพื่อขอคะแนนเสียงของตัวแทนของประชาชนทุกกลุมช่วยกัน ่ แก้ ไขปั ญหาทางการคลัง แต่ได้ เกิดปั ญหาขึ ้นเพราะกลุมฐานันดรที่ 3 ่ เรี ยกร้ องให้ นบคะแนนเสียงเป็ นรายหัว แต่กลุมฐานันดรที่ 1และ2 ซึง ั ่ ่ ได้ ร่วมมือกันเสมอนันเสนอให้ นบคะแนนเสียงแบบกลุม จึงทาให้ กลุม ้ ั ่ ่ ฐานันดรที่ 3 เดินออกจากสภา แล้ วจัดตังสภาแห่งชาติ (National ้ Assembly) เรี ยกร้ องให้ พระเจ้ าหลุยส์ที่ 16 ปิ ดห้ องประชุม
  • 27. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั ต่อมาวันที่ 20 มิถนายน ค.ศ. 1789 สภาแห่งชาติได้ ย้ายไปประชุมที่ ุ สนามเทนนิส และร่วมสาบานว่าจะไม่ยอมแพ้ และไม่ยอมแยกจากกันจนกว่า จะได้ รับชัยชนะ และต้ องมีการร่างรัฐธรรมนูญขึ ้นใช้ ในการปกครองประเทศ ในขณะเดียวกันกับ ความวุนวายได้ เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื่องในปารี ส และได้ ่ ขยายตัวออกไปทัวประเทศ ฝูงชนชาวปารี สได้ รับข่าวลือว่าพระเจ้ าหลุยส์ที่ ่ 16 กาลังจะส่งกาลังทหารเข้ ามาปราบปรามความฝูงชนที่ ก่อวุนวาย ่ ในปารี ส ดังนัน ในวันที่ 14 กรกฎาคม ค.ศ.1789 ฝูงชนจึงได้ ร่วมมือ ้ กันทาลายคุกบาสติล(Bastille) ซึงเป็ นสถานที่คมขังนักโทษทางการเมือง ่ ุ และถือว่าเป็ นสัญลักษณ์ของการปกครองในระบอบเก่า
  • 28. การปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั ผลจากการปฏิวติฝรั่งเศส ค.ศ.1789 ั 1. เปลี่ยนจากการปกครองในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (คนเดียว) มาสูระบอบสาธารณรัฐ (หลายตน) ่ 2. มีการล้ มล้ างกลุมอภิสิทธิชน พระและขุนนางหมดอานาจ ่ กลุมสามัญชน กรรมกร ชาวนา และโดยเฉพาะกลุมชนชันกลาง ่ ่ ้ เข้ ามามีอานาจแทนที่ 3. ศาสนาจักรถูกรวมเข้ ากับรัฐ ทาให้ อานาจของสันตะปาปาถูก ควบคุมโดยรัฐ
  • 29. 4. เกิดความวุนวายทัวประเทศเพราะประชนชนบางส่วนยังติดอยูกบ ่ ่ ่ ั การปกครองแบบเก่า 5. มีการทาสงครามกับต่างชาติ 6. มีการขยายอิทธิพลแนวความคิดและเป็ นต้ นแบบของการปฏิวติไป ั ยังประเทศอื่น ๆ ในยุโรป
  • 30.
  • 31. ศิลปะสมัยใหม่ เป็ นคาที่ใช้ เรี ยกการสร้ างงานศิลปะตังแต่ช่วงปลายคริ สต์ศตวรรษที่ 19 จนถึง ้ ประมาณคริ สต์ทศวรรษ 1970 เป็ นงานที่เป็ นรูปแบบเฉพาะของศิลปิ นแต่ละ คนเน้ นความเป็ นตัวของตัวเองของศิลปิ นแต่ละกลุมซึงมีมากมายหลายกลุม ่ ่ ่ แต่ละกลุมก็มีแนวคิดเทคนิค วิธีการที่แตกต่างกันออกไปอย่างหลากหลาย ่ บ้ างก็ สะท้อนสภาพสังคม บ้ างก็ แสดงมุมมองบางอย่างทีแตกต่าง ่ ออกไป บ้ างก็ แสดงภาวะทางจิ ตของศิ ลปิ นและกลุ่มชน บ้ างก็ แสดงความ ประทับใจในความงามตามธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม
  • 32. ศิลปะบารอค (Baroque) เป็ นศิลปะที่พฒนามาจากศิลปะแบบเรเนสซองส์ ในช่วง ั คริสต์ศตวรรษที่ 17-18 มีลกษณะเฉพาะ คือ การแสดงออกถึงความมี ั อิสรภาพของมนุษย์ตามแนวความคิดมนุษยนิยม (Humanism) ผลงานที่ปรากฎ มักแสดงออกถึงลักษณะแน่นอนตายตัวของศิลปิ น ศิลปะแบบบารอค เกิดขึ ้นในช่วงที่รัฐต่างๆ ในยุโรปมีความมังคัง ่ ่ ทางเศรษฐกิจและมีความมังคังทางการเมือง เป็ นผลให้ พระราชวงศ์ ขุน ่ ่ นาง และพ่อค้ ามีความพร้ อมที่จะอุปถัมภ์การสร้ างสรรค์ผลงานของศิลปิ น แขนงต่างๆ ได้ อย่างเต็มที่
  • 33. งานสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมแบบบารอค • 1. งานจิตรกรรม มีการลวงตาด้ วยเส้ น สี แสง เงา และใช้ หลักทัศนียวิสย ส่วนใหญ่ยงคงรับรูปแบบและเทคนิคจากสมัยเรเนสซองส์ แต่ได้ ั ั พัฒนาฝี มือและเทคนิคการผสมสีที่วิจิตงดงามยิ่งขึ ้น นิยมใช้ สีสดและ ฉูดฉาด ภาพวาดมักปรากฎตามวัด วัง และคฤหาสน์ของชนชันกลางผู้ ้ มังคัง แสดงชีวิตความเป็ นอยูที่หรูหราสุขสบายของเจ้ านายและเรื่ องราว ่ ่ ่ ที่เกี่ยวข้ องกับคริสต์ศาสนา
  • 34. • 2. งานสถาปั ตยกรรม แสดงออกถึงความใหญ่โตหรูหรา และการ ประดับประดาที่ฟมเฟื อย โดยนาความรู้ทางคณิตศาสตร์ และ ุ่ วิทยาศาสตร์ มาใช้ งานก่อสร้ างมากขึ ้น ผลงานชิ ้นสาคัญของศิลปะแบบ บารอค คือ พระราชวังแวร์ ซายส์ ( Versailles ) ของพระเจ้ าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส
  • 35. • 3. ศิลปะด้ านดนตรี มีการพัฒนาไปมากทังการร้ องและการบรรเลง ้ เครื่ องดนตรี ขนาดของวงดนตรี ขยายใหญ่ จากแบบ Chamber Music ที่ใช้ ผ้ เู ล่นไม่กี่คน มาเป็ นแบบ Orchestra ที่ใช้ ผ้ เู ล่นและ เครื่ องดนตรี จานวนมาก มีการแต่งเพลงและใช้ โน้ ตเพลง และเปิ ดการ แสดงดนตรี ในห้ องโถงใหญ่ๆ นักดนตรี สาคัญ คือ โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค (Johann Sebastian Bach) ชาวเยอรมัน ซึงแต่งเพลง ่ ทางด้ านศาสนาเป็ นส่วนใหญ่
  • 36. • 4. งานด้ านวรรณกรรม ในสมัยคริสต์ศตวรรษที่ 17 ได้ ชื่อว่าเป็ นยุค ทองแห่งวรรณกรรมยุโรป มีผลงานชิ ้นเอกของนักประพันธ์ชาวอังกฤษ และฝรั่งเศสเกิดขึ ้นมากมาย ที่เด่นคือ งานเขียนทางปรัชญาการเมือง ของ จอห์น ลอค (John Lock) และผลงานของนักเขียนบทละคร เสียดสีสงคมชันสูง ชื่อ โมลิแอร์ (Moliere) เป็ นต้ น แต่มกจะเขียน ั ้ ั เรื่ องที่เกินจริง
  • 37. ลัทธิคลาสสิกใหม่ (Neoclassicism) ได้ รับความนิยมในยุโรปประมาณคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลาง คริสต์ศตวรรษที่ 19 ซึงเป็ นยุคที่มนุษย์เปลี่ยนความรู้สก ความเชื่อ และ ่ ึ ทัศนคติอย่างสิ ้นเชิง เพราะจากความสาเร็จในการปฏิวติและการ ั ค้ นพบทางวิทยาศาสตร์ ทาให้ มนุษย์มีความเชื่อมันในเหตุผล มี ่ ความสามารถ เฉลียวฉลาด รู้คณค่าของความเป็ นมนุษย์ เรี ยกว่าเป็ น ุ สมัยแห่ง ภูมิธรรม
  • 38. งานสร้ างสรรค์ศิลปวัฒนธรรมแบบลัทธิคลาสสิกใหม่ • 1.สถาปั ตยกรรม มีการฟื นฟูศิลปะคลาสสิกมาปรับปรุงใหม่ให้ ้ เหมาะสมกับสภาพเหตุการณ์ในสมัยนัน มีการสะท้ อนเรื่ องราวของ ้ อารยธรรมโบราณ แสดงความสง่าของทรวดทรง เน้ นในความสมดุลได้ สัดส่วน
  • 39. • 2. ประติมากรรมและจิตรกรรม ประติมากรรมคลาสสิกใหม่นิยม ลอกเลียนแบบประติมากรรมของกรี ก-โรมัน ส่วนจิตรกรรรมเน้ นในเรื่ อง เส้ นมากกว่าการให้ สี แสดงออกให้ เห็นถึงความสง่างาม และยิ่งใหญ่ใน ความเรี ยบง่าย คล้ ายกับผลงานของกรี กโบราณ
  • 40. • 3.นาฏกรรม ในสมัยนี ้ได้ รับอิทธิพลจากการละครของกรี ก ซึงต้ องการ ่ แสดงความสมเหตุสมผลของเรื่ อง และมุงมันที่จะสังสอนนอกเหนือจาก ่ ่ ่ การให้ ความเพลิดเพลิน ฝรั่งเศสเป็ นชาติแรกที่เขียนบทละครคลาสสิก • 4.ดนตรี สมัยนี ้นิยมเนื ้อเรื่ องที่แสดงออกด้ านความคิดเห็น และในเรื่ อง ของความเสมอภาคตามทัศนะของนักเขียนสมัยภูมิปัญญา นอกจากนี ้ ความคิดที่เชื่อมันในเหตุผล สติปัญญา และความสามารถของมนุษย์ ก็ ่ มีบทบาทที่ทาให้ การแต่งเพลงมีอิสระมากขึ ้น นักประพันธ์ที่มีชื่อเสียง สมัยคลาสสิกได้ แก่ วอล์ฟกัง อะมาเดอุส โมสาร์ ต(Wolfgang Amadeus Mozart ค.ศ.1756-1791)
  • 41. ลัทธิจินตนิยม (romanticism) ระหว่างปลายคริสต์ศตวรรษที่ 18 ถึงกลางคริสต์ศตวรรษที่ 19 ศิลปะของโลกตะวันตกมีลกษณะเป็ นแบบจินตนิยม ซึงเน้ นอารมณ์ และ ั ่ ความรู้สกภายใน เนื่องจากผู้คนเริ่มเบื่อหน่ายการใช้ เหตุผล และต้ องการ ึ กลับไปชื่นชมความงามของธรรมชาติ พอใจในเรื่ องราวแปลก แตกต่าง ออกไปจากดินแดนต่างๆ โดยไม่คานึงถึงประเพณีนิยม พวกศิลปิ นจะสร้ าง งานโดยยึดถืออารมณ์ฝัน และจินตนาการของตนเป็ นสาคัญ และไม่เห็น ด้ วยกับการสร้ างงานที่ยดถือหลักวิชาการ และเหตุผล ึ
  • 42. • 1. สถาปั ตยกรรม มีการนารูปแบบสถาปั ตยกรรมในอดีตมาดัดแปลง ตามจินตนาการ เพื่อให้ เกิดผลทางด้ านอารมณ์ ส่วนใหญ่จะได้ รับ อิทธิพลจากสถาปั ตกรรมแบบกอทิก
  • 43. • 2. ประติมากรรม ประติมากรรมจินตนิยมเน้ นการแสดงอารมณ์ ความรู้สก และแนวความคิดประติมากรจินตนิยมที่มีชื่อเสียงของ ึ ฝรั่งเศส ได้ แก่ ฟรองซัว รูเด(Francois Rude ค.ศ.1784-1855) ผู้ ปั นประติมากรรมนูนสูงมาร์ ซายแยส(Marseillaise) ประดับฐาน ้ อนุสาวรี ย์ประตูชย(Arch of Triumph)ในกรุงปารี ส ั
  • 44. • 3. จิตรกรรม มีการจัดองค์ประกอบด้ วยสี เส้ น แสงเงา และปริมาตรค่อนข้ าง รุนแรง มุงให้ เกิดความสะเทือนอารมณ์ คล้ อยตามไปกับจินตนาการที่เต็มไปด้ วย ่ ความเพ้ อฝั น แปลกประหลาดตื่นเต้ นเร้ าใจ ความรุนแรง และความน่าหวาดเสียว สยดสยอง จิตรกรคนสาคัญของฝรั่งเศส ได้ แก่ เออชอน เดอลา-กรัวซ์ (Eugene Delacroix ค.ศ.1798-1863) ผู้เขียนภาพอิสรภาพนาประชาชน (Liberty leading the people) เขียนจากเหตุการณ์นองเลือดเมื่อประชาชนลุกฮือ ขึ ้นโค่นบัลลังก์ราชวงศ์บร์บง ที่เกิดเมื่อ ค.ศ.1830 ู
  • 45. • 4. ดนตรี ดนตรี แนวจินตนิยมไม่ได้ แต่งเพื่อฟั งเพลิดเพลินอย่างเดียว แต่มี จุดมุ่งหมายที่จะเร้ าความรู้สกทางจิตใจด้ วย เช่น ความรู้สกชาตินิยม โน้ ม ึ ึ น้ าวจิตใจผู้ฟังให้ คล้ อยตาม นักแต่งเพลงจินตนิยมที่มีชื่อเสียงได้ แก่ ลุดวิก ฟาน เบโทเฟน(Ludwig van Beethoven ค.ศ.1770-1827) ฟรานซ์ ชูเบิร์ต(Franz Schubert ค.ศ.1797-1828) เป็ นต้ น • 5. การละคร นิยมแสดงเรื่ องที่ตวเอกประสบปั ญหาอุปสรรค หรื อมีข้อขัดแย้ ง ั ในชีวิตอย่างสาหัส ซึงจะดึงอารมณ์ของผู้ชมให้ เอาใจช่วยตัวเอก การเขียน ่ บทไม่เคร่งครัดในระเบียบแบบแผนอย่างละครคลาสสิก ละครแนวจินตนิยม กาเนิดในเยอรมนี บทละครที่ยิ่งใหญ่ที่สด คือ เรื่ องเฟาสต์(Faust)ของโย ุ ฮันน์ วอล์ฟกัง ฟอน เกอเทอ(Johanne Wolfgang von Goethe ค.ศ.1749-1832)
  • 46. • 6. วรรณกรรม เน้ นจินตนาการ และอารมณ์ และถือว่าควมต้ องการของ ผู้ประพันธ์สาคัญกว่าความต้ องการของคนในสังคม บทร้ อยกรอง ประเภทคีตกานต์(lyric) ซึงเป็ นโคลงสันๆแสดงอารมณ์ของกวีได้ รับ ่ ้ ความนิยมสูงสุดในสมัยนี ้ กวีคนสาคัญของอังกฤษ คือ วิลเลียม เวิดส์ เวิร์ท(William wordsworth ค.ศ.1770-1850) และ แซมวล เทย์เลอร์ โคลริดจ์(Samuel Taylor Colridge ค.ศ.17721834) กวีที่ยิ่งใหญ่ที่สดของฝรั่งเศส คือ วิกเตอร์ -มารี อูโก(Victor ุ Marie Hugo ค.ศ.1802-1885) นอกจาแต่งโคลงแล้ ว ยังแต่งบท ละครและนวนิยาย นวนิยายที่มีชื่เสียงมาก คือ เหยื่ออธรรม (Les Miserables)
  • 47. ลัทธิสจนิยม (Realisticism) ั ตังแต่ปลายคริสต์ศตวรรษที่ 19 เป็ นต้ นมา เป็ นสมัยแห่งความเจริญทาง ้ เทคโนโลยีและความก้ าวหน้ าทางวิทยาศาสตร์ สังคมของยุโรปเปลี่ยนแปลงไปอย่าง รวดเร็ว การใช้ ระบบเศรษฐกิจที่เป็ นแบบทุนนิยม ทาให้ เกิดความขัดแย้ งระหว่าง กรรมกรกับนายทุน ขณะเดียวกันก็เกิดแนวความคิดแบบสังคมนิยม ซึง่ตอต้ าน ่ ระบบนายทุน ต้ องการให้ ชนชันแรงงานเป็ นเจ้ าของปั จจัยการผลิตและมีอานาจทาง ้ สังคมและการเมือง อย่างไรก็ตามชนชันกลางหรื อนายทุนก็ยงสามารถรักษา ้ ั สถานภาพและอานาจในสังคมของตนไว้ ได้ ความเปลี่ยนแปลงเหล่านี ้ทาให้ แนวความคิดทางศิลปะหันเหจากแนวจินตนิยมมาเป็ นแนวสัจนิยม ซึงเป็ น ่ แนวความคิดที่ตงอยูบนพื ้นฐานความเป็ นจริงของชีวิต โดยต้ องการให้ เห็นว่าโลกที่ ั้ ่ แท้ จริงไม่ได้ งดงามตามแบบที่พวกจินตนิยมเชื่อถือกัน ชีวิตต้ องดิ ้นรนต่อสู้ มีการเอา รัดเอาเปรี ยบและการขัดแย้ งกันระหว่างชนชันในสังคม ้
  • 48. • ลักษณะเด่ นของสัจนิยม คือ การแสดงให้ เห็นสภาพที่เป็ นจริงของ สังคม เปิ ดโปงความชัวร้ ายของพวกนายทุน และความไม่ยติธรรมที่กลุม ่ ุ ่ ผู้ใช้ แรงงานได้ รับ มักจะเน้ นชีวิตของพวกกรรมกรที่ทกข์ยาก ชุมชน ุ แออัด ความสับสนวุนวายในเมือง สภาพของคนที่ยากไร้ การเอารัดเอา ่ เปรี ยบของกลุมคนที่มีฐานะดีกว่า ส่วนมากจะเป็ นรายละเอียดของ ่ ชีวิตประจาวันทุกด้ านตามความเป็ นจริง พวกสัจนิยมไม่นิยมเรื่ อง ประวัติศาสตร์ เรื่ องจินตนาการเพ้ อฝั น และไม่มองโลกในแง่ดีเหมือน พวกจินตนิยม นอกจากนี ้ยังเสนอผลงานอย่างตรงไปตรงมาและเป็ น กลาง
  • 49. • 1. ด้ านสถาปั ตยกรรม เนื่องจากอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจขยายตัว อย่างรวดเร็ว จึงมีการสร้ างโรงงานขนาดใหญ่ อาคารสานักงานที่สง ู หลายๆชันกันมาก การก่อสร้ างอาคารจะนาวัสดุที่เกิดจากเทคโนโลยี ้ ใหม่ๆมาใช้ เช่น เหล็กกล้ า เหล็กหล่อ แทนอิฐ ไม้ เหมือนแต่ก่อน อาคาร ส่วนใหญ่เป็ นลักษณะเรี ยบง่าย ให้ ใช้ ประโยชน์ได้ มากที่สดในเนื ้อที่ ุ จากัด การออกแบบจึงต้ องสอดคล้ องกับประโยชน์ใช้ สอย แต่ใน ขณะเดียวกันก็ต้องมีความงามทางศิลปะด้ วย
  • 50. • 2. ประติมากรรม นิยมปั นและหล่อรูปคนมีรูปร่างสัดส่วนเหมือนคน ้ จริง ผิวรูปปั นหยาบ ไม่เรี ยบ เมื่อมีแสงส่องกระทบจะเห็นกล้ ามเนื ้อ ้ ชัดเจน ศิลปิ นคนสาคัญ คือ โอกูสต์ โรแดง (August Rodin ค.ศ.1840-1917) ซึงเป็ นประติมากรที่สาคัญที่สดคนหนึงของ ่ ุ ่ ฝรั่งเศสและของโลก ผลงานชิ ้นเอก เช่น นักคิด (The Thinker) หล่อด้ วยสาริด
  • 51. • 3.จิตรกรรม มักสะท้ อนสภาพชีวิตจริงของมนุษย์ในด้ านลบ เช่น ชีวิต คนชันต่าตามเมืองใหญ่ๆ ชีวิตชาวไร่ชาวนาที่ยากไร้ ในชยบท ศิลปะสัจ ้ นิยมมีกาเนิดในประเทศฝรั่งเศส จากการริเริ่มของกูสตาฟ กูร์เบ (Gustave Courbet ค.ศ. 1819-1877) ซึงยึดหลักการสร้ างงาน ่ ให้ เหมือนจริงและเป็ นจริงตามที่ตาแลเห็น
  • 52. จัดทาโดย • นางสาว พิชญา บุญทรัยพ์ • นางสาว รัญชิดา นพรัตน์ ม.๖.๕ ม.๖.๕ เลขที่ ๓๒ เลขที่ ๓๓