SlideShare a Scribd company logo
1 of 155
Download to read offline
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1
คณะผู้จัดท�ำ
ผู้อุปถัมภ์โครงการ
	 พระเทพญาณมหามุนี	 เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
	 พระราชภาวนาจารย์	 รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย	
ที่ปรึกษา
	 พระมหา ดร. สมชาย     	        ฐานวุฑฺโฒ
	 พระมหาสมเกียรติ         	        วรยโส ป.ธ.๙
	 พระมหาบุญชัย              	        จารุทตฺโต
	 พระมหาวีรวัฒน์            	        วีรวฑฺฒโก       ป.ธ.๙    	
	 พระมหา ดร. สุธรรม     	        สุรตโน            ป.ธ.๙
	 พระครูใบฎีกาอ�ำนวยศักดิ์       มุนิสกฺโก	
	 พระมหา ดร. สมบัติ       	       อินฺทปญฺโญ     ป.ธ.๙
	 พระมหาวิทยา       	        จิตฺตชโย     ป.ธ.๙
เรียบเรียง
	 พระมหาอารีย์       พลาธิโก      ป.ธ.๗
	 พระมหาสมบุญ    อนนฺตชโย   ป.ธ.๘
จัดรูปเล่ม
	 พระมหาสมบุญ    อนนฺตชโย   ป.ธ.๘
	 พระมหาวันชนะ   ญาตชโย      ป.ธ.๕
	 พระมหาอภิชาติ    วชิรชโย       ป.ธ.๗
	 พระมหาเฉลิม       ฉนฺทชโย     ป.ธ.๔
ผู้ตรวจทาน
	 นายสุเทพ    นากุดนอก   ป.ธ.๔   อาจารย์สอนบาลีประโยค ๑-๒  ส�ำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
ออกแบบปก/ภาพวาด
	 พระมหาสมบุญ  อนนฺตชโย   และ กองพุทธศิลป์ วัดพระธรรมกาย
พิมพ์ครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม   ๒๕๕๖    จ�ำนวน      ๖๐๐  เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ ๒ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๖    จ�ำนวน  ๑,๕๐๐  เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์โอ เอส  พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ครั้งที่ ๓ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๗    จ�ำนวน  ๒,๐๐๐ เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์โอ เอส  พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ครั้งที่ ๔ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๘    จ�ำนวน  ๒,๐๐๐ เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง
ลิขสิทธิ์ : ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย  ต.คลองสาม  อ.คลองหลวง  จ.ปทุมธานี
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
2
ค�ำน�ำ
	 ด้วยตระหนักและเห็นความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดของการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุ
สามเณร ดังค�ำกล่าวยืนยันของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย)  
ซึ่งได้กล่าวไว้ในโอกาสที่ได้จัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม
๙ ประโยค เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ อันเป็นปีที่ ๑๓ ของการจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระ
ภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ว่า
“ผู้ที่สอบได้เปรียญธรรม ถือว่าเป็น วีรบุรุษกองทัพธรรม เป็นผู้น�ำความภาคภูมิใจ
มาสู่คณะสงฆ์ หลวงพ่อรู้สึกชื่นชมยินดีเป็นอย่างยิ่งและปรารถนาจะให้ก�ำลังใจแก่ผู้ที่สอบได้
และผู้ที่ก�ำลังจะสอบได้ตามมา ให้เห็นความส�ำคัญและรับรู้ว่า สิ่งที่ท่านทั้งหลายก�ำลังพากเพียร
ศึกษาอยู่นี้ มีความส�ำคัญมาก และยังมีผู้คนทั้งหลายรอคอยและปรารถนาจะเห็นความส�ำเร็จ
ของทุกท่าน ผู้จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการท�ำงานพระศาสนา เพื่อความเจริญยิ่งยืนนาน
ของพระพุทธศาสนาสืบต่อไปในอนาคต”
	 พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าส�ำนักเรียน มีความยินดี
เป็นอย่างยิ่งที่จะสนับสนุน และขอปวารณาที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมการศึกษา
พระปริยัติธรรม  ของพระภิกษุสามเณร  ตลอดไปตราบนานเท่านาน
	 และได้มีด�ำริให้จัดท�ำ  โครงการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุ
สามเณรทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้การส่งเสริม
สนับสนุนเป็นก�ำลังใจ อีกทั้งมุ่งหมายจะก่อให้เกิดการตื่นตัวด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม
ของพระภิกษุสามเณรทั่วประเทศ  รวมถึงเป็นสื่อกลางให้คณะสงฆ์ผู้บริหารการศึกษาทั่วสังฆมณฑล
ได้มาร่วมปรึกษา เพื่อการพัฒนาการศึกษาพระปริยัติธรรมให้ก้าวหน้า ไปในทิศทางเดียวกัน
โดยเริ่มต้นจากการถวายทุนการศึกษา การจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้
เปรียญธรรม ๙ ประโยค  การจัดพิมพ์ต�ำราคู่มือบาลีถวายแก่ส�ำนักเรียนที่สนใจ และอื่นๆ
ที่จะได้ริเริ่มจัดท�ำในโอกาสต่อไป
หนังสือธรรมบทสองภาษาบาลี-ไทย ภาค๑-๘  ส�ำหรับนักเรียนบาลีชั้นประโยค๑-๒
และ ป.ธ.๓ นี้  ทางคณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม ได้รวบรวมเรียบเรียงขึ้น โดยอาศัยความรู้
จากต�ำรา และบูรพาจารย์ทั้งหลาย  จัดพิมพ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม  
ของพระภิกษุสามเณร ผู้แรกเริ่มศึกษาภาษาบาลี และผู้สนใจทั่วไป เพื่ออ�ำนวยประโยชน์
เป็นวิทยาทาน แก่ผู้ศึกษาอย่างเต็มที่  ให้เรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
	 อนึ่งหากหนังสือเล่มนี้ยังมีการขาดตกบกพร่องประการใด หรือมีข้อเสนอแนะที่เป็น
ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจ้งให้ทางส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย
ทราบด้วย จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง เพื่อจะได้น�ำมาปรับปรุงแก้ไขให้บริบูรณ์ยิ่งขึ้น ในการ
จัดพิมพ์ครั้งต่อไป
ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย   จ.ปทุมธานี
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3
สารบัญธรรมบทภาค ๑
	
	 เรื่อง											 	
หน้าที่
	 ปณามคาถา	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑
๑. ยมกวรรค วรรณนา
	
	
	 ๑. 	 เรื่องพระจักขุปาลเถระ		 	 	 	 	 	 	 	 ๓
	 ๒. 	 เรื่องมัฏฐกุณฑลี	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๒๓
	 ๓. 	 เรื่องพระติสสเถระ 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๓๕
	 ๔.	 เรื่องความเกิดขึ้นของนางกาลียักษิณี	 	 	 	 	 	 	 ๔๒
	 ๕.	 เรื่องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี 	 	 	 	 	 	 	 	 ๔๙
	 ๖. 	 เรื่องจุลกาลและมหากาล	 	 	 	 	 	 	 	 ๖๑
	 ๗. 	 เรื่องพระเทวทัต 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๗๐
	 ๘. 	 เรื่องสัญชัยปริพาชก	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๗๕
	 ๙. 	 เรื่องพระนันทเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๐๕
	 ๑๐. 	 เรื่องนายจุนทสูกริก	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๑๖
	 ๑๑. 	 เรื่องธัมมิกอุบาสก 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๒๐
	 ๑๒. 	 เรื่องพระเทวทัต 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๒๔
	 ๑๓. 	 เรื่องนางสุมนาเทวี 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๔๑
	 ๑๔. 	 เรื่องภิกษุ ๒ สหาย 	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๔๔
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
4
““การศึกษานั้น สามารถเปลี่ยนชีวิตของผู้ศึกษา ให้สูงกว่าพื้นเดิม
คนที่มีการศึกษาดี จะได้อะไรก็ดีกว่าประณีตกว่าผู้อื่น คนมีวิชาเท่ากับ
ได้สมบัติจักรพรรดิ กินใช้ไม่หมด””
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1
ธมฺมปทฏฺฐกถา
ปณามคาถา
มหาโมหตโมนทฺเธ โลเก โลกนฺตทสฺสินา
เยน สทฺธมฺมปชฺโชโต ชลิโต ชลิติทฺธินา
ตสฺส ปาเท นมสฺสิตฺวา สมฺพุทฺธสฺส สิรีมโต
สทฺธมฺมญฺจสฺส ปูเชตฺวา		 กตฺวา สงฺฆสฺส จญฺชลึ,
“ตํ ตํ การณมาคมฺม		 ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท
สมฺปนฺนสทฺธมฺมปโท		 สตฺถา ธมฺมปทํ สุภํ
เทเสสิ กรุณาเวค สมุสฺสาหิตมานโส
ยํ เว เทวมนุสฺสานํ ปีติปาโมชฺชวฑฺฒนํ
ปรมฺปราภตา ตสฺส นิปุณา อตฺถวณฺณนา,
ยา ตามฺพปณฺณิทีปมฺหิ ทีปภาสาย สณฺ€ิตา
น สาธยติ เสสานํ สตฺตานํ หิตสมฺปทํ,
อปฺเปว นาม สาเธยฺย สพฺพโลกสฺส สา หิตํ
อิติ อาสึสมาเนน ทนฺเตน สมจารินา
กุมารกสฺสเปนาหํ เถเรน ถิรเจตสา
สทฺธมฺมฏฺ€ิติกาเมน สกฺกจฺจํ อภิยาจิโต,
ตํ ภาสํ อติวิตฺถารํ คตญฺจ วจนกฺกมํ
ปหายาโรปยิตฺวาน ตนฺตึ ภาสํ มโนรมํ,
“
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
2
คาถานํ พฺยญฺชนปทํ ยํ ตตฺถ น วิภาวิตํ
เกวลนฺตํ วิภาเวตฺวา เสสนฺตเมว อตฺถโต
ภาสนฺตเรน ภาสิสฺสํ อาวหนฺโต วิภาวินํ
มนโส ปีติปาโมชฺชํ อตฺถธมฺมูปนิสฺสิตนฺติ.
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3
๑.อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรค
อันบัณฑิตก�ำหนดแล้ว ด้วยเรื่องอันเป็นคู่
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว)
๑. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าจักขุบาล
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
(อ. อันถามว่า) ว่า อ. พระธรรมเทศนานี้ว่า
อ. ธรรม ท. มีใจเป็นสภาพถึงก่อน มีใจประเสริฐที่สุด
ส�ำเร็จด้วยใจ, หากว่า อ.บุคคล มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว
กล่าวอยู่ หรือ หรือว่า กระท�ำอยู่ ไซร้, อ.ทุกข์ ย่อมไปตาม
ซึ่งบุคคล นั้น เพราะทุจจริต มีอย่าง ๓ นั้น เพียงดัง
อ.ล้อหมุนไปตามอยู่ ซึ่งรอยเท้า แห่งโคตัวเนื่องด้วยก�ำลัง
ตัวน�ำไปอยู่ซึ่งแอก ดังนี้
(อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว ในที่ไหน ดังนี้ฯ
(อ. อันตอบ ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี้อันพระศาสดา ตรัสแล้ว)
ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี (ดังนี้) ฯ
(อ. อันถาม ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี้ อันพระศาสดา)
ทรงปรารภ ซึ่งใคร (ตรัสแล้ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี) ดังนี้ ฯ
(อ. อันตอบ ว่า อ.พระธรรมเทศนา นี้ อันพระศาสดา
ทรงปรารภ) ซึ่งพระเถระชื่อว่าจักขุบาล (ตรัสแล้ว ในเมืองชื่อว่า
สาวัตถี ดังนี้) ฯ
ได้ยินว่า (อ. เศรษฐี) ชื่อว่ามหาสุวรรณ เป็นผู้มีขุมทรัพย์
เป็นผู้มั่งคั่ง เป็นผู้มีทรัพย์มาก เป็นผู้มีโภคมาก เป็นผู้มีบุตรหามิได้
ได้มีแล้ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ
ในวันหนึ่ง อ.เศรษฐีนั้น ไปแล้ว สู่ท่าเป็นที่อาบ อาบแล้ว มาอยู่
เห็นแล้ว ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า ต้นหนึ่ง มีกิ่งอันถึงพร้อมแล้ว
ในระหว่างแห่งหนทาง, (คิดแล้ว) ว่า อ.ต้นไม้ นี้จักเป็นต้นไม้ อันเทวดา
ผู้มีศักดิ์ใหญ่ ถือเอารอบแล้ว จักเป็น ดังนี้(ยังบุคคล) ให้ช�ำระแล้ว
ซึ่งส่วนภายใต้ แห่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่านั้น (ยังบุคคล)
ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งการแวดล้อมด้วยก�ำแพง (ยังบุคคล) ให้เกลี่ยลงแล้ว
ซึ่งทราย (ยังบุคคล) ให้ยกขึ้นแล้ว ซึ่งธงชัยและธงแผ่นผ้า
กระท�ำให้พอแล้ว ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า กระท�ำแล้ว
ซึ่งความปรารถนา ว่า (อ. เรา) ได้แล้ว ซึ่งบุตร หรือ หรือว่า ซึ่งธิดา
จักกระท�ำ ซึ่งสักการะใหญ่ แก่ท่าน ท. ดังนี้หลีกไปแล้ว ฯ
ครั้งนั้น อ. สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว ในท้อง
ของภรรยา ของเศรษฐีนั้น ฯ อ. เศรษฐี นั้น ได้ให้แล้ว ซึ่งเครื่อง
บริหารซึ่งครรภ์ แก่ภรรยา นั้น ฯ อ. ภรรยานั้น คลอดแล้ว ซึ่งบุตร
โดยกาลเป็นที่ล่วงไปแห่งเดือนสิบ ฯ
อ. เศรษฐี ได้กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ. ปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ
ของบุตรนั้น เพราะความที่ (แห่งบุตรนั้น) เป็นผู้อันตน อาศัยแล้ว
ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า อันอันตนรักษาแล้ว ได้แล้ว ฯ
ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก (อ.เศรษฐีนั้น) ได้แล้ว ซึ่งบุตร อื่น ฯ
(อ.เศรษฐีนั้น) กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ.จุลลปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ
ของบุตรนั้น,
๑. ยมกวคฺควณฺณนา
๑. จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ. (๑)
มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา,
มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา,
ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทนฺติ.
อยํ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตาติ.
“สาวตฺถิยํ.”
“กํ อารพฺภาติ.
“จกฺขุปาลตฺเถรํ.
สาวตฺถิยํ กิร มหาสุวณฺโณ นาม กุฏุมฺพิโก
อโหสิ อฑฺโฒ มหทฺธโน มหาโภโค อปุตฺตโก.
โส เอกทิวสํ นหานติตฺถํ คนฺตฺวา นหาตฺวา
อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค สมฺปนฺนสาขํ เอกํ
วนปฺปตึ ทิสฺวา“อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต
ภวิสฺสตีติ ตสฺส เหฏฺฐาภาคํ โสธาเปตฺวา ปาการปริกฺเขปํ
การาเปตฺวา วาลุกํ โอกิราเปตฺวา ธชปตากํ อุสฺสาเปตฺวา
วนปฺปตึ อลงฺกริตฺวา “ปุตฺตํ วา ธีตรํ วา ลภิตฺวา
ตุมฺหากํ มหาสกฺการํ กริสฺสามีติ ปตฺถนํ กตฺวา
ปกฺกามิ.
อถสฺส ภริยาย กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺฐาสิ .
โส ตสฺสา คพฺภปริหารํ อทาสิ. สา ทสมาสจฺจเยน
ปุตฺตํ วิชายิ.
เสฏฺฐี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตึ นิสฺสาย
ลทฺธตฺตา ตสฺส “ปาโลติ นามํ อกาสิ.
อปรภาเค อญฺญํ ปุตฺตํ ลภิ. ตสฺส “จุลฺลปาโลติ
นามํ กตฺวา,
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
4
กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ.มหาปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ ของบุตรนอกนี้ฯ
(อ. มารดาและบิดา ท.) ผูกแล้ว ซึ่งบุตร ท. เหล่านั้น ผู้ถึงแล้ว
ซึ่งวัย ด้วยเครื่องผูกคือเรือน ฯ ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก อ.มารดา
และบิดา ท. ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งกาละ ฯ (อ.ญาติ ท.) แบ่งแล้ว
ซึ่งโภคะ ทั้งปวง (แก่บุตร ท.) สองนั่นเทียว ฯ
	
ในสมัยนั้น อ.พระศาสดา ผู้มีจักรคือธรรมอันประเสริฐ
อันให้เป็นไปทั่วแล้ว เสด็จไปแล้ว โดยล�ำดับ ย่อมประทับอยู่
ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ
สละ ซึ่งทรัพย์มีโกฏิห้าสิบสี่เป็นประมาณ แล้วยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว,
ทรงยังมหาชน ให้ตั้งเฉพาะอยู่ ในหนทางแห่งสวรรค์ด้วย ในหนทาง
แห่งธรรมเป็นเครื่องหลุดพ้นด้วย ฯ
จริงอยู่ อ.พระตถาคตเจ้า ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา
หนึ่งนั่นเทียว ในมหาวิหารชื่อว่านิโครธ อันอันพันแห่งตระกูล
แห่งพระญาติแปดสิบสองหน ท. คือ (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.)
๘๐ ข้างฝ่ายแห่งพระมารดา (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.)
๘๐ ข้างฝ่ ายแห่งพระบิดา ทรงยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว,
(ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา ท.) ยี่สิบหย่อนด้วยหนึ่ง
ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ
ยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว (ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา ท.)
หก ในมหาวิหารชื่อว่าบุพพาราม อันอันนางวิสาขา ยังนายช่าง
ให้กระท�ำแล้ว ด้วยการบริจาคซึ่งทรัพย์มีโกฏิยี่สิบเจ็ดเป็นประมาณ
ทรงอาศัย ซึ่งเมืองชื่อว่าสาวัตถี ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่
จ�ำพรรษา ท. ยี่สิบห้า เพราะทรงอาศัย ซึ่งความที่แห่งตระกูล ท.
สอง เป็นตระกูลมีคุณใหญ่ ด้วยประการฉะนี้ ฯ
แม้ อ.มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ แม้ อ.นางวิสาขา
ผู้มหาอุบาสิกา ย่อมไป สู่ที่เป็นที่บ�ำรุง ซึ่งพระตถาคตเจ้า สิ้นวาระ ท.
สอง แห่งวัน เนืองนิตย์ ฯ ก็ (อ. ชน ท. สอง เหล่านั้น) เมื่อไป
เป็นผู้มีมือเปล่าไปแล้วในก่อน (เป็นผู้ไม่เคยมีมือเปล่าไปแล้ว)
(ด้วยอันคิด) ว่า อ. ภิกษุหนุ่มและสามเณร ท. จักแลดู ซึ่งมือ ท.
ของเรา ท. ดังนี้(ย่อมเป็น) หามิได้: เมื่อไป ในกาลก่อนแต่กาลแห่งภัตร
ยังบุคคลให้ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ ท.) มีของอันบุคคลพึงเคี้ยวเป็นต้น
ย่อมไป, (เมื่อไป) ในกาลภายหลังแต่กาลแห่งภัตร (ยังบุคคล
ให้ถือเอาแล้ว) ซึ่งเภสัช ท. ห้า ด้วย ซึ่งน�้ำเป็นเครื่องดื่ม ท. แปด ด้วย
(ย่อมไป) ฯ
อนึ่ง อ.อาสนะ ท. เป็นวัตถุอันบุคคลปูลาดแล้ว เนืองนิตย์
เพื่อพันแห่งภิกษุ ท. สอง สอง ในที่เป็นที่อยู่ ท. ของชน ท. สอง
เหล่านั้น นั่นเทียว ย่อมเป็น ฯ
อ.ภิกษุ ใด ย่อมปรารถนา ในข้าวและน�้ำเป็นเครื่องดื่มและ
เภสัช ท. หนา ซึ่งวัตถุใด, อ.วัตถุนั้น ย่อมถึงพร้อม แก่ภิกษุนั้น
ตามความปรารถนานั่นเทียว ฯ
อ.ปัญหา เป็นสภาพอัน- ในชน ท. สอง เหล่านั้นหนา
-มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ไม่เคยทูลถามแล้ว กะพระศาสดา
ในวันหนึ่งนั่นเทียว (ย่อมเป็น) ฯ
อิตรสฺส “มหาปาโลติ นามํ กริ.
เต วยปฺปตฺเต ฆรพนฺธเนน พนฺธึสุ. อปรภาเค
มาตาปิตโร กาลมกํสุ. สพฺพํ โภคํ ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุํ.
ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก
อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา, อนาถปิณฺฑิกมหาเสฏฺฐินา
จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ วิสฺสชฺเชตฺวา การิเต
เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ; มหาชนํ สคฺคมคฺเค
จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺฐาปยมาโน.
ตถาคโต หิ “มาติปกฺขโต อสีติยา ปิติปกฺขโต
อสีติยาติ เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺเสหิ การิเต
นิโคฺรธมหาวิหาเร เอกเมว วสฺสาวาสํ วสิ,
อนาถปิณฺฑิเกน การิเต เชตวนมหาวิหาเร เอกูนวีสติ,
วิสาขาย สตฺตวีสติโกฏิธนปริจฺจาเคน การิเต
ปุพฺพาราเม ฉ วสฺสาวาเสติ ทฺวินฺนํ กุลานํ
คุณมหนฺตตํ ปฏิจฺจ สาวตฺถึ นิสฺสาย ปญฺฺจวีสติ
วสฺสาวาเส วสิ.
อนาถปิณฺฑิโกปิ วิสาขาปิ มหาอุปาสิกา นิพทฺธํ
ทิวสสฺส เทฺว วาเร ตถาคตสฺส อุปฏฺฐานํ คจฺฉนฺติ.
คจฺฉนฺตา จ “ทหรสามเณรา โน หตฺเถ โอโลเกสฺสนฺตีติ
ตุจฺฉหตฺถา น คตปุพฺพา: ปุเรภตฺตํ คจฺฉนฺตา
ขาทนียาทีนิ คาหาเปตฺวา คจฺฉนฺติ, ปจฺฉาภตฺตํ
ปญฺจ เภสชฺชานิ อฏฺฐ จ ปานานิ.
นิเวสเนสุ ปน เตสํ ทฺวินฺนํ ทฺวินฺนํ ภิกฺขุสหสฺสานํ
นิจฺจํ ปญฺญตฺตาเนวาสนานิ โหนฺติ.
อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ, ตสฺส ตํ
ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ,
เตสุ อนาถปิณฺฑิเกน เอกเมว ทิวสํ สตฺถารํ
ปญฺโห น ปุจฺฉิตปุพฺโพ.
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 5
ได้ยินว่า อ.มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะนั้น คิดแล้ว ว่า
อ.พระตถาคต เป็นพระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน เป็นกษัตริย์
ผู้ละเอียดอ่อน (เป็น) เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม แก่เรา (ด้วยทรงพระด�ำริ)
ว่า อ. คฤหบดี เป็นผู้มีอุปการะมาก แก่เรา (ย่อมเป็น) ดังนี้
พึงทรงล�ำบาก ดังนี้, ย่อมไม่ทูลถาม ซึ่งปัญหา เพราะความรัก
มีประมาณยิ่ง ในพระศาสดา ฯ
ส่วนว่า อ. พระศาสดา ครั้นเมื่อเศรษฐีนั้น เป็นผู้สักว่านั่งแล้ว
นั่นเทียว (มีอยู่) (ทรงด�ำริแล้ว) ว่า อ.เศรษฐี นี้ย่อมรักษา ซึ่งเรา ใน
ฐานะอันบุคคลไม่พึงรักษา, เพราะว่า อ.เรา ตัดแล้ว ซึ่งศีรษะ ของ
ตน อันเรา ทั้งกระท�ำให้พอแล้วทั้งตกแต่งแล้ว ควักขึ้นแล้ว
ซึ่งนัยน์ตา ท. ยังเนื้อแห่งหทัย ให้เพิกขึ้นแล้ว บริจาคแล้ว
ซึ่งบุตรและภรรยา ผู้เสมอด้วยลมปราณ ยังบารมี ท. เมื่อให้เต็ม
สิ้นอสงไขย ท. สี่ อันยิ่งด้วยแสนแห่งกัปป
์ (ยังบารมี ท.) ให้เต็มแล้ว
เพื่ออันแสดงซึ่งธรรม แก่ชน ท. เหล่าอื่นนั่นเทียว, อ. เศรษฐี นั่น
ย่อมรักษาซึ่งเรา ในฐานะอันบุคคลไม่พึงรักษา ดังนี้ ตรัสแล้ว
ซึ่งพระธรรมเทศนา กัณฑ์หนึ่งนั่นเทียว ฯ
ในกาลนั้น อ. โกฏิแห่งมนุษย์ ท. เจ็ด ย่อมอยู่ ในเมืองชื่อว่า
สาวัตถี ฯ (ในมนุษย์ ท.) เหล่านั้นหนา อ. มนุษย์ ท. มีโกฏิห้า
เป็นประมาณ ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา
เป็นอริยสาวก เกิดแล้ว, (อ.มนุษย์ ท.) มีโกฏิสองเป็นประมาณ
(ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา) เป็นปุถุชน
(เกิดแล้ว) ฯ
อ. กิจ ท. ๒ นั่นเทียวได้มีแล้ว (ในมนุษย์ ท.) เหล่านั้นหนา
(แก่มนุษย์ ท.) ผู้เป็นอริยสาวก, (อ. อริยสาวก ท.) ย่อมถวาย
ซึ่งทาน ในกาลก่อนแห่งภัตร, (อ. อริยสาวก ท.) ผู้มีวัตถุมีของหอม
และระเบียบเป็นต้นในมือ ยังบุคคลให้ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ)
มีผ้าและยาและน�้ำเป็นเครื่องดื่มเป็นต้น ย่อมไป เพื่อต้องการ
แก่อันฟังซึ่งธรรม ในกาลภายหลังแห่งภัตร ฯ
ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล เห็นแล้ว ซึ่งอริยสาวก ท.
ผู้มีวัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้นในมือ ผู้ไปอยู่ สู่วิหาร,
ถามแล้ว ว่า อ. มหาชน นี้ จะไป ในที่ไหน ดังนี้ ฟังแล้ว ว่า
(อ. มหาชนนี้ ย่อมไป ) เพื่ออันฟังซึ่งธรรม ดังนี้, (คิดแล้ว) ว่า
แม้ อ. เรา จักไป ดังนี้ ไปแล้ว ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา
นั่งแล้ว ณ ที่สุดรอบแห่งบริษัท ฯ
ก็ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม, ทรงตรวจดูแล้ว
ซึ่งธรรมอันเป็นอุปนิสัย (แห่งคุณ ท.) มีสรณะและศีลและบรรพชา
เป็นต้น ย่อมทรงแสดง ซึ่งธรรม ด้วยอ�ำนาจแห่งอัธยาศัย;
เพราะเหตุนั้น ในวันนั้น อ. พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ว
ซึ่งธรรมอันเป็นอุปนิสัย แห่งกุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น เมื่อทรงแสดง
ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยล�ำดับ ฯ
(อ. อันถามว่า อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่อง
กล่าวโดยล�ำดับ) อย่างไรนี้(ดังนี้) ? (อ.อันแก้ว่า อ.พระศาสดา)
ทรงประกาศแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งทาน ซึ่งวาจาเป็น
เครื่องกล่าวซึ่งศีล ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งสวรรค์
โส กิร “ ตถาคโต พุทฺธสุขุมาโล ขตฺติยสุขุมาโล
“ พหุปกาโร เม คหปตีติ มยฺหํ ธมฺมํ เทเสนฺโต
กิลเมยฺยาติ, สตฺถริ อธิมตฺตสิเนเหน ปญฺหํ น ปุจฺฉติ.
สตฺถา ปน ตสฺมึ นิสินฺนมตฺเตเยว “ อยํ เสฏฺฐี
มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขติ , อหํ หิ กปฺปสต-
สหสฺสาธิกานิ จตฺตาริ อสงฺเขยฺยานิ อลงฺกตปฺปฏิยตฺตํ
อตฺตโน สีสํ ฉินฺทิตฺวา อกฺขีนิ อุปฺปาเฏตฺวา หทยมํสํ
อุพฺพตฺเตตฺวา ปาณสมํ ปุตฺตทารํ ปริจฺจชิตฺวา
ปารมิโย ปูเรนฺโต ปเรสํ ธมฺมเทสนตฺถเมว ปูเรสึ ,
เอส มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขตีติ เอกํ ธมฺมเทสนํ
กเถสิเยว.
ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ.
เตสุ สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา ปญฺจโกฏิมตฺตา มนุสฺสา
อริยสาวกา ชาตา, เทฺวโกฏิมตฺตา ปุถุชฺชนา.
เตสุ อริยสาวกานํ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเหสุํ:
ปุเรภตฺตํ ทานํ เทนฺติ, ปจฺฉาภตฺตํ คนฺธมาลาทิหตฺถา
วตฺถเภสชฺชปานกาทึ คาหาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนตฺถาย
คจฺฉนฺติ.
อเถกทิวสํ มหาปาโล อริยสาวเก คนฺธมาลาทิหตฺเถ
วิหารํ คจฺฉนฺเต ทิสฺวา, “อยํ มหาชโน กุหึ คจฺฉตีติ
ปุจฺฉิตฺวา, “ ธมฺมสฺสวนายาติ สุตฺวา , “ อหํปิ
คมิสฺสามีติ, คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา ปริสปริยนฺเต
นิสีทิ.
พุทฺธา จ นาม ธมฺมํ เทเสนฺตา , สรณสีล-
ปพฺพชฺชาทีนํ อุปนิสฺสยํ โอโลเกตฺวา อชฺฌาสยวเสน
ธมฺมํ เทเสนฺติ;
ตสฺมา ตํทิวสํ สตฺถา ตสฺส อุปนิสฺสยํ
โอโลเกตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อนุปุพฺพีกถํ กเถสิ.
เสยฺยถีทํ? ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
6
ซึ่งโทษ ซึ่งการกระทําต�่ำ ซึ่งความเศร้าหมองพร้อมแห่งกาม ท.
ซึ่งอานิสงส์ ในการออกบวช (ดังนี้) ฯ
อ.กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล ฟังแล้ว ซึ่งพระดํารัสนั้น คิดแล้ว ว่า
อ.บุตรและธิดา ท. หรือ หรือว่า อ.โภคะ ท. ย่อมไม่ไปตาม (ซึ่งบุคคล)
ผู้ไปอยู่ สู่โลกอื่น, แม้ อ. สรีระ ย่อมไม่ไป กับ ด้วยตน, อ. ประโยชน์
อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน , อ. เรา จักบวช ดังนี้ ฯ
อ. กุฏุมพีชื่อว่ามหาบาล นั้น เข้าไปเฝ
้ าแล้ว ซึ่งพระศาสดา
ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา ทูลขอแล้ว ซึ่งการบวช ฯ
ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว กะกุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น ว่า
อ. ญาติ ผู้ควรแล้ว แก่ความเป็นผู้อันท่านพึงอําลา บางคน ของท่าน
ย่อมไม่มี หรือ ? ดังนี้ฯ (อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล กราบทูลแล้ว ว่า)
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. น้องชายผู้น้อยที่สุด ของข้าพระองค์ มีอยู่
ดังนี้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน จงอําลา
ซึ่งน้องชายผู้น้อยที่สุดนั้น ดังนี้ ฯ
อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น รับพร้อมแล้ว ว่า อ. ดีละ ดังนี้
ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา ไปแล้ว สู่เรือน ยังบุคคล ให้ร้องเรียกแล้ว
ซึ่งน้องชายผู้น้อยที่สุด (กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. ทรัพย์ไร ๆ
อันเป็นไปกับด้วยวิญญาณและไม่มีวิญญาณใด มีอยู่ ในตระกูล นี้,
อ.ทรัพย์นั้นทั้งปวง เป็นภาระของท่าน(จงเป็น), อ.ท่าน จงครอบครอง
ซึ่งทรัพย์นั้นดังนี้ฯ (อ. น้องชายผู้น้อยที่สุดนั้นถามแล้ว)ว่าข้าแต่นาย
ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ? ดังนี้ ฯ (อ. กุฏุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น กล่าวแล้ว)
ว่า อ. เรา จักบวช ในสํานัก ของพระศาสดา ดังนี้ ฯ
(อ. น้องชายผู้น้อยที่สุดนั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่พี่ อ. ท่าน
กล่าวแล้ว ซึ่งคําอะไร, อ. ท่าน ครั้นเมื่อมารดา ตายแล้ว เป็นผู้ อันเรา
(ได้แล้ว) ราวกะ อ. มารดา (ย่อมเป็น), (อ. ท่าน) ครั้นเมื่อบิดา ตายแล้ว
เป็นผู้อันเรา (ได้แล้ว) ราวกะ อ. บิดา (ย่อมเป็น), อ. สมบัติอันบุคคล
พึงเสวยใหญ่ (มีอยู่) ในเรือน ของท่าน ท., (อันท่าน ท.) ผู้อยู่ครอบครองอยู่
ซึ่งเรือนนั่นเทียว อาจ เพื่ออันกระทํา ซึ่งบุญ ท., อ. ท่าน ท.
อย่าได้กระทําแล้ว อย่างนี้ ดังนี้ ฯ
(อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. พระธรรมเทศนา
ของพระศาสดา อันเรา ฟังแล้ว, ก็ อ. ธรรมอันงามในเบื้องต้นและ
ท่ามกลางและที่สุดลงรอบ อันพระศาสดา ทรงยกขึ้นแล้ว สู่ลักษณะ ๓
ทั้งละเอียดทั้งอ่อน ทรงแสดงแล้ว, อ. ธรรมอันงามในเบื้องต้นและ
ท่ามกลางและที่สุดลงรอบนั้น (อันเรา) ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็มได้
ในท่ามกลางแห่งเรือน, แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวช ดังนี้ ฯ
(อ.น้องชายผู้น้อยที่สุด กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่พี่ เออก็ (อ.ท่าน ท.)
เป็นคนหนุ่ม (ย่อมเป็น) ก่อน, อ.ท่าน ท. จักบวช ในกาลแห่งตน
เป็นคนแก่ ดังนี้ ฯ
(อ.กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลกล่าวแล้ว)ว่า แน่ะพ่อ ก็ แม้ อ.มือและเท้าท.
ของตน แห่งคนแก่ เป็นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็น, ย่อมไม่เป็นไป
ในอํานาจ, ก็ อ. องค์อะไรเล่า อ. ญาติ ท. (จักเป็นไป ในอํานาจ),
อ. เรา นั้น จะไม่กระทํา ซึ่งคํา ของท่าน, อ. เรา ยังความปฏิบัติแห่งสมณะ
จักให้เต็ม,
กามานํ อาทีนวํ โอการํ สงฺกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ
ปกาเสสิ.
ตํ สุตฺวา มหาปาโล กุฏุมฺพิโก จินฺเตสิ “ปรโลกํ
คจฺฉนฺตํ ปุตฺตธีตโร วา โภคา วา นานุคจฺฉนฺติ, สรีรํปิ
อตฺตนา สทฺธึ น คจฺฉติ ; กึ เม ฆราวาเสน ,
ปพฺพชิสฺสามีติ.
โส เทสนาปริโยสาเน สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา
ปพฺพชฺชํ ยาจิ.
อถ นํ สตฺถา “นตฺถิ เต โกจิอาปุจฺฉิตพฺพยุตฺตโก
ญาตีติ อาห. “กนิฏฺฐภาตา เม อตฺถิ ภนฺเตติ.
“เตนหิ ตํ อาปุจฺฉาหีติ.
โส “สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา
เคหํ คนฺตฺวา กนิฏฺฐํ ปกฺโกสาเปตฺวา “ตาต ยํ
อิมสฺมึ กุเล สวิญฺญาณกาวิญฺญาณกํ ธนํ กิญฺจิ
อตฺถิ, สพฺพนฺตํ ตว ภาโร, ปฏิปชฺชาหิ นนฺติ.
“ตุมฺเห ปน สามีติ. “อหํ สตฺถุ สนฺติเก
ปพฺพชิสฺสามีติ .
“ กึ กเถสิ ภาติก ; ตฺวํ เม มาตริ มตาย มาตา
วิย, ปิตริ มเต ปิตา วิย ลทฺโธ ,เคเห โว มหาวิภโว,
สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตเหว ปุญฺญานิ กาตุํ ;
มา เอวมกตฺถาติ.
“ตาตมยาสตฺถุ ธมฺมเทสนา สุตา, สตฺถารา หิ
สณฺหสุขุมํ ติลกฺขณํ อาโรเปตฺวา อาทิมชฺฌ-
ปริโยสานกลฺยาณธมฺโม เทสิโต. น สกฺกา โส
อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ; ปพฺพชิสฺสามิ ตาตาติ.
“ ภาติก ตรุณาปิ จ ตาว , มหลฺลกกาเล
ปพฺพชิสฺสถาติ.
“ตาต มหลฺลกสฺส หิ อตฺตโน หตฺถปาทาปิ
อนสฺสวา โหนฺติ, น วเส วตฺตนฺติ, กิมงฺคํ ปน
ญาตกา , สฺวาหํ ตว วจนํ น กโรมิ, สมณปฏิปตฺตึ
ปูเรสฺสามิ,
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 7
ชราชชฺชริตา โหนฺติ หตฺถปาทา อนสฺสวา
ยสฺส, โส วิหตตฺถาโม กถํ ธมฺมํ จริสฺสติ,
ปพฺพชิสฺสาเมวาหํ ตาตาติ.
ตสฺส วิรวนฺตสฺเสว,สตฺถุ สนฺติกํคนฺตฺวา ปพฺพชฺชํ
ยาจิตฺวา, ลทฺธปพฺพชฺชูปสมฺปโท อาจริยุปชฺฌายานํ
สนฺติเก ปญฺจ วสฺสานิ วสิตฺวา, วุตฺถวสฺโส
ปวาเรตฺวา, สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา ปุจฺฉิ
“ภนฺเต อิมสฺมึ สาสเน กติ ธุรานีติ.
“คนฺถธุรํ วิปสฺสนาธุรนฺติ เทฺวเยว ธุรานิ ภิกฺขูติ.
“กตมํ ปนภนฺเต คนฺถธุรํ, กตมํ วิปสฺสนาธุรนฺติ.
“อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา
นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา
ตสฺส ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ คนฺถธุรํ นาม .
สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส
อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺ€เปตฺวา สาตจฺจกิริยาวเสน
วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ
วิปสฺสนาธุรํ นามาติ.
“ภนฺเต อหํ มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต คนฺถธุรํ
ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ, วิปสฺสนาธุรํ ปน ปูเรสฺสามิ;
กมฺมฏฺ€านํ เม กเถถาติ.
อถสฺส สตฺถา ยาว อรหตฺตา กมฺมฏฺฐานํ
กเถสิ.
โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา, อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺขู
ปริเยสนฺโต สฏฺ€ี ภิกฺขู ลภิตฺวา, เตหิ สทฺธึ
นิกฺขมิตฺวา, วีสโยชนสตมคฺคํ คนฺตฺวา, เอกํ มหนฺตํ
ปจฺจนฺตคามํ ปตฺวา, ตตฺถ สปริวาโร ปิณฺฑาย
ปาวิสิ.
มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน ภิกฺขู ทิสฺวา ปสนฺนจิตฺตา,
อาสนานิ ปญฺญาเปตฺวา นิสีทาเปตฺวา, ปณีเตนาหาเรน
ปริวิสิตฺวา, “ภนฺเต กุหึ อยฺยา คจฺฉนฺตีติ
ปุจฺฉิตฺวา, “ยถาผาสุกฏฺ€านํ อุปาสกาติ วุตฺเต,
อ.มือและเท้า ท. ของบุคคคลใด เป็นอวัยวะคร�่ำคร่าแล้วเพราะชรา
เป็นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็น, อ. บุคคลนั้น ผู้มีเรี่ยวแรงอันชรา
ก�ำจัดแล้ว จักประพฤติ ซึ่งธรรม อย่างไร,
แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวชนั่นเทียว ดังนี้ฯ
เมื่อน้องชายผู้น้อยที่สุด นั้น ร้องไห้อยู่นั่นเทียว, (อ. กุฎุมพี
ชื่อว่ามหาบาลนั้น) ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระศาสดา ทูลขอแล้ว
ซึ่งบรรพชา, ผู้มีบรรพชาและอุปสมบทอันได้แล้ว อยู่แล้ว สิ้นปี ท.
๕ ในส�ำนัก ของพระอาจารย์และพระอุปัชฌาย์ ท., ผู้มีกาลฝน
อันอยู่แล้ว ปวารณาแล้ว, เข้าไปเฝ
้ าแล้ว ซึ่งพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว
ทูลถามแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ธุระ ท. ในศาสนานี้
เท่าไร ดังนี้ ฯ
(อ.พระศาสดาตรัสแล้ว)ว่าดูก่อนภิกษุอ.ธุระท.สองนั่นเทียว
คือ อ. คันถธุระ อ. วิปัสสนาธุระ ดังนี้ฯ
(อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาล ทูลถามแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ก็ อ. คันถธุระ เป็นไฉน ?, อ. วิปัสสนาธุระ เป็นไฉน ? ดังนี้ ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า อ.ธุระนี้คือ อ. การเรียนเอาแล้ว
ซึ่งนิกาย หนึ่ง หรือ หรือว่า ซึ่งนิกาย ท. สอง ก็หรือว่า ซึ่งพระพุทธพจน์
คือ ประชุมแห่งปิฎกสาม ทั้งสิ้น ทรงจ�ำ กล่าว บอก ซึ่งพระพุทธพจน์
นั้น ตามสมควรแก่ปัญญาของตน ชื่อว่า คันถธุระ ฯ
ส่วนว่า อ. ธุระนี้ คือ อ. การ เริ่มตั้งแล้ว ซึ่งความสิ้นไปและ
ความเสื่อมไป ในอัตภาพ ยังวิปัสสนา ให้เจริญแล้ว ด้วยสามารถ
แห่งการกระท�ำโดยความเป็นแห่งความติดต่อ ถือเอาซึ่งความเป็น
แห่งพระอรหันต์ (แห่งภิกษุ) ผู้ยินดียิ่งแล้วในเสนาสนะอันสงัดแล้ว
ผู้มีความประพฤติเบาพร้อม ชื่อว่าวิปัสสนาธุระ ดังนี้ ฯ
(อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาล กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อ. ข้าพระองค์ บวชแล้ว ในกาลแห่งตนเป็นคนแก่ จักไม่อาจ
เพื่ออันยังคันถธุระให้เต็ม, แต่ว่า อ. ข้าพระองค์ ยังวิปัสสนาธุระ
จักให้เต็ม ; อ. พระองค์ ท. ขอจงตรัสบอก ซึ่งกัมมัฏฐาน
แก่ข้าพระองค์ ดังนี้ ฯ
ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ซึ่งกัมมัฏฐาน เพียงใด
แต่ความเป็นแห่งพระอรหันต์ แก่ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนั้น ฯ
อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา,
แสวงหาอยู่ซึ่งภิกษุ ท.ผู้ไปโดยปกติกับด้วยตน,ได้แล้วซึ่งภิกษุ ท.
หกสิบ, ออกไปแล้ว กับ ด้วยภิกษุ ท. เหล่านั้น, ไปแล้ว สิ้นหนทาง
มีร้อยแห่งโยชน์ยี่สิบเป็นประมาณ, ถึงแล้ว ซึ่งบ้านอันเป็นที่สุดเฉพาะ
หมู่ใหญ่ ต�ำบลหนึ่ง, ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร ได้เข้าไปแล้ว
ในบ้านนั้น เพื่อก้อนข้าว ฯ
	
อ. มนุษย์ ท. เห็นแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวัตร
เป็นผู้มีจิตเลื่อมใสแล้ว (เป็น), ปูลาดแล้ว ซึ่งอาสนะ ท. (ยังภิกษุ ท.)
ให้นั่งแล้ว อังคาสแล้ว ด้วยอาหารอันประณีต ถามแล้ว ว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.พระผู้เป็นเจ้า ท. จะไป ในที่ไหน ดังนี้
(ครั้นเมื่อค�ำ) ว่า ดูก่อนอุบาสกและอุบาสิกา ท. (อ. เรา ท. จะไป)
สู่ที่อันมีความส�ำราญอย่างไร ดังนี้ (อันภิกษุ ท. เหล่านั้น)
กล่าวแล้ว,
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
8
ปณฺฑิตมนุสฺสา “วสฺสาวาสํ เสนาสนํ ปริเยสนฺติ
ภทนฺตาติ ญตฺวา “ภนฺเต สเจ อยฺยา อิมํ เตมาสํ อิธ
วเสยฺยุํ;มยํสรเณสุปติฏฺ€าย, สีลานิ คณฺเหยฺยามาติ
อาหํสุ.
เตปิ “มยํ อิมานิ กุลานิ นิสฺสาย, ภวนิสฺสรณํ
กริสฺสามาติ อธิวาเสสุํ. มนุสฺสา เตสํ ปฏิญฺญํ
คเหตฺวา วิหารํ ปฏิชคฺคิตฺวา รตฺติฏฺ€านทิวาฏฺ€านานิ
สมฺปาเทตฺวา อทํสุ. เต นิพทฺธํ ตเมว คามํ
ปิณฺฑาย ปวิสนฺติ.
อถ เน เอโก เวชฺโช อุปสงฺกมิตฺวา, “ภนฺเต
พหุนฺนํ วสนฏฺฐาเน อผาสุกํปิ นาม โหติ, ตสฺมึ
อุปฺปนฺเน, มยฺหํ กเถยฺยาถ; เภสชฺชํ กริสฺสามีติ
ปวาเรสิ.
เถโร วสฺสูปนายิกาทิวเส เต ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา
ปุจฺฉิ “ อาวุโส อิมํ เตมาสํ กตีหิ อิริยาปเถหิ
วีตินาเมสฺสถาติ.
“จตูหิ ภนฺเตติ.
“ กึ ปเนตํ อาวุโส ปฏิรูปํ , นนุ อปฺปมตฺเตหิ
ภวิตพฺพํ? มยํ หิ ธรมานสฺส พุทฺธสฺส สนฺติกา
กมฺมฏฺ€านํ คเหตฺวา อาคตา,
พุทฺธา จ นาม น สกฺกา สเ€น อาราเธตุํ,
กลฺยาณชฺฌาสเยน เหเต อาราเธตพฺพา, ปมตฺตสฺส
จ นาม จตฺตาโร อปายา สกเคหสทิสา, อปฺปมตฺตา
โหถาวุโสติ.
“ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ.
“อหํ ตีหิ อิริยาปเถหิ วีตินาเมสฺสามิ, ปิฏฺฐึ
น ปสาเรสฺสามิ อาวุโสติ.
“สาธุ ภนฺเต, อปฺปมตฺตา โหถาติ.
เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, ปฐมมาเส
อติกฺกนฺเต , อกฺขิโรโค อุปฺปชฺชิ. ฉิทฺทฆฏโต
อุทกธารา วิย อกฺขีหิ ธารา ปคฺฆรนฺติ. โส สพฺพรตฺตึ
สมณธมฺมํ กตฺวา, อรุณุคฺคมเน คพฺภํ ปวิสิตฺวา
นิสีทิ.
อ. มนุษย์ผู้เป็นบัณฑิต ท. ทราบแล้ว ว่า อ. ท่านผู้เจริญ ท.
แสวงหาอยู่ ซึ่งเสนาสนะ อันเป็นที่อยู่จ�ำซึ่งพรรษา ดังนี้ กล่าวแล้ว
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าว่า อ. พระผู้เป็นเจ้า ท. พึงอยู่ ในที่นี้
ตลอดหมวดแห่งเดือนสาม นี้ไซร้ ; อ.ข้าพเจ้า ท. ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว
ในสรณะ ท. , พึงถือเอา ซึ่งศีล ท. ดังนี้ฯ
อ. ภิกษุ ท. แม้เหล่านั้น (ยังค�ำนิมนต์) ให้อยู่ทับแล้ว (ด้วยอันคิด)
ว่า อ. เรา ท. อาศัยแล้ว ซึ่งตระกูล ท. เหล่านี้, จักกระท�ำ
ซึ่งการออกไปจากภพ ดังนี้ ฯ อ. มนุษย์ ท. รับแล้ว ซึ่งปฏิญญา
ของภิกษุ ท. เหล่านั้น จัดแจงแล้ว ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ยังที่เป็นที่พัก
ในกลางคืนและที่เป็นที่พักในกลางวัน ท. ให้ถึงพร้อมแล้ว
ได้ถวาย แล้ว ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น ย่อมเข้าไป สู่บ้าน นั้นนั่นเทียว
เพื่อบิณฑะ เนืองนิตย์ ฯ
ครั้งนั้น อ.หมอ คนหนึ่ง เข้าไปหาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น
ปวารณาแล้ว (ด้วยค�ำ) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ชื่อแม้ อ.ความทุกข์
มิใช่ความส�ำราญ ย่อมมี ในที่เป็นที่อยู่ แห่งพระผู้เป็นเจ้า ท. มาก
ครั้นเมื่อความทุกข์มิใช่ความส�ำราญนั้น เกิดขึ้นแล้ว อ.ท่าน ท.
พึงบอกแก่ข้าพเจ้า อ.ข้าพเจ้า จักกระท�ำ ซึ่งยา ดังนี้ฯ
อ.พระเถระ เรียกมาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ถามแล้ว ว่า
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.ท่าน ท. จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ
ด้วยอิริยาบถ ท. เท่าไร ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี้ ดังนี้
ในวันคือดิถีเป็นที่น้อมเข้าไปใกล้แห่งกาลฝน ฯ
(อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
อ. กระผม ท. จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สี่
ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี้ ดังนี้ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. ก็
อ.อันยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สี่ ตลอดหมวด
แห่งเดือนสามนี้ แห่งท่าน ท. นั่น เป็นกรรมอันสมควร ย่อมเป็น
หรือ อันเรา ท. พึงเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว พึงเป็น มิใช่หรือ, เพราะว่า
อ.เรา ท. เรียนเอาแล้ว ซึ่งพระกรรมฐาน จากส�ำนัก ของพระพุทธเจ้า
ผู้ยังทรงพระชนม์อยู่ มาแล้ว,
จริงอยู่ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. อันบุคคลผู้โอ้อวด ไม่อาจ
เพื่ออันทรงให้ยินดียิ่ง, ด้วยว่า อ. พระพุทธเจ้า ท. เหล่านั่น อันบุคคล
ผู้มีอัธยาศัยอันงาม พึงให้ทรงยินดียิ่ง, จริงอยู่ อ. อบาย ท. สี่
เป็นเช่นกับด้วยเรือนของตน (ย่อมเป็น) ชื่อแห่งบุคคลผู้ประมาทแล้ว,
ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ท่าน ท. เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว จงเป็น ดังนี้ฯ
(อ. ภิกษุ ท. ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ?
ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท.
อ.เรา จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สาม,
อ. เรา จักไม่เหยียด ซึ่งหลัง ดังนี้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว)
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ดีละ, อ.ท่าน ท. จงเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว
(จงเป็น) ดังนี้ ฯ
	 เมื่อพระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สู่ความหลับ, ครั้นเมื่อเดือนที่หนึ่ง
ก้าวล่วงแล้ว, อ. โรคในนัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว ฯ อ. สายน�้ำ ท.
ย่อมไหลออกจากนัยน์ตาท.ราวกะอ.สายแห่งน�้ำท.(ไหลออกอยู่)
จากหม้ออันทะลุแล้ว ฯ อ. พระเถระนั้น กระท�ำแล้ว ซึ่งสมณธรรม
ตลอดราตรีทั้งปวง, เข้าไปแล้ว สู่ห้อง ในกาลเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ
นั่งแล้ว ฯ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 9
ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย เถรสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา
“ภิกฺขาจารเวลา ภนฺเตติ อาหํสุ.
“ เตนหาวุโส คณฺหถ ปตฺตจีวรนฺติ อตฺตโน
ปตฺตจีวรํ คาหาเปตฺวา นิกฺขมิ.
ภิกฺขู ตสฺส อกฺขี ปคฺฆรนฺเต ทิสฺวา “กิเมตํ
ภนฺเตติ ปุจฺฉึสุ.
“อกฺขี เม อาวุโส วาตา วิชฺฌนฺตีติ.
“นนุ ภนฺเต เวชฺเชนมฺห ปวาริตา, ตสฺส
กเถยฺยามาติ.
“สาธาวุโสติ.
เต เวชฺชสฺส กถยึสุ.
โส เตลํ ปจิตฺวา เปเสสิ.
เถโร นาสาย เตลํ อาสิญฺจนฺโต นิสินฺนโกว
อาสิญฺจิตฺวา อนฺโตคามํ ปาวิสิ.
เวชฺโช ทิสฺวา อาห “ภนฺเต อยฺยสฺส กิร อกฺขี
วาโต วิชฺฌตีติ.
“อาม อุปาสกาติ.
“ภนฺเต มยา เตลํ ปจิตฺวา เปสิตํ, นาสาย
โว อาสิตฺตนฺติ.
“อาม อุปาสกาติ.
“อิทานิ กีทิสนฺติ.
“รุชเตว อุปาสกาติ.
เวชฺโช “มยา เอกวาเรเนว วูปสมนตฺถํ เตลํ ปหิตํ,
กินฺนุ โข โรโค น วูปสนฺโตติ จินฺเตตฺวา “ภนฺเต
นิสีทิตฺวา โว อาสิตฺตํ, นิปชฺชิตฺวาติ ปุจฺฉิ.
เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปุนํ ปุจฺฉิยมาโนปิ
น กเถสิ. โส “วิหารํ คนฺตฺวา วสนฏฺ€านํ
โอโลเกสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “เตนหิ ภนฺเต คจฺฉถาติ
เถรํ วิสฺสชฺเชตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา เถรสฺส
วสนฏฺ€านํ โอโลเกนฺโต จงฺกมนนิสีทนฏฺ€านเมว ทิสฺวา
สยนฏฺ€านํ อทิสฺวา “ ภนฺเต นิสินฺเนหิ โว
อาสิตฺตํ, นิปฺปนฺเนหีติ ปุจฺฉิ.
เถโร ตุณฺหี อโหสิ.
“ มา ภนฺเต เอวมกตฺถ; สมณธมฺโม นาม ,
สรีเร ยาเปนฺเต , สกฺกา กาตุํ ; นิปชฺชิตฺวา
อาสิญฺจถาติ ปุนปฺปุนํ ยาจิ.
“คจฺฉาวุโส, มนฺเตตฺวา ชานิสฺสามีติ.
อ. ภิกษุ ท. ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระเถระ ในเวลาเป็นที่เที่ยวไป
เพื่อภิกษา กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่าน ผู้เจริญ ( อ. เวลานี้)
เป็นเวลาเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุท. ถ้าอย่างนั้น
อ.ท่านท.จงถือเอาซึ่งบาตรและจีวรดังนี้ (ยังภิกษุท.)ให้ถือเอาแล้ว
ซึ่งบาตรและจีวร ของตน ออกไปแล้ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระเถระนั้น
อันหลั่งออกอยู่ถามแล้วว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญอ.เหตุนั่นอะไรดังนี้ฯ
(อ. พระเถระ) (กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ลม ท.
ย่อมเสียดแทง ซึ่งนัยน์ตา ท. ของเรา ดังนี้ฯ
(อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. เรา ท.)
เป็นผู้อันหมอปวารณาแล้ว ย่อมเป็น มิใช่หรือ, อ. เรา ท. พึงบอก
แก่หมอนั้น ดังนี้ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ
ท. อ. ดีละ ดังนี้ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น บอกแล้ว แก่หมอ ฯ
อ. หมอนั้น หุงแล้ว ซึ่งน�้ำมัน ส่งไปแล้ว ฯ
อ. พระเถระ เมื่อหยอด ซึ่งน�้ำมัน ผู้นั่งแล้วเทียว หยอดแล้ว
โดยจมูก ได้เข้าไปแล้ว สู่ภายในแห่งบ้าน ฯ
อ. หมอ เห็นแล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า
อ. ลม ย่อมเสียดแทง ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระผู้เป็นเจ้า หรือ ดังนี้ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ. อย่างนั้น) ดังนี้ฯ
(อ.หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. น�้ำมัน อันกระผม
หุงแล้ว ส่งไปแล้ว, (อ.น�้ำมัน) อันท่าน ท. หยอดแล้วโดยจมูก หรือ
ดังนี้ ฯ (อ.พระเถระกล่าวแล้ว)ว่า ดูก่อนอุบาสกเออ (อ.อย่างนั้น)
ดังนี้ฯ
(อ. หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ในกาลนี้(อกฺขิยุคํ อ. คู่แห่งนัยน์ตา)
เป็นเช่นไร (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า
ดูก่อนอุบาสก (อ. ลม) เสียดแทงอยู่นั่นเทียว ดังนี้ ฯ
อ. หมอ คิดแล้ว ว่า อ. น�้ำมัน อันเรา ส่งไปแล้ว เพื่ออันยังโรค
ให้เข้าไปสงบวิเศษ โดยวาระหนึ่งนั่นเทียว , อ. โรค ไม่เข้าไปสงบ
วิเศษแล้ว เพราะเหตุอะไรหนอแล ดังนี้ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่าน
ผู้เจริญ (อ. น�้ำมัน) อันท่าน ท. นั่งแล้ว หยอดแล้ว หรือ, ( หรือว่า
อ. น�้ำมัน อันท่าน ท.) นอนแล้ว (หยอดแล้ว) ดังนี้ฯ
อ. พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว; แม้ผู้อันหมอถามอยู่ บ่อย ๆ
ไม่บอกแล้ว ฯ อ. หมอนั้น คิดแล้ว ว่า อ. เรา ไปแล้ว สู่วิหาร
จักตรวจดู ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ดังนี้ (กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
ถ้าอย่างนั้น อ. ท่าน ท. จงไป ดังนี้ ผละแล้ว ซึ่งพระเถระ ไปแล้ว
สู่วิหาร ตรวจดูอยู่ ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ของพระเถระ เห็นแล้ว ซึ่งที่เป็นที่จงกรม
และที่เป็นที่นั่งนั่นเที่ยว ไม่เห็นแล้วซึ่งที่เป็นที่นอน ถามแล้ว ว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. น�้ำมัน) อันท่าน ท. ผู้นั่งแล้ว หยอดแล้วหรือ,
(หรือว่า อ. น�้ำมัน อันท่าน ท.) ผู้นอนแล้ว (หยอดแล้ว) ดังนี้ ฯ
อ. พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว ฯ
(อ.หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท.
อย่าได้กระท�ำแล้ว อย่างนี้ : ชื่อ อ. สมณธรรม, ครั้นเมื่อสรีระ
เป็นไปอยู่, (อันท่าน ท.) อาจ เพื่ออันกระท�ำ ; อ. ท่าน ท.
ขอจงนอนหยอด ดังนี้ อ้อนวอนแล้ว บ่อย ๆ ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. ท่าน จงไป,
อ. เรา ปรึกษาแล้ว จักรู้ ดังนี้ฯ
ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
10
เถรสฺส จ ตตฺถ เนว ญาตี น สาโลหิตา อตฺถิ,
เกน สทฺธึ มนฺเตยฺย? กรชกาเยน ปน สทฺธึ มนฺเตนฺโต
“ วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต, กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ
อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? อนมตคฺคสฺมึ หิ สํสารวฏฺเฏ
ตว อกฺขิกาณสฺส คณนา นตฺถิ, อเนกานิ ปน
พุทฺธสตานิ พุทฺธสหสฺสานิ อตีตานิ; เตสุ
เอกพุทฺโธปิ น ปริจฺฉินฺโน, อิทานิ อิมํ อนฺโตวสฺสํ
ตโย มาเส น นิปชฺชิสฺสามีติ เต มานสํ พทฺธํ;
ตสฺมา จกฺขูนิ เต นสฺสนฺตุ วา ภิชฺชนฺตุ วา;
พุทฺธสาสนเมว ธาเรหิ , มา จกฺขูนีติ ภูตกายํ
โอวทนฺโต อิมา คาถา อภาสิ
“จกฺขูนิ หายนฺตุ มมายิตานิ,
โสตานิ หายนฺตุ, ตเถว เทโห,
สพฺพมฺปิทํ หายตุ เทหนิสฺสิตํ;
กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ.
จกฺขูนิ ชีรนฺตุ มมายิตานิ,
โสตานิ ชีรนฺตุ , ตเถว กาโย,
สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ กายนิสฺสิตํ;
กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ.
จกฺขูนิ ชีรนฺตุ มมายิตานิ,
โสตานิ ชีรนฺตุ , ตเถว กาโย,
สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ กายนิสฺสิตํ;
กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสีติ.
(อ.อันถาม)ว่าก็อ.ญาติท.ของพระเถระ(ย่อมไม่มีนั่นเทียว)
ในบ้านนั้น (อ. ชน ท.) ผู้เป็นไปกับด้วยเลือด (ของพระเถระ) ย่อมไม่มี
(ในบ้านนั้น) (อ. พระเถระ) พึงปรึกษา กับ ด้วยใคร ? (ดังนี้) ฯ
(อ.อันแก้) ว่า (อ.พระเถระ พึงปรึกษา กับ ด้วยกรัชกาย ดังนี้) ฯ
ก็ (อ. พระเถระ) เมื่อปรึกษา กับ ด้วยกรัชกาย กล่าวสอนอยู่
ซึ่งกายอันมีแล้ว ว่า แน่ะ ปาลิต ผู้มีอายุ อ. ท่าน จงกล่าว ก่อน ,
อ. ท่าน จักแลดู ซึ่งนัยน์ตา ท. หรือ หรือว่า (อ. ท่าน จักแลดู)
ซึ่งค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ? จริงอยู่ อ. อันนับ ซึ่งอันบอดแห่งนัยน์ตา
แห่งท่าน ย่อมไม่มี ในสังสารวัฏฏ์ อันมีที่สุดและเบื้องต้น
อันบุคคลผู้ไปตามอยู่ ไม่รู้แล้ว, ก็ อ. ร้อยแห่งพระพุทธเจ้า ท.
อ. พันแห่งพระพุทธเจ้า ท. มิใช่หนึ่ง ล่วงไปแล้ว ; ในพระพุทธเจ้า ท.
เหล่านั้นหนา แม้ อ. พระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง (อันท่าน)
ไม่ก�ำหนดแล้ว, ในกาลนี้ อ. ใจ อันท่าน ผูกแล้ว ว่า อ. เรา
จักไม่นอน สิ้นเดือน ท. สาม ตลอดภายในแห่งกาลฝนนี้ ดังนี้ ;
เพราะเหตุนั้น อ. นัยน์ตา ท. ของท่าน จงฉิบหายหรือ หรือว่า
จงแตก ; อ. ท่าน จงทรงไว้ ซึ่งค�ำสอนของพระพุทธเจ้านั่นเทียว ,
(อ. ท่าน จงอย่าทรงไว้) ซึ่งนัยน์ตา ท. ดังนี้ได้กล่าวแล้ว ซึ่งคาถา
ท. เหล่านี้ว่า
อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงเสื่อม,
อ. หู ท. จงเสื่อม, อ. กาย (จงเสื่อม) อย่างนั้นนั่นเทียว,
อ. อวัยวะ นี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงเสื่อม,
แน่ะปาลิต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ
อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงคร�ำ่คร่า,
อ. หู ท. จงคร�ำ่คร่า, อ.กาย (จงคร�ำ่คร่า) อย่างนั้นนั่นเทียว,
อ. อวัยวะนี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงคร�ำ่คร่า,
แน่ะปาลิต อ.ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ
อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงแตก,
อ. หู ท. จงแตก, อ. รูป (จงแตก) อย่างนั้นนั่นเทียว,
อ. อวัยวะนี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งรูป จงแตก,
แน่ะปาลิต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ดังนี้ ฯ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 11
เอวํ ตีหิ คาถาหิ อตฺตโน โอวาทํ ทตฺวา
นิสินฺนโกว นตฺถุกมฺมํ กตฺวา คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ.
เวชฺโช ทิสฺวา “กึ ภนฺเต นตฺถุกมฺมํ กตนฺติ ปุจฺฉิ.
“อาม อุปาสกาติ.
“กีทิสํ ภนฺเตติ.
รุชเตว อุปาสกาติ.
“นิสีทิตฺวา โว ภนฺเต กตํ, นิปชฺชิตฺวาติ.
เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปุนํ ปุจฺฉิโตปิ, น กิญฺจิ
กเถสิ.
อถ นํ เวชฺโช “ภนฺเต ตุมฺเห สปฺปายํ น กโรถ,
อชฺช ปฏฺ€าย “อสุเกน เม เตลํ ปกฺกนฺติ
มา วทิตฺถ, อหํปิ “มยา โว เตลํ ปกฺกนฺติน วกฺขามีติ
อาห.
โสเวชฺเชนปจฺจกฺขาโต,วิหารํคนฺตฺวา “เวชฺเชนาปิ
ปจฺจกฺขาโตสิ , อิริยาปถํ มา วิสฺสชฺชิ สมณาติ,
“ปฏิกฺขิตฺโต ติกิจฺฉาย เวชฺเชนาสิ วิวชฺชิโต
นิยโต มจฺจุราชสฺส, กึ ปาลิต ปมชฺชสีติ
อิมาย คาถาย อตฺตานํ โอวทิตฺวา สมณธมฺมํ อกาสิ.
อถสฺส มชฺฌิมยาเม อติกฺกนฺตมตฺเต,
อปุพฺพํ อจริมํ อกฺขีนิ เจว กิเลสา จ ปภิชฺชึสุ .
โส สุกฺขวิปสฺสโก อรหา หุตฺวา คพฺภํ ปวิสิตฺวา นิสีทิ.
ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย คนฺตฺวา “ภิกฺขาจารกาโล
ภนฺเตติ อาหํสุ.
“กาโล อาวุโสติ.
“อาม ภนฺเตติ. “เตนหิ
คจฺฉถาติ.
“ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ.
“อกฺขีนิ เม อาวุโส ปริหีนานีติ.
เต ตสฺส อกฺขีนิ โอโลเกตฺวา อสฺสุปุณฺณเนตฺตา
หุตฺวา “ภนฺเต มา จินฺตยิตฺถ,
(อ. พระเถระ) ครั้นให้แล้ว ซึ่งโอวาท แก่ตน ด้วยคาถา ท. สาม
อย่างนี้ผู้นั่งแล้วเทียว กระท�ำแล้วซึ่งกรรมคืออันนัตถุ์ ได้เข้าไปแล้ว
สู่บ้าน เพื่อบิณฑะ ฯ
อ. หมอ เห็นแล้ว ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. กรรมคือ
การนัตถุ์ (อันท่าน) กระท�ำแล้วหรือ ดังนี้ฯ
(อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ.กรรม
คือการนัตถุ์ อันเรา กระท�ำแล้ว ดังนี้ ฯ (อ.หมอนั้น ถามแล้ว) ว่า
ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.คู่แห่งนัยน์ตา) เป็นเช่นไร (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ
(อ.พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ.คู่แห่งนัยน์ตา)
ปวดอยู่นั่นเทียว ดังนี้ฯ
(อ.หมอ ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.กรรมคือการนัตถุ์)
อันท่าน ท. นั่งแล้ว ท�ำแล้วหรือ, (หรือว่า อ. กรรมคือการนัตถุ์
อันท่าน ท.) นอนแล้ว (ท�ำแล้ว) ดังนี้ ฯ
อ.พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว แม้ผู้อันหมอนั้นถามแล้ว
บ่อย ๆ ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งค�ำอะไร ๆ ฯ
ครั้งนั้น อ.หมอ กล่าวแล้ว กะพระเถระนั้น ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ
อ.ท่าน ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งความสบาย อ.ท่าน อย่ากล่าวแล้ว ว่า
อ.น�้ำมัน อันหมอโน้น หุงแล้ว แก่เรา ดังนี้แม้ อ.กระผม จักไม่กล่าว
ว่า อ.น�้ำมัน อันกระผมหุงแล้ว แก่ท่าน ดังนี้จ�ำเดิมแต่วันนี้ดังนี้ฯ
อ. พระเถระนั้น ผู้อันหมอบอกคืนแล้ว ไปแล้ว สู่วิหาร (คิดแล้ว)
ว่า อ.ท่าน เป็นผู้แม้อันหมอบอกคืนแล้ว ย่อมเป็น, ดูก่อนสมณะ
อ.ท่าน อย่าสละแล้ว ซึ่งอิริยาบถ ดังนี้ สอนแล้ว ซึ่งตน ด้วยคาถา
นี้ว่า
(อ. ท่าน) เป็นผู้อันอันหมอ ปฏิเสธแล้ว เป็นผู้อันหมอ
เว้นแล้วจากอันเยียวยา (การรักษา) ย่อมเป็น (อ. ท่าน)
เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อมัจจุผู้พระราชา (ย่อมเป็น) ดูก่อนปาลิตะ
อ. ท่าน ย่อมประมาท เพราะเหตุไร ดังนี้
ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งสมณธรรม ฯ
ครั้งนั้น ครั้นเมื่อยามอันมีในท่ามกลาง เป็นกาลสักว่าก้าวล่วงแล้ว
(มีอยู่), อ.นัยน์ตาท. ด้วยนั่นเทียว อ.กิเลสท. ด้วย ของพระเถระนั้น
แตกทั่วแล้ว ไม่ก่อน ไม่หลัง ฯ อ. พระเถระนั้น เป็นพระอรหันต์
ผู้เห็นแจ้งอย่างแห้งแล้ง เป็น เข้าไปแล้ว สู่ห้อง นั่งแล้ว ฯ
อ.ภิกษุ ท. ไปแล้ว ในเวลาเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา กล่าวแล้ว
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.กาลนี้) เป็นกาลเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา
(ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ (อ.พระเถระ ถามแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุท.
(อ.กาลนี้)เป็นกาล (ย่อมเป็นหรือ)ดังนี้ฯ (อ.ภิกษุ ท.กล่าวแล้ว)
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอรับ (อ.กาลนี้เป็นกาล ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ
(อ.พระเถระกล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน ท. จงไปเถิด ดังนี้ฯ
(อ.ภิกษุ ท. ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ดังนี้ฯ
(อ.พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.นัยน์ตา ท.
ของกระผม เสื่อมรอบแล้ว ดังนี้ ฯ
อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น แลดูแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระเถระนั้น
เป็นผู้มีดวงตาอันเต็มแล้วด้วยน�้ำตา เป็น ยังพระเถระ ให้หายใจ
ออกแล้ว (ด้วยค�ำ) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. อย่าคิดแล้ว,
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

More Related Content

What's hot

ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากลThanaponSuwan
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้Kiat Chaloemkiat
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีTheeraphisith Candasaro
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)niralai
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์Tongsamut vorasan
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์native
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdfบาลีเสริม ๑๐ Pdf
บาลีเสริม ๑๐ Pdf
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ศาสนาสากล
ศาสนาสากลศาสนาสากล
ศาสนาสากล
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
ปกิณณะวินัยที่ภิกษุควรรู้
 
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรีกระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
กระทู้ ธรรมศึกษาชั้นตรี
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
พุทธวิธีในการสอน(ศึกษาวิจัยจากพระไตรปิฎก)
 
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
วิชา สัมพันธ์ไทย ๑
 
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
บทที่่ ๒ การสัมพันธ์ไทย
 
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
1 04+บาลีไวยกรณ์+วจีวิภาค+ภาคที่+2+อาขยาต+และ+กิตก์
 
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdfแบบตั้งฉายาพระ.pdf
แบบตั้งฉายาพระ.pdf
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
พุทธศาสนากับวิทยาศาสตร์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติหลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
หลักการสัมพันธ์บทตติยาวิภัตติ
 
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdfปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
ปัญหาเฉลย-นักธรรมชั้นตรี (ปี 2549 - 2564).pdf
 

Similar to ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔Tongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาTongsamut Vorasarn
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธีPanuwat Beforetwo
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 

Similar to ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf (20)

ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
แนวทางการประชุมสมัชชาสงฆ์ไทยในสหรัฐอเมริกาสมัสามัญประจำปี ครั้งที่ ๓๔
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
 
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
Seang Dhamma Vol. 37 No. 440 December 2011
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
9 mantra
9 mantra9 mantra
9 mantra
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
Seangdhamma Vol. 37 No. 438 October, 2011
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลีธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
 
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
 
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdfสำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
 
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลีจูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
 
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

  • 1.
  • 2. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1 คณะผู้จัดท�ำ ผู้อุปถัมภ์โครงการ พระเทพญาณมหามุนี เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย พระราชภาวนาจารย์ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ที่ปรึกษา พระมหา ดร. สมชาย ฐานวุฑฺโฒ พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.๙ พระมหาบุญชัย จารุทตฺโต พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.๙ พระมหา ดร. สุธรรม สุรตโน ป.ธ.๙ พระครูใบฎีกาอ�ำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก พระมหา ดร. สมบัติ อินฺทปญฺโญ ป.ธ.๙ พระมหาวิทยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙ เรียบเรียง พระมหาอารีย์ พลาธิโก ป.ธ.๗ พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ จัดรูปเล่ม พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ พระมหาวันชนะ ญาตชโย ป.ธ.๕ พระมหาอภิชาติ วชิรชโย ป.ธ.๗ พระมหาเฉลิม ฉนฺทชโย ป.ธ.๔ ผู้ตรวจทาน นายสุเทพ นากุดนอก ป.ธ.๔ อาจารย์สอนบาลีประโยค ๑-๒ ส�ำนักเรียนวัดพระธรรมกาย ออกแบบปก/ภาพวาด พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย และ กองพุทธศิลป์ วัดพระธรรมกาย พิมพ์ครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๖๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ ๒ : กรกฎาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๓ : กรกฎาคม ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๔ : กรกฎาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง ลิขสิทธิ์ : ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
  • 3. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 2 ค�ำน�ำ ด้วยตระหนักและเห็นความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดของการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุ สามเณร ดังค�ำกล่าวยืนยันของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) ซึ่งได้กล่าวไว้ในโอกาสที่ได้จัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ อันเป็นปีที่ ๑๓ ของการจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระ ภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ว่า “ผู้ที่สอบได้เปรียญธรรม ถือว่าเป็น วีรบุรุษกองทัพธรรม เป็นผู้น�ำความภาคภูมิใจ มาสู่คณะสงฆ์ หลวงพ่อรู้สึกชื่นชมยินดีเป็นอย่างยิ่งและปรารถนาจะให้ก�ำลังใจแก่ผู้ที่สอบได้ และผู้ที่ก�ำลังจะสอบได้ตามมา ให้เห็นความส�ำคัญและรับรู้ว่า สิ่งที่ท่านทั้งหลายก�ำลังพากเพียร ศึกษาอยู่นี้ มีความส�ำคัญมาก และยังมีผู้คนทั้งหลายรอคอยและปรารถนาจะเห็นความส�ำเร็จ ของทุกท่าน ผู้จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการท�ำงานพระศาสนา เพื่อความเจริญยิ่งยืนนาน ของพระพุทธศาสนาสืบต่อไปในอนาคต” พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าส�ำนักเรียน มีความยินดี เป็นอย่างยิ่งที่จะสนับสนุน และขอปวารณาที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมการศึกษา พระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณร ตลอดไปตราบนานเท่านาน และได้มีด�ำริให้จัดท�ำ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุ สามเณรทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้การส่งเสริม สนับสนุนเป็นก�ำลังใจ อีกทั้งมุ่งหมายจะก่อให้เกิดการตื่นตัวด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณรทั่วประเทศ รวมถึงเป็นสื่อกลางให้คณะสงฆ์ผู้บริหารการศึกษาทั่วสังฆมณฑล ได้มาร่วมปรึกษา เพื่อการพัฒนาการศึกษาพระปริยัติธรรมให้ก้าวหน้า ไปในทิศทางเดียวกัน โดยเริ่มต้นจากการถวายทุนการศึกษา การจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ เปรียญธรรม ๙ ประโยค การจัดพิมพ์ต�ำราคู่มือบาลีถวายแก่ส�ำนักเรียนที่สนใจ และอื่นๆ ที่จะได้ริเริ่มจัดท�ำในโอกาสต่อไป หนังสือธรรมบทสองภาษาบาลี-ไทย ภาค๑-๘ ส�ำหรับนักเรียนบาลีชั้นประโยค๑-๒ และ ป.ธ.๓ นี้ ทางคณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม ได้รวบรวมเรียบเรียงขึ้น โดยอาศัยความรู้ จากต�ำรา และบูรพาจารย์ทั้งหลาย จัดพิมพ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณร ผู้แรกเริ่มศึกษาภาษาบาลี และผู้สนใจทั่วไป เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ เป็นวิทยาทาน แก่ผู้ศึกษาอย่างเต็มที่ ให้เรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น อนึ่งหากหนังสือเล่มนี้ยังมีการขาดตกบกพร่องประการใด หรือมีข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจ้งให้ทางส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ทราบด้วย จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง เพื่อจะได้น�ำมาปรับปรุงแก้ไขให้บริบูรณ์ยิ่งขึ้น ในการ จัดพิมพ์ครั้งต่อไป ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
  • 4. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3 สารบัญธรรมบทภาค ๑ เรื่อง หน้าที่ ปณามคาถา ๑ ๑. ยมกวรรค วรรณนา ๑. เรื่องพระจักขุปาลเถระ ๓ ๒. เรื่องมัฏฐกุณฑลี ๒๓ ๓. เรื่องพระติสสเถระ ๓๕ ๔. เรื่องความเกิดขึ้นของนางกาลียักษิณี ๔๒ ๕. เรื่องภิกษุชาวเมืองโกสัมพี ๔๙ ๖. เรื่องจุลกาลและมหากาล ๖๑ ๗. เรื่องพระเทวทัต ๗๐ ๘. เรื่องสัญชัยปริพาชก ๗๕ ๙. เรื่องพระนันทเถระ ๑๐๕ ๑๐. เรื่องนายจุนทสูกริก ๑๑๖ ๑๑. เรื่องธัมมิกอุบาสก ๑๒๐ ๑๒. เรื่องพระเทวทัต ๑๒๔ ๑๓. เรื่องนางสุมนาเทวี ๑๔๑ ๑๔. เรื่องภิกษุ ๒ สหาย ๑๔๔
  • 5. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 4 ““การศึกษานั้น สามารถเปลี่ยนชีวิตของผู้ศึกษา ให้สูงกว่าพื้นเดิม คนที่มีการศึกษาดี จะได้อะไรก็ดีกว่าประณีตกว่าผู้อื่น คนมีวิชาเท่ากับ ได้สมบัติจักรพรรดิ กินใช้ไม่หมด”” พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ
  • 6. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1 ธมฺมปทฏฺฐกถา ปณามคาถา มหาโมหตโมนทฺเธ โลเก โลกนฺตทสฺสินา เยน สทฺธมฺมปชฺโชโต ชลิโต ชลิติทฺธินา ตสฺส ปาเท นมสฺสิตฺวา สมฺพุทฺธสฺส สิรีมโต สทฺธมฺมญฺจสฺส ปูเชตฺวา กตฺวา สงฺฆสฺส จญฺชลึ, “ตํ ตํ การณมาคมฺม ธมฺมาธมฺเมสุ โกวิโท สมฺปนฺนสทฺธมฺมปโท สตฺถา ธมฺมปทํ สุภํ เทเสสิ กรุณาเวค สมุสฺสาหิตมานโส ยํ เว เทวมนุสฺสานํ ปีติปาโมชฺชวฑฺฒนํ ปรมฺปราภตา ตสฺส นิปุณา อตฺถวณฺณนา, ยา ตามฺพปณฺณิทีปมฺหิ ทีปภาสาย สณฺ€ิตา น สาธยติ เสสานํ สตฺตานํ หิตสมฺปทํ, อปฺเปว นาม สาเธยฺย สพฺพโลกสฺส สา หิตํ อิติ อาสึสมาเนน ทนฺเตน สมจารินา กุมารกสฺสเปนาหํ เถเรน ถิรเจตสา สทฺธมฺมฏฺ€ิติกาเมน สกฺกจฺจํ อภิยาจิโต, ตํ ภาสํ อติวิตฺถารํ คตญฺจ วจนกฺกมํ ปหายาโรปยิตฺวาน ตนฺตึ ภาสํ มโนรมํ, “
  • 7. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 2 คาถานํ พฺยญฺชนปทํ ยํ ตตฺถ น วิภาวิตํ เกวลนฺตํ วิภาเวตฺวา เสสนฺตเมว อตฺถโต ภาสนฺตเรน ภาสิสฺสํ อาวหนฺโต วิภาวินํ มนโส ปีติปาโมชฺชํ อตฺถธมฺมูปนิสฺสิตนฺติ.
  • 8. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3 ๑.อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรค อันบัณฑิตก�ำหนดแล้ว ด้วยเรื่องอันเป็นคู่ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ๑. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าจักขุบาล (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ (อ. อันถามว่า) ว่า อ. พระธรรมเทศนานี้ว่า อ. ธรรม ท. มีใจเป็นสภาพถึงก่อน มีใจประเสริฐที่สุด ส�ำเร็จด้วยใจ, หากว่า อ.บุคคล มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว กล่าวอยู่ หรือ หรือว่า กระท�ำอยู่ ไซร้, อ.ทุกข์ ย่อมไปตาม ซึ่งบุคคล นั้น เพราะทุจจริต มีอย่าง ๓ นั้น เพียงดัง อ.ล้อหมุนไปตามอยู่ ซึ่งรอยเท้า แห่งโคตัวเนื่องด้วยก�ำลัง ตัวน�ำไปอยู่ซึ่งแอก ดังนี้ (อันพระศาสดา) ตรัสแล้ว ในที่ไหน ดังนี้ฯ (อ. อันตอบ ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี้อันพระศาสดา ตรัสแล้ว) ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี (ดังนี้) ฯ (อ. อันถาม ว่า อ. พระธรรมเทศนา นี้ อันพระศาสดา) ทรงปรารภ ซึ่งใคร (ตรัสแล้ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี) ดังนี้ ฯ (อ. อันตอบ ว่า อ.พระธรรมเทศนา นี้ อันพระศาสดา ทรงปรารภ) ซึ่งพระเถระชื่อว่าจักขุบาล (ตรัสแล้ว ในเมืองชื่อว่า สาวัตถี ดังนี้) ฯ ได้ยินว่า (อ. เศรษฐี) ชื่อว่ามหาสุวรรณ เป็นผู้มีขุมทรัพย์ เป็นผู้มั่งคั่ง เป็นผู้มีทรัพย์มาก เป็นผู้มีโภคมาก เป็นผู้มีบุตรหามิได้ ได้มีแล้ว ในเมืองชื่อว่าสาวัตถี ฯ ในวันหนึ่ง อ.เศรษฐีนั้น ไปแล้ว สู่ท่าเป็นที่อาบ อาบแล้ว มาอยู่ เห็นแล้ว ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า ต้นหนึ่ง มีกิ่งอันถึงพร้อมแล้ว ในระหว่างแห่งหนทาง, (คิดแล้ว) ว่า อ.ต้นไม้ นี้จักเป็นต้นไม้ อันเทวดา ผู้มีศักดิ์ใหญ่ ถือเอารอบแล้ว จักเป็น ดังนี้(ยังบุคคล) ให้ช�ำระแล้ว ซึ่งส่วนภายใต้ แห่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่านั้น (ยังบุคคล) ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งการแวดล้อมด้วยก�ำแพง (ยังบุคคล) ให้เกลี่ยลงแล้ว ซึ่งทราย (ยังบุคคล) ให้ยกขึ้นแล้ว ซึ่งธงชัยและธงแผ่นผ้า กระท�ำให้พอแล้ว ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า กระท�ำแล้ว ซึ่งความปรารถนา ว่า (อ. เรา) ได้แล้ว ซึ่งบุตร หรือ หรือว่า ซึ่งธิดา จักกระท�ำ ซึ่งสักการะใหญ่ แก่ท่าน ท. ดังนี้หลีกไปแล้ว ฯ ครั้งนั้น อ. สัตว์ผู้เกิดแล้วในครรภ์ ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว ในท้อง ของภรรยา ของเศรษฐีนั้น ฯ อ. เศรษฐี นั้น ได้ให้แล้ว ซึ่งเครื่อง บริหารซึ่งครรภ์ แก่ภรรยา นั้น ฯ อ. ภรรยานั้น คลอดแล้ว ซึ่งบุตร โดยกาลเป็นที่ล่วงไปแห่งเดือนสิบ ฯ อ. เศรษฐี ได้กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ. ปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ ของบุตรนั้น เพราะความที่ (แห่งบุตรนั้น) เป็นผู้อันตน อาศัยแล้ว ซึ่งต้นไม้อันเป็นเจ้าแห่งป่า อันอันตนรักษาแล้ว ได้แล้ว ฯ ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก (อ.เศรษฐีนั้น) ได้แล้ว ซึ่งบุตร อื่น ฯ (อ.เศรษฐีนั้น) กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ.จุลลปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ ของบุตรนั้น, ๑. ยมกวคฺควณฺณนา ๑. จกฺขุปาลตฺเถรวตฺถุ. (๑) มโนปุพฺพงฺคมา ธมฺมา มโนเสฏฺฐา มโนมยา, มนสา เจ ปทุฏฺเฐน ภาสติ วา กโรติ วา, ตโต นํ ทุกฺขมเนฺวติ จกฺกํว วหโต ปทนฺติ. อยํ ธมฺมเทสนา กตฺถ ภาสิตาติ. “สาวตฺถิยํ.” “กํ อารพฺภาติ. “จกฺขุปาลตฺเถรํ. สาวตฺถิยํ กิร มหาสุวณฺโณ นาม กุฏุมฺพิโก อโหสิ อฑฺโฒ มหทฺธโน มหาโภโค อปุตฺตโก. โส เอกทิวสํ นหานติตฺถํ คนฺตฺวา นหาตฺวา อาคจฺฉนฺโต อนฺตรามคฺเค สมฺปนฺนสาขํ เอกํ วนปฺปตึ ทิสฺวา“อยํ มเหสกฺขาย เทวตาย ปริคฺคหิโต ภวิสฺสตีติ ตสฺส เหฏฺฐาภาคํ โสธาเปตฺวา ปาการปริกฺเขปํ การาเปตฺวา วาลุกํ โอกิราเปตฺวา ธชปตากํ อุสฺสาเปตฺวา วนปฺปตึ อลงฺกริตฺวา “ปุตฺตํ วา ธีตรํ วา ลภิตฺวา ตุมฺหากํ มหาสกฺการํ กริสฺสามีติ ปตฺถนํ กตฺวา ปกฺกามิ. อถสฺส ภริยาย กุจฺฉิยํ คพฺโภ ปติฏฺฐาสิ . โส ตสฺสา คพฺภปริหารํ อทาสิ. สา ทสมาสจฺจเยน ปุตฺตํ วิชายิ. เสฏฺฐี อตฺตนา ปาลิตํ วนปฺปตึ นิสฺสาย ลทฺธตฺตา ตสฺส “ปาโลติ นามํ อกาสิ. อปรภาเค อญฺญํ ปุตฺตํ ลภิ. ตสฺส “จุลฺลปาโลติ นามํ กตฺวา,
  • 9. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 4 กระท�ำแล้ว (ซึ่งค�ำ) ว่า อ.มหาปาละ ดังนี้ให้เป็นชื่อ ของบุตรนอกนี้ฯ (อ. มารดาและบิดา ท.) ผูกแล้ว ซึ่งบุตร ท. เหล่านั้น ผู้ถึงแล้ว ซึ่งวัย ด้วยเครื่องผูกคือเรือน ฯ ในกาลอันเป็นส่วนอื่นอีก อ.มารดา และบิดา ท. ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งกาละ ฯ (อ.ญาติ ท.) แบ่งแล้ว ซึ่งโภคะ ทั้งปวง (แก่บุตร ท.) สองนั่นเทียว ฯ ในสมัยนั้น อ.พระศาสดา ผู้มีจักรคือธรรมอันประเสริฐ อันให้เป็นไปทั่วแล้ว เสด็จไปแล้ว โดยล�ำดับ ย่อมประทับอยู่ ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ สละ ซึ่งทรัพย์มีโกฏิห้าสิบสี่เป็นประมาณ แล้วยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว, ทรงยังมหาชน ให้ตั้งเฉพาะอยู่ ในหนทางแห่งสวรรค์ด้วย ในหนทาง แห่งธรรมเป็นเครื่องหลุดพ้นด้วย ฯ จริงอยู่ อ.พระตถาคตเจ้า ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา หนึ่งนั่นเทียว ในมหาวิหารชื่อว่านิโครธ อันอันพันแห่งตระกูล แห่งพระญาติแปดสิบสองหน ท. คือ (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.) ๘๐ ข้างฝ่ายแห่งพระมารดา (อันพันแห่งตระกูลแห่งพระญาติ ท.) ๘๐ ข้างฝ่ ายแห่งพระบิดา ทรงยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว, (ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา ท.) ยี่สิบหย่อนด้วยหนึ่ง ในมหาวิหารชื่อว่าเชตวัน อันอันมหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว (ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่จ�ำพรรษา ท.) หก ในมหาวิหารชื่อว่าบุพพาราม อันอันนางวิสาขา ยังนายช่าง ให้กระท�ำแล้ว ด้วยการบริจาคซึ่งทรัพย์มีโกฏิยี่สิบเจ็ดเป็นประมาณ ทรงอาศัย ซึ่งเมืองชื่อว่าสาวัตถี ประทับอยู่แล้ว ตลอดการอยู่ จ�ำพรรษา ท. ยี่สิบห้า เพราะทรงอาศัย ซึ่งความที่แห่งตระกูล ท. สอง เป็นตระกูลมีคุณใหญ่ ด้วยประการฉะนี้ ฯ แม้ อ.มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ แม้ อ.นางวิสาขา ผู้มหาอุบาสิกา ย่อมไป สู่ที่เป็นที่บ�ำรุง ซึ่งพระตถาคตเจ้า สิ้นวาระ ท. สอง แห่งวัน เนืองนิตย์ ฯ ก็ (อ. ชน ท. สอง เหล่านั้น) เมื่อไป เป็นผู้มีมือเปล่าไปแล้วในก่อน (เป็นผู้ไม่เคยมีมือเปล่าไปแล้ว) (ด้วยอันคิด) ว่า อ. ภิกษุหนุ่มและสามเณร ท. จักแลดู ซึ่งมือ ท. ของเรา ท. ดังนี้(ย่อมเป็น) หามิได้: เมื่อไป ในกาลก่อนแต่กาลแห่งภัตร ยังบุคคลให้ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ ท.) มีของอันบุคคลพึงเคี้ยวเป็นต้น ย่อมไป, (เมื่อไป) ในกาลภายหลังแต่กาลแห่งภัตร (ยังบุคคล ให้ถือเอาแล้ว) ซึ่งเภสัช ท. ห้า ด้วย ซึ่งน�้ำเป็นเครื่องดื่ม ท. แปด ด้วย (ย่อมไป) ฯ อนึ่ง อ.อาสนะ ท. เป็นวัตถุอันบุคคลปูลาดแล้ว เนืองนิตย์ เพื่อพันแห่งภิกษุ ท. สอง สอง ในที่เป็นที่อยู่ ท. ของชน ท. สอง เหล่านั้น นั่นเทียว ย่อมเป็น ฯ อ.ภิกษุ ใด ย่อมปรารถนา ในข้าวและน�้ำเป็นเครื่องดื่มและ เภสัช ท. หนา ซึ่งวัตถุใด, อ.วัตถุนั้น ย่อมถึงพร้อม แก่ภิกษุนั้น ตามความปรารถนานั่นเทียว ฯ อ.ปัญหา เป็นสภาพอัน- ในชน ท. สอง เหล่านั้นหนา -มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะ ไม่เคยทูลถามแล้ว กะพระศาสดา ในวันหนึ่งนั่นเทียว (ย่อมเป็น) ฯ อิตรสฺส “มหาปาโลติ นามํ กริ. เต วยปฺปตฺเต ฆรพนฺธเนน พนฺธึสุ. อปรภาเค มาตาปิตโร กาลมกํสุ. สพฺพํ โภคํ ทฺวินฺนํเยว วิวเรสุํ. ตสฺมึ สมเย สตฺถา ปวตฺติตปวรธมฺมจกฺโก อนุปุพฺเพน คนฺตฺวา, อนาถปิณฺฑิกมหาเสฏฺฐินา จตุปฺปญฺญาสโกฏิธนํ วิสฺสชฺเชตฺวา การิเต เชตวนมหาวิหาเร วิหรติ; มหาชนํ สคฺคมคฺเค จ โมกฺขมคฺเค จ ปติฏฺฐาปยมาโน. ตถาคโต หิ “มาติปกฺขโต อสีติยา ปิติปกฺขโต อสีติยาติ เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺเสหิ การิเต นิโคฺรธมหาวิหาเร เอกเมว วสฺสาวาสํ วสิ, อนาถปิณฺฑิเกน การิเต เชตวนมหาวิหาเร เอกูนวีสติ, วิสาขาย สตฺตวีสติโกฏิธนปริจฺจาเคน การิเต ปุพฺพาราเม ฉ วสฺสาวาเสติ ทฺวินฺนํ กุลานํ คุณมหนฺตตํ ปฏิจฺจ สาวตฺถึ นิสฺสาย ปญฺฺจวีสติ วสฺสาวาเส วสิ. อนาถปิณฺฑิโกปิ วิสาขาปิ มหาอุปาสิกา นิพทฺธํ ทิวสสฺส เทฺว วาเร ตถาคตสฺส อุปฏฺฐานํ คจฺฉนฺติ. คจฺฉนฺตา จ “ทหรสามเณรา โน หตฺเถ โอโลเกสฺสนฺตีติ ตุจฺฉหตฺถา น คตปุพฺพา: ปุเรภตฺตํ คจฺฉนฺตา ขาทนียาทีนิ คาหาเปตฺวา คจฺฉนฺติ, ปจฺฉาภตฺตํ ปญฺจ เภสชฺชานิ อฏฺฐ จ ปานานิ. นิเวสเนสุ ปน เตสํ ทฺวินฺนํ ทฺวินฺนํ ภิกฺขุสหสฺสานํ นิจฺจํ ปญฺญตฺตาเนวาสนานิ โหนฺติ. อนฺนปานเภสชฺเชสุ โย ยํ อิจฺฉติ, ตสฺส ตํ ยถิจฺฉิตเมว สมฺปชฺชติ, เตสุ อนาถปิณฺฑิเกน เอกเมว ทิวสํ สตฺถารํ ปญฺโห น ปุจฺฉิตปุพฺโพ.
  • 10. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 5 ได้ยินว่า อ.มหาเศรษฐีชื่อว่าอนาถบิณฑิกะนั้น คิดแล้ว ว่า อ.พระตถาคต เป็นพระพุทธเจ้าผู้ละเอียดอ่อน เป็นกษัตริย์ ผู้ละเอียดอ่อน (เป็น) เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม แก่เรา (ด้วยทรงพระด�ำริ) ว่า อ. คฤหบดี เป็นผู้มีอุปการะมาก แก่เรา (ย่อมเป็น) ดังนี้ พึงทรงล�ำบาก ดังนี้, ย่อมไม่ทูลถาม ซึ่งปัญหา เพราะความรัก มีประมาณยิ่ง ในพระศาสดา ฯ ส่วนว่า อ. พระศาสดา ครั้นเมื่อเศรษฐีนั้น เป็นผู้สักว่านั่งแล้ว นั่นเทียว (มีอยู่) (ทรงด�ำริแล้ว) ว่า อ.เศรษฐี นี้ย่อมรักษา ซึ่งเรา ใน ฐานะอันบุคคลไม่พึงรักษา, เพราะว่า อ.เรา ตัดแล้ว ซึ่งศีรษะ ของ ตน อันเรา ทั้งกระท�ำให้พอแล้วทั้งตกแต่งแล้ว ควักขึ้นแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ยังเนื้อแห่งหทัย ให้เพิกขึ้นแล้ว บริจาคแล้ว ซึ่งบุตรและภรรยา ผู้เสมอด้วยลมปราณ ยังบารมี ท. เมื่อให้เต็ม สิ้นอสงไขย ท. สี่ อันยิ่งด้วยแสนแห่งกัปป ์ (ยังบารมี ท.) ให้เต็มแล้ว เพื่ออันแสดงซึ่งธรรม แก่ชน ท. เหล่าอื่นนั่นเทียว, อ. เศรษฐี นั่น ย่อมรักษาซึ่งเรา ในฐานะอันบุคคลไม่พึงรักษา ดังนี้ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา กัณฑ์หนึ่งนั่นเทียว ฯ ในกาลนั้น อ. โกฏิแห่งมนุษย์ ท. เจ็ด ย่อมอยู่ ในเมืองชื่อว่า สาวัตถี ฯ (ในมนุษย์ ท.) เหล่านั้นหนา อ. มนุษย์ ท. มีโกฏิห้า เป็นประมาณ ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา เป็นอริยสาวก เกิดแล้ว, (อ.มนุษย์ ท.) มีโกฏิสองเป็นประมาณ (ฟังแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งธรรม ของพระศาสดา) เป็นปุถุชน (เกิดแล้ว) ฯ อ. กิจ ท. ๒ นั่นเทียวได้มีแล้ว (ในมนุษย์ ท.) เหล่านั้นหนา (แก่มนุษย์ ท.) ผู้เป็นอริยสาวก, (อ. อริยสาวก ท.) ย่อมถวาย ซึ่งทาน ในกาลก่อนแห่งภัตร, (อ. อริยสาวก ท.) ผู้มีวัตถุมีของหอม และระเบียบเป็นต้นในมือ ยังบุคคลให้ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ) มีผ้าและยาและน�้ำเป็นเครื่องดื่มเป็นต้น ย่อมไป เพื่อต้องการ แก่อันฟังซึ่งธรรม ในกาลภายหลังแห่งภัตร ฯ ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล เห็นแล้ว ซึ่งอริยสาวก ท. ผู้มีวัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้นในมือ ผู้ไปอยู่ สู่วิหาร, ถามแล้ว ว่า อ. มหาชน นี้ จะไป ในที่ไหน ดังนี้ ฟังแล้ว ว่า (อ. มหาชนนี้ ย่อมไป ) เพื่ออันฟังซึ่งธรรม ดังนี้, (คิดแล้ว) ว่า แม้ อ. เรา จักไป ดังนี้ ไปแล้ว ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา นั่งแล้ว ณ ที่สุดรอบแห่งบริษัท ฯ ก็ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม, ทรงตรวจดูแล้ว ซึ่งธรรมอันเป็นอุปนิสัย (แห่งคุณ ท.) มีสรณะและศีลและบรรพชา เป็นต้น ย่อมทรงแสดง ซึ่งธรรม ด้วยอ�ำนาจแห่งอัธยาศัย; เพราะเหตุนั้น ในวันนั้น อ. พระศาสดา ทรงตรวจดูแล้ว ซึ่งธรรมอันเป็นอุปนิสัย แห่งกุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น เมื่อทรงแสดง ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยล�ำดับ ฯ (อ. อันถามว่า อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่อง กล่าวโดยล�ำดับ) อย่างไรนี้(ดังนี้) ? (อ.อันแก้ว่า อ.พระศาสดา) ทรงประกาศแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งทาน ซึ่งวาจาเป็น เครื่องกล่าวซึ่งศีล ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าวซึ่งสวรรค์ โส กิร “ ตถาคโต พุทฺธสุขุมาโล ขตฺติยสุขุมาโล “ พหุปกาโร เม คหปตีติ มยฺหํ ธมฺมํ เทเสนฺโต กิลเมยฺยาติ, สตฺถริ อธิมตฺตสิเนเหน ปญฺหํ น ปุจฺฉติ. สตฺถา ปน ตสฺมึ นิสินฺนมตฺเตเยว “ อยํ เสฏฺฐี มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขติ , อหํ หิ กปฺปสต- สหสฺสาธิกานิ จตฺตาริ อสงฺเขยฺยานิ อลงฺกตปฺปฏิยตฺตํ อตฺตโน สีสํ ฉินฺทิตฺวา อกฺขีนิ อุปฺปาเฏตฺวา หทยมํสํ อุพฺพตฺเตตฺวา ปาณสมํ ปุตฺตทารํ ปริจฺจชิตฺวา ปารมิโย ปูเรนฺโต ปเรสํ ธมฺมเทสนตฺถเมว ปูเรสึ , เอส มํ อรกฺขิตพฺพฏฺฐาเน รกฺขตีติ เอกํ ธมฺมเทสนํ กเถสิเยว. ตทา สาวตฺถิยํ สตฺต มนุสฺสโกฏิโย วสนฺติ. เตสุ สตฺถุ ธมฺมกถํ สุตฺวา ปญฺจโกฏิมตฺตา มนุสฺสา อริยสาวกา ชาตา, เทฺวโกฏิมตฺตา ปุถุชฺชนา. เตสุ อริยสาวกานํ เทฺวเยว กิจฺจานิ อเหสุํ: ปุเรภตฺตํ ทานํ เทนฺติ, ปจฺฉาภตฺตํ คนฺธมาลาทิหตฺถา วตฺถเภสชฺชปานกาทึ คาหาเปตฺวา ธมฺมสฺสวนตฺถาย คจฺฉนฺติ. อเถกทิวสํ มหาปาโล อริยสาวเก คนฺธมาลาทิหตฺเถ วิหารํ คจฺฉนฺเต ทิสฺวา, “อยํ มหาชโน กุหึ คจฺฉตีติ ปุจฺฉิตฺวา, “ ธมฺมสฺสวนายาติ สุตฺวา , “ อหํปิ คมิสฺสามีติ, คนฺตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา ปริสปริยนฺเต นิสีทิ. พุทฺธา จ นาม ธมฺมํ เทเสนฺตา , สรณสีล- ปพฺพชฺชาทีนํ อุปนิสฺสยํ โอโลเกตฺวา อชฺฌาสยวเสน ธมฺมํ เทเสนฺติ; ตสฺมา ตํทิวสํ สตฺถา ตสฺส อุปนิสฺสยํ โอโลเกตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อนุปุพฺพีกถํ กเถสิ. เสยฺยถีทํ? ทานกถํ สีลกถํ สคฺคกถํ
  • 11. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 6 ซึ่งโทษ ซึ่งการกระทําต�่ำ ซึ่งความเศร้าหมองพร้อมแห่งกาม ท. ซึ่งอานิสงส์ ในการออกบวช (ดังนี้) ฯ อ.กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล ฟังแล้ว ซึ่งพระดํารัสนั้น คิดแล้ว ว่า อ.บุตรและธิดา ท. หรือ หรือว่า อ.โภคะ ท. ย่อมไม่ไปตาม (ซึ่งบุคคล) ผู้ไปอยู่ สู่โลกอื่น, แม้ อ. สรีระ ย่อมไม่ไป กับ ด้วยตน, อ. ประโยชน์ อะไร ของเรา ด้วยการอยู่ครองซึ่งเรือน , อ. เรา จักบวช ดังนี้ ฯ อ. กุฏุมพีชื่อว่ามหาบาล นั้น เข้าไปเฝ ้ าแล้ว ซึ่งพระศาสดา ในกาลเป็นที่สุดลงรอบแห่งเทศนา ทูลขอแล้ว ซึ่งการบวช ฯ ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว กะกุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น ว่า อ. ญาติ ผู้ควรแล้ว แก่ความเป็นผู้อันท่านพึงอําลา บางคน ของท่าน ย่อมไม่มี หรือ ? ดังนี้ฯ (อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล กราบทูลแล้ว ว่า) ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. น้องชายผู้น้อยที่สุด ของข้าพระองค์ มีอยู่ ดังนี้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า) ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน จงอําลา ซึ่งน้องชายผู้น้อยที่สุดนั้น ดังนี้ ฯ อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น รับพร้อมแล้ว ว่า อ. ดีละ ดังนี้ ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา ไปแล้ว สู่เรือน ยังบุคคล ให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งน้องชายผู้น้อยที่สุด (กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. ทรัพย์ไร ๆ อันเป็นไปกับด้วยวิญญาณและไม่มีวิญญาณใด มีอยู่ ในตระกูล นี้, อ.ทรัพย์นั้นทั้งปวง เป็นภาระของท่าน(จงเป็น), อ.ท่าน จงครอบครอง ซึ่งทรัพย์นั้นดังนี้ฯ (อ. น้องชายผู้น้อยที่สุดนั้นถามแล้ว)ว่าข้าแต่นาย ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ? ดังนี้ ฯ (อ. กุฏุมพีชื่อว่ามหาบาลนั้น กล่าวแล้ว) ว่า อ. เรา จักบวช ในสํานัก ของพระศาสดา ดังนี้ ฯ (อ. น้องชายผู้น้อยที่สุดนั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่พี่ อ. ท่าน กล่าวแล้ว ซึ่งคําอะไร, อ. ท่าน ครั้นเมื่อมารดา ตายแล้ว เป็นผู้ อันเรา (ได้แล้ว) ราวกะ อ. มารดา (ย่อมเป็น), (อ. ท่าน) ครั้นเมื่อบิดา ตายแล้ว เป็นผู้อันเรา (ได้แล้ว) ราวกะ อ. บิดา (ย่อมเป็น), อ. สมบัติอันบุคคล พึงเสวยใหญ่ (มีอยู่) ในเรือน ของท่าน ท., (อันท่าน ท.) ผู้อยู่ครอบครองอยู่ ซึ่งเรือนนั่นเทียว อาจ เพื่ออันกระทํา ซึ่งบุญ ท., อ. ท่าน ท. อย่าได้กระทําแล้ว อย่างนี้ ดังนี้ ฯ (อ. กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาล กล่าวแล้ว) ว่า แน่ะพ่อ อ. พระธรรมเทศนา ของพระศาสดา อันเรา ฟังแล้ว, ก็ อ. ธรรมอันงามในเบื้องต้นและ ท่ามกลางและที่สุดลงรอบ อันพระศาสดา ทรงยกขึ้นแล้ว สู่ลักษณะ ๓ ทั้งละเอียดทั้งอ่อน ทรงแสดงแล้ว, อ. ธรรมอันงามในเบื้องต้นและ ท่ามกลางและที่สุดลงรอบนั้น (อันเรา) ไม่อาจ เพื่ออันให้เต็มได้ ในท่ามกลางแห่งเรือน, แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวช ดังนี้ ฯ (อ.น้องชายผู้น้อยที่สุด กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่พี่ เออก็ (อ.ท่าน ท.) เป็นคนหนุ่ม (ย่อมเป็น) ก่อน, อ.ท่าน ท. จักบวช ในกาลแห่งตน เป็นคนแก่ ดังนี้ ฯ (อ.กุฎุมพีชื่อว่ามหาบาลกล่าวแล้ว)ว่า แน่ะพ่อ ก็ แม้ อ.มือและเท้าท. ของตน แห่งคนแก่ เป็นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็น, ย่อมไม่เป็นไป ในอํานาจ, ก็ อ. องค์อะไรเล่า อ. ญาติ ท. (จักเป็นไป ในอํานาจ), อ. เรา นั้น จะไม่กระทํา ซึ่งคํา ของท่าน, อ. เรา ยังความปฏิบัติแห่งสมณะ จักให้เต็ม, กามานํ อาทีนวํ โอการํ สงฺกิเลสํ เนกฺขมฺเม อานิสํสํ ปกาเสสิ. ตํ สุตฺวา มหาปาโล กุฏุมฺพิโก จินฺเตสิ “ปรโลกํ คจฺฉนฺตํ ปุตฺตธีตโร วา โภคา วา นานุคจฺฉนฺติ, สรีรํปิ อตฺตนา สทฺธึ น คจฺฉติ ; กึ เม ฆราวาเสน , ปพฺพชิสฺสามีติ. โส เทสนาปริโยสาเน สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิ. อถ นํ สตฺถา “นตฺถิ เต โกจิอาปุจฺฉิตพฺพยุตฺตโก ญาตีติ อาห. “กนิฏฺฐภาตา เม อตฺถิ ภนฺเตติ. “เตนหิ ตํ อาปุจฺฉาหีติ. โส “สาธูติ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สตฺถารํ วนฺทิตฺวา เคหํ คนฺตฺวา กนิฏฺฐํ ปกฺโกสาเปตฺวา “ตาต ยํ อิมสฺมึ กุเล สวิญฺญาณกาวิญฺญาณกํ ธนํ กิญฺจิ อตฺถิ, สพฺพนฺตํ ตว ภาโร, ปฏิปชฺชาหิ นนฺติ. “ตุมฺเห ปน สามีติ. “อหํ สตฺถุ สนฺติเก ปพฺพชิสฺสามีติ . “ กึ กเถสิ ภาติก ; ตฺวํ เม มาตริ มตาย มาตา วิย, ปิตริ มเต ปิตา วิย ลทฺโธ ,เคเห โว มหาวิภโว, สกฺกา เคหํ อชฺฌาวสนฺเตเหว ปุญฺญานิ กาตุํ ; มา เอวมกตฺถาติ. “ตาตมยาสตฺถุ ธมฺมเทสนา สุตา, สตฺถารา หิ สณฺหสุขุมํ ติลกฺขณํ อาโรเปตฺวา อาทิมชฺฌ- ปริโยสานกลฺยาณธมฺโม เทสิโต. น สกฺกา โส อคารมชฺเฌ ปูเรตุํ; ปพฺพชิสฺสามิ ตาตาติ. “ ภาติก ตรุณาปิ จ ตาว , มหลฺลกกาเล ปพฺพชิสฺสถาติ. “ตาต มหลฺลกสฺส หิ อตฺตโน หตฺถปาทาปิ อนสฺสวา โหนฺติ, น วเส วตฺตนฺติ, กิมงฺคํ ปน ญาตกา , สฺวาหํ ตว วจนํ น กโรมิ, สมณปฏิปตฺตึ ปูเรสฺสามิ,
  • 12. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 7 ชราชชฺชริตา โหนฺติ หตฺถปาทา อนสฺสวา ยสฺส, โส วิหตตฺถาโม กถํ ธมฺมํ จริสฺสติ, ปพฺพชิสฺสาเมวาหํ ตาตาติ. ตสฺส วิรวนฺตสฺเสว,สตฺถุ สนฺติกํคนฺตฺวา ปพฺพชฺชํ ยาจิตฺวา, ลทฺธปพฺพชฺชูปสมฺปโท อาจริยุปชฺฌายานํ สนฺติเก ปญฺจ วสฺสานิ วสิตฺวา, วุตฺถวสฺโส ปวาเรตฺวา, สตฺถารํ อุปสงฺกมิตฺวา วนฺทิตฺวา ปุจฺฉิ “ภนฺเต อิมสฺมึ สาสเน กติ ธุรานีติ. “คนฺถธุรํ วิปสฺสนาธุรนฺติ เทฺวเยว ธุรานิ ภิกฺขูติ. “กตมํ ปนภนฺเต คนฺถธุรํ, กตมํ วิปสฺสนาธุรนฺติ. “อตฺตโน ปญฺญานุรูเปน เอกํ วา เทฺว วา นิกาเย สกลํ วา ปน เตปิฏกํ พุทฺธวจนํ อุคฺคณฺหิตฺวา ตสฺส ธารณํ กถนํ วาจนนฺติ อิทํ คนฺถธุรํ นาม . สลฺลหุกวุตฺติโน ปน ปนฺตเสนาสนาภิรตสฺส อตฺตภาเว ขยวยํ ปฏฺ€เปตฺวา สาตจฺจกิริยาวเสน วิปสฺสนํ วฑฺเฒตฺวา อรหตฺตคฺคหณนฺติ อิทํ วิปสฺสนาธุรํ นามาติ. “ภนฺเต อหํ มหลฺลกกาเล ปพฺพชิโต คนฺถธุรํ ปูเรตุํ น สกฺขิสฺสามิ, วิปสฺสนาธุรํ ปน ปูเรสฺสามิ; กมฺมฏฺ€านํ เม กเถถาติ. อถสฺส สตฺถา ยาว อรหตฺตา กมฺมฏฺฐานํ กเถสิ. โส สตฺถารํ วนฺทิตฺวา, อตฺตนา สหคามิโน ภิกฺขู ปริเยสนฺโต สฏฺ€ี ภิกฺขู ลภิตฺวา, เตหิ สทฺธึ นิกฺขมิตฺวา, วีสโยชนสตมคฺคํ คนฺตฺวา, เอกํ มหนฺตํ ปจฺจนฺตคามํ ปตฺวา, ตตฺถ สปริวาโร ปิณฺฑาย ปาวิสิ. มนุสฺสา วตฺตสมฺปนฺเน ภิกฺขู ทิสฺวา ปสนฺนจิตฺตา, อาสนานิ ปญฺญาเปตฺวา นิสีทาเปตฺวา, ปณีเตนาหาเรน ปริวิสิตฺวา, “ภนฺเต กุหึ อยฺยา คจฺฉนฺตีติ ปุจฺฉิตฺวา, “ยถาผาสุกฏฺ€านํ อุปาสกาติ วุตฺเต, อ.มือและเท้า ท. ของบุคคคลใด เป็นอวัยวะคร�่ำคร่าแล้วเพราะชรา เป็นอวัยวะไม่ฟังตาม ย่อมเป็น, อ. บุคคลนั้น ผู้มีเรี่ยวแรงอันชรา ก�ำจัดแล้ว จักประพฤติ ซึ่งธรรม อย่างไร, แน่ะพ่อ อ. เรา จักบวชนั่นเทียว ดังนี้ฯ เมื่อน้องชายผู้น้อยที่สุด นั้น ร้องไห้อยู่นั่นเทียว, (อ. กุฎุมพี ชื่อว่ามหาบาลนั้น) ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระศาสดา ทูลขอแล้ว ซึ่งบรรพชา, ผู้มีบรรพชาและอุปสมบทอันได้แล้ว อยู่แล้ว สิ้นปี ท. ๕ ในส�ำนัก ของพระอาจารย์และพระอุปัชฌาย์ ท., ผู้มีกาลฝน อันอยู่แล้ว ปวารณาแล้ว, เข้าไปเฝ ้ าแล้ว ซึ่งพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว ทูลถามแล้ว ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ธุระ ท. ในศาสนานี้ เท่าไร ดังนี้ ฯ (อ.พระศาสดาตรัสแล้ว)ว่าดูก่อนภิกษุอ.ธุระท.สองนั่นเทียว คือ อ. คันถธุระ อ. วิปัสสนาธุระ ดังนี้ฯ (อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาล ทูลถามแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ก็ อ. คันถธุระ เป็นไฉน ?, อ. วิปัสสนาธุระ เป็นไฉน ? ดังนี้ ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว) ว่า อ.ธุระนี้คือ อ. การเรียนเอาแล้ว ซึ่งนิกาย หนึ่ง หรือ หรือว่า ซึ่งนิกาย ท. สอง ก็หรือว่า ซึ่งพระพุทธพจน์ คือ ประชุมแห่งปิฎกสาม ทั้งสิ้น ทรงจ�ำ กล่าว บอก ซึ่งพระพุทธพจน์ นั้น ตามสมควรแก่ปัญญาของตน ชื่อว่า คันถธุระ ฯ ส่วนว่า อ. ธุระนี้ คือ อ. การ เริ่มตั้งแล้ว ซึ่งความสิ้นไปและ ความเสื่อมไป ในอัตภาพ ยังวิปัสสนา ให้เจริญแล้ว ด้วยสามารถ แห่งการกระท�ำโดยความเป็นแห่งความติดต่อ ถือเอาซึ่งความเป็น แห่งพระอรหันต์ (แห่งภิกษุ) ผู้ยินดียิ่งแล้วในเสนาสนะอันสงัดแล้ว ผู้มีความประพฤติเบาพร้อม ชื่อว่าวิปัสสนาธุระ ดังนี้ ฯ (อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาล กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ บวชแล้ว ในกาลแห่งตนเป็นคนแก่ จักไม่อาจ เพื่ออันยังคันถธุระให้เต็ม, แต่ว่า อ. ข้าพระองค์ ยังวิปัสสนาธุระ จักให้เต็ม ; อ. พระองค์ ท. ขอจงตรัสบอก ซึ่งกัมมัฏฐาน แก่ข้าพระองค์ ดังนี้ ฯ ครั้งนั้น อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ซึ่งกัมมัฏฐาน เพียงใด แต่ความเป็นแห่งพระอรหันต์ แก่ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนั้น ฯ อ. ภิกษุชื่อว่ามหาบาลนั้น ถวายบังคมแล้ว ซึ่งพระศาสดา, แสวงหาอยู่ซึ่งภิกษุ ท.ผู้ไปโดยปกติกับด้วยตน,ได้แล้วซึ่งภิกษุ ท. หกสิบ, ออกไปแล้ว กับ ด้วยภิกษุ ท. เหล่านั้น, ไปแล้ว สิ้นหนทาง มีร้อยแห่งโยชน์ยี่สิบเป็นประมาณ, ถึงแล้ว ซึ่งบ้านอันเป็นที่สุดเฉพาะ หมู่ใหญ่ ต�ำบลหนึ่ง, ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร ได้เข้าไปแล้ว ในบ้านนั้น เพื่อก้อนข้าว ฯ อ. มนุษย์ ท. เห็นแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยวัตร เป็นผู้มีจิตเลื่อมใสแล้ว (เป็น), ปูลาดแล้ว ซึ่งอาสนะ ท. (ยังภิกษุ ท.) ให้นั่งแล้ว อังคาสแล้ว ด้วยอาหารอันประณีต ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.พระผู้เป็นเจ้า ท. จะไป ในที่ไหน ดังนี้ (ครั้นเมื่อค�ำ) ว่า ดูก่อนอุบาสกและอุบาสิกา ท. (อ. เรา ท. จะไป) สู่ที่อันมีความส�ำราญอย่างไร ดังนี้ (อันภิกษุ ท. เหล่านั้น) กล่าวแล้ว,
  • 13. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 8 ปณฺฑิตมนุสฺสา “วสฺสาวาสํ เสนาสนํ ปริเยสนฺติ ภทนฺตาติ ญตฺวา “ภนฺเต สเจ อยฺยา อิมํ เตมาสํ อิธ วเสยฺยุํ;มยํสรเณสุปติฏฺ€าย, สีลานิ คณฺเหยฺยามาติ อาหํสุ. เตปิ “มยํ อิมานิ กุลานิ นิสฺสาย, ภวนิสฺสรณํ กริสฺสามาติ อธิวาเสสุํ. มนุสฺสา เตสํ ปฏิญฺญํ คเหตฺวา วิหารํ ปฏิชคฺคิตฺวา รตฺติฏฺ€านทิวาฏฺ€านานิ สมฺปาเทตฺวา อทํสุ. เต นิพทฺธํ ตเมว คามํ ปิณฺฑาย ปวิสนฺติ. อถ เน เอโก เวชฺโช อุปสงฺกมิตฺวา, “ภนฺเต พหุนฺนํ วสนฏฺฐาเน อผาสุกํปิ นาม โหติ, ตสฺมึ อุปฺปนฺเน, มยฺหํ กเถยฺยาถ; เภสชฺชํ กริสฺสามีติ ปวาเรสิ. เถโร วสฺสูปนายิกาทิวเส เต ภิกฺขู อามนฺเตตฺวา ปุจฺฉิ “ อาวุโส อิมํ เตมาสํ กตีหิ อิริยาปเถหิ วีตินาเมสฺสถาติ. “จตูหิ ภนฺเตติ. “ กึ ปเนตํ อาวุโส ปฏิรูปํ , นนุ อปฺปมตฺเตหิ ภวิตพฺพํ? มยํ หิ ธรมานสฺส พุทฺธสฺส สนฺติกา กมฺมฏฺ€านํ คเหตฺวา อาคตา, พุทฺธา จ นาม น สกฺกา สเ€น อาราเธตุํ, กลฺยาณชฺฌาสเยน เหเต อาราเธตพฺพา, ปมตฺตสฺส จ นาม จตฺตาโร อปายา สกเคหสทิสา, อปฺปมตฺตา โหถาวุโสติ. “ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ. “อหํ ตีหิ อิริยาปเถหิ วีตินาเมสฺสามิ, ปิฏฺฐึ น ปสาเรสฺสามิ อาวุโสติ. “สาธุ ภนฺเต, อปฺปมตฺตา โหถาติ. เถรสฺส นิทฺทํ อโนกฺกมนฺตสฺส, ปฐมมาเส อติกฺกนฺเต , อกฺขิโรโค อุปฺปชฺชิ. ฉิทฺทฆฏโต อุทกธารา วิย อกฺขีหิ ธารา ปคฺฆรนฺติ. โส สพฺพรตฺตึ สมณธมฺมํ กตฺวา, อรุณุคฺคมเน คพฺภํ ปวิสิตฺวา นิสีทิ. อ. มนุษย์ผู้เป็นบัณฑิต ท. ทราบแล้ว ว่า อ. ท่านผู้เจริญ ท. แสวงหาอยู่ ซึ่งเสนาสนะ อันเป็นที่อยู่จ�ำซึ่งพรรษา ดังนี้ กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าว่า อ. พระผู้เป็นเจ้า ท. พึงอยู่ ในที่นี้ ตลอดหมวดแห่งเดือนสาม นี้ไซร้ ; อ.ข้าพเจ้า ท. ตั้งอยู่เฉพาะแล้ว ในสรณะ ท. , พึงถือเอา ซึ่งศีล ท. ดังนี้ฯ อ. ภิกษุ ท. แม้เหล่านั้น (ยังค�ำนิมนต์) ให้อยู่ทับแล้ว (ด้วยอันคิด) ว่า อ. เรา ท. อาศัยแล้ว ซึ่งตระกูล ท. เหล่านี้, จักกระท�ำ ซึ่งการออกไปจากภพ ดังนี้ ฯ อ. มนุษย์ ท. รับแล้ว ซึ่งปฏิญญา ของภิกษุ ท. เหล่านั้น จัดแจงแล้ว ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ยังที่เป็นที่พัก ในกลางคืนและที่เป็นที่พักในกลางวัน ท. ให้ถึงพร้อมแล้ว ได้ถวาย แล้ว ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น ย่อมเข้าไป สู่บ้าน นั้นนั่นเทียว เพื่อบิณฑะ เนืองนิตย์ ฯ ครั้งนั้น อ.หมอ คนหนึ่ง เข้าไปหาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ปวารณาแล้ว (ด้วยค�ำ) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ชื่อแม้ อ.ความทุกข์ มิใช่ความส�ำราญ ย่อมมี ในที่เป็นที่อยู่ แห่งพระผู้เป็นเจ้า ท. มาก ครั้นเมื่อความทุกข์มิใช่ความส�ำราญนั้น เกิดขึ้นแล้ว อ.ท่าน ท. พึงบอกแก่ข้าพเจ้า อ.ข้าพเจ้า จักกระท�ำ ซึ่งยา ดังนี้ฯ อ.พระเถระ เรียกมาแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ถามแล้ว ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.ท่าน ท. จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. เท่าไร ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี้ ดังนี้ ในวันคือดิถีเป็นที่น้อมเข้าไปใกล้แห่งกาลฝน ฯ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. กระผม ท. จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สี่ ตลอดหมวดแห่งเดือนสามนี้ ดังนี้ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. ก็ อ.อันยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สี่ ตลอดหมวด แห่งเดือนสามนี้ แห่งท่าน ท. นั่น เป็นกรรมอันสมควร ย่อมเป็น หรือ อันเรา ท. พึงเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว พึงเป็น มิใช่หรือ, เพราะว่า อ.เรา ท. เรียนเอาแล้ว ซึ่งพระกรรมฐาน จากส�ำนัก ของพระพุทธเจ้า ผู้ยังทรงพระชนม์อยู่ มาแล้ว, จริงอยู่ ชื่อ อ. พระพุทธเจ้า ท. อันบุคคลผู้โอ้อวด ไม่อาจ เพื่ออันทรงให้ยินดียิ่ง, ด้วยว่า อ. พระพุทธเจ้า ท. เหล่านั่น อันบุคคล ผู้มีอัธยาศัยอันงาม พึงให้ทรงยินดียิ่ง, จริงอยู่ อ. อบาย ท. สี่ เป็นเช่นกับด้วยเรือนของตน (ย่อมเป็น) ชื่อแห่งบุคคลผู้ประมาทแล้ว, ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ท่าน ท. เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว จงเป็น ดังนี้ฯ (อ. ภิกษุ ท. ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ? ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.เรา จักยังกาลให้น้อมไปล่วงวิเศษ ด้วยอิริยาบถ ท. สาม, อ. เรา จักไม่เหยียด ซึ่งหลัง ดังนี้ ฯ (อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ดีละ, อ.ท่าน ท. จงเป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว (จงเป็น) ดังนี้ ฯ เมื่อพระเถระ ไม่ก้าวลงอยู่ สู่ความหลับ, ครั้นเมื่อเดือนที่หนึ่ง ก้าวล่วงแล้ว, อ. โรคในนัยน์ตา เกิดขึ้นแล้ว ฯ อ. สายน�้ำ ท. ย่อมไหลออกจากนัยน์ตาท.ราวกะอ.สายแห่งน�้ำท.(ไหลออกอยู่) จากหม้ออันทะลุแล้ว ฯ อ. พระเถระนั้น กระท�ำแล้ว ซึ่งสมณธรรม ตลอดราตรีทั้งปวง, เข้าไปแล้ว สู่ห้อง ในกาลเป็นที่ขึ้นไปแห่งอรุณ นั่งแล้ว ฯ
  • 14. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 9 ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย เถรสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา “ภิกฺขาจารเวลา ภนฺเตติ อาหํสุ. “ เตนหาวุโส คณฺหถ ปตฺตจีวรนฺติ อตฺตโน ปตฺตจีวรํ คาหาเปตฺวา นิกฺขมิ. ภิกฺขู ตสฺส อกฺขี ปคฺฆรนฺเต ทิสฺวา “กิเมตํ ภนฺเตติ ปุจฺฉึสุ. “อกฺขี เม อาวุโส วาตา วิชฺฌนฺตีติ. “นนุ ภนฺเต เวชฺเชนมฺห ปวาริตา, ตสฺส กเถยฺยามาติ. “สาธาวุโสติ. เต เวชฺชสฺส กถยึสุ. โส เตลํ ปจิตฺวา เปเสสิ. เถโร นาสาย เตลํ อาสิญฺจนฺโต นิสินฺนโกว อาสิญฺจิตฺวา อนฺโตคามํ ปาวิสิ. เวชฺโช ทิสฺวา อาห “ภนฺเต อยฺยสฺส กิร อกฺขี วาโต วิชฺฌตีติ. “อาม อุปาสกาติ. “ภนฺเต มยา เตลํ ปจิตฺวา เปสิตํ, นาสาย โว อาสิตฺตนฺติ. “อาม อุปาสกาติ. “อิทานิ กีทิสนฺติ. “รุชเตว อุปาสกาติ. เวชฺโช “มยา เอกวาเรเนว วูปสมนตฺถํ เตลํ ปหิตํ, กินฺนุ โข โรโค น วูปสนฺโตติ จินฺเตตฺวา “ภนฺเต นิสีทิตฺวา โว อาสิตฺตํ, นิปชฺชิตฺวาติ ปุจฺฉิ. เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปุนํ ปุจฺฉิยมาโนปิ น กเถสิ. โส “วิหารํ คนฺตฺวา วสนฏฺ€านํ โอโลเกสฺสามีติ จินฺเตตฺวา “เตนหิ ภนฺเต คจฺฉถาติ เถรํ วิสฺสชฺเชตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา เถรสฺส วสนฏฺ€านํ โอโลเกนฺโต จงฺกมนนิสีทนฏฺ€านเมว ทิสฺวา สยนฏฺ€านํ อทิสฺวา “ ภนฺเต นิสินฺเนหิ โว อาสิตฺตํ, นิปฺปนฺเนหีติ ปุจฺฉิ. เถโร ตุณฺหี อโหสิ. “ มา ภนฺเต เอวมกตฺถ; สมณธมฺโม นาม , สรีเร ยาเปนฺเต , สกฺกา กาตุํ ; นิปชฺชิตฺวา อาสิญฺจถาติ ปุนปฺปุนํ ยาจิ. “คจฺฉาวุโส, มนฺเตตฺวา ชานิสฺสามีติ. อ. ภิกษุ ท. ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระเถระ ในเวลาเป็นที่เที่ยวไป เพื่อภิกษา กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่าน ผู้เจริญ ( อ. เวลานี้) เป็นเวลาเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุท. ถ้าอย่างนั้น อ.ท่านท.จงถือเอาซึ่งบาตรและจีวรดังนี้ (ยังภิกษุท.)ให้ถือเอาแล้ว ซึ่งบาตรและจีวร ของตน ออกไปแล้ว ฯ อ. ภิกษุ ท. เห็นแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระเถระนั้น อันหลั่งออกอยู่ถามแล้วว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญอ.เหตุนั่นอะไรดังนี้ฯ (อ. พระเถระ) (กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ลม ท. ย่อมเสียดแทง ซึ่งนัยน์ตา ท. ของเรา ดังนี้ฯ (อ. ภิกษุ ท. กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. เรา ท.) เป็นผู้อันหมอปวารณาแล้ว ย่อมเป็น มิใช่หรือ, อ. เรา ท. พึงบอก แก่หมอนั้น ดังนี้ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ. ดีละ ดังนี้ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น บอกแล้ว แก่หมอ ฯ อ. หมอนั้น หุงแล้ว ซึ่งน�้ำมัน ส่งไปแล้ว ฯ อ. พระเถระ เมื่อหยอด ซึ่งน�้ำมัน ผู้นั่งแล้วเทียว หยอดแล้ว โดยจมูก ได้เข้าไปแล้ว สู่ภายในแห่งบ้าน ฯ อ. หมอ เห็นแล้ว กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ได้ยินว่า อ. ลม ย่อมเสียดแทง ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระผู้เป็นเจ้า หรือ ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ. อย่างนั้น) ดังนี้ฯ (อ.หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. น�้ำมัน อันกระผม หุงแล้ว ส่งไปแล้ว, (อ.น�้ำมัน) อันท่าน ท. หยอดแล้วโดยจมูก หรือ ดังนี้ ฯ (อ.พระเถระกล่าวแล้ว)ว่า ดูก่อนอุบาสกเออ (อ.อย่างนั้น) ดังนี้ฯ (อ. หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ในกาลนี้(อกฺขิยุคํ อ. คู่แห่งนัยน์ตา) เป็นเช่นไร (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ. ลม) เสียดแทงอยู่นั่นเทียว ดังนี้ ฯ อ. หมอ คิดแล้ว ว่า อ. น�้ำมัน อันเรา ส่งไปแล้ว เพื่ออันยังโรค ให้เข้าไปสงบวิเศษ โดยวาระหนึ่งนั่นเทียว , อ. โรค ไม่เข้าไปสงบ วิเศษแล้ว เพราะเหตุอะไรหนอแล ดังนี้ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่าน ผู้เจริญ (อ. น�้ำมัน) อันท่าน ท. นั่งแล้ว หยอดแล้ว หรือ, ( หรือว่า อ. น�้ำมัน อันท่าน ท.) นอนแล้ว (หยอดแล้ว) ดังนี้ฯ อ. พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว; แม้ผู้อันหมอถามอยู่ บ่อย ๆ ไม่บอกแล้ว ฯ อ. หมอนั้น คิดแล้ว ว่า อ. เรา ไปแล้ว สู่วิหาร จักตรวจดู ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ดังนี้ (กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ถ้าอย่างนั้น อ. ท่าน ท. จงไป ดังนี้ ผละแล้ว ซึ่งพระเถระ ไปแล้ว สู่วิหาร ตรวจดูอยู่ ซึ่งที่เป็นที่อยู่ ของพระเถระ เห็นแล้ว ซึ่งที่เป็นที่จงกรม และที่เป็นที่นั่งนั่นเที่ยว ไม่เห็นแล้วซึ่งที่เป็นที่นอน ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. น�้ำมัน) อันท่าน ท. ผู้นั่งแล้ว หยอดแล้วหรือ, (หรือว่า อ. น�้ำมัน อันท่าน ท.) ผู้นอนแล้ว (หยอดแล้ว) ดังนี้ ฯ อ. พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว ฯ (อ.หมอ กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. อย่าได้กระท�ำแล้ว อย่างนี้ : ชื่อ อ. สมณธรรม, ครั้นเมื่อสรีระ เป็นไปอยู่, (อันท่าน ท.) อาจ เพื่ออันกระท�ำ ; อ. ท่าน ท. ขอจงนอนหยอด ดังนี้ อ้อนวอนแล้ว บ่อย ๆ ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ อ. ท่าน จงไป, อ. เรา ปรึกษาแล้ว จักรู้ ดังนี้ฯ
  • 15. ธรรมบทภาคที่ ๑ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 10 เถรสฺส จ ตตฺถ เนว ญาตี น สาโลหิตา อตฺถิ, เกน สทฺธึ มนฺเตยฺย? กรชกาเยน ปน สทฺธึ มนฺเตนฺโต “ วเทหิ ตาว อาวุโส ปาลิต, กึ อกฺขี โอโลเกสฺสสิ อุทาหุ พุทฺธสาสนํ? อนมตคฺคสฺมึ หิ สํสารวฏฺเฏ ตว อกฺขิกาณสฺส คณนา นตฺถิ, อเนกานิ ปน พุทฺธสตานิ พุทฺธสหสฺสานิ อตีตานิ; เตสุ เอกพุทฺโธปิ น ปริจฺฉินฺโน, อิทานิ อิมํ อนฺโตวสฺสํ ตโย มาเส น นิปชฺชิสฺสามีติ เต มานสํ พทฺธํ; ตสฺมา จกฺขูนิ เต นสฺสนฺตุ วา ภิชฺชนฺตุ วา; พุทฺธสาสนเมว ธาเรหิ , มา จกฺขูนีติ ภูตกายํ โอวทนฺโต อิมา คาถา อภาสิ “จกฺขูนิ หายนฺตุ มมายิตานิ, โสตานิ หายนฺตุ, ตเถว เทโห, สพฺพมฺปิทํ หายตุ เทหนิสฺสิตํ; กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ. จกฺขูนิ ชีรนฺตุ มมายิตานิ, โสตานิ ชีรนฺตุ , ตเถว กาโย, สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ กายนิสฺสิตํ; กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสิ. จกฺขูนิ ชีรนฺตุ มมายิตานิ, โสตานิ ชีรนฺตุ , ตเถว กาโย, สพฺพมฺปิทํ ชีรตุ กายนิสฺสิตํ; กึการณา ปาลิต ตฺวํ ปมชฺชสีติ. (อ.อันถาม)ว่าก็อ.ญาติท.ของพระเถระ(ย่อมไม่มีนั่นเทียว) ในบ้านนั้น (อ. ชน ท.) ผู้เป็นไปกับด้วยเลือด (ของพระเถระ) ย่อมไม่มี (ในบ้านนั้น) (อ. พระเถระ) พึงปรึกษา กับ ด้วยใคร ? (ดังนี้) ฯ (อ.อันแก้) ว่า (อ.พระเถระ พึงปรึกษา กับ ด้วยกรัชกาย ดังนี้) ฯ ก็ (อ. พระเถระ) เมื่อปรึกษา กับ ด้วยกรัชกาย กล่าวสอนอยู่ ซึ่งกายอันมีแล้ว ว่า แน่ะ ปาลิต ผู้มีอายุ อ. ท่าน จงกล่าว ก่อน , อ. ท่าน จักแลดู ซึ่งนัยน์ตา ท. หรือ หรือว่า (อ. ท่าน จักแลดู) ซึ่งค�ำสอนของพระพุทธเจ้า ? จริงอยู่ อ. อันนับ ซึ่งอันบอดแห่งนัยน์ตา แห่งท่าน ย่อมไม่มี ในสังสารวัฏฏ์ อันมีที่สุดและเบื้องต้น อันบุคคลผู้ไปตามอยู่ ไม่รู้แล้ว, ก็ อ. ร้อยแห่งพระพุทธเจ้า ท. อ. พันแห่งพระพุทธเจ้า ท. มิใช่หนึ่ง ล่วงไปแล้ว ; ในพระพุทธเจ้า ท. เหล่านั้นหนา แม้ อ. พระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง (อันท่าน) ไม่ก�ำหนดแล้ว, ในกาลนี้ อ. ใจ อันท่าน ผูกแล้ว ว่า อ. เรา จักไม่นอน สิ้นเดือน ท. สาม ตลอดภายในแห่งกาลฝนนี้ ดังนี้ ; เพราะเหตุนั้น อ. นัยน์ตา ท. ของท่าน จงฉิบหายหรือ หรือว่า จงแตก ; อ. ท่าน จงทรงไว้ ซึ่งค�ำสอนของพระพุทธเจ้านั่นเทียว , (อ. ท่าน จงอย่าทรงไว้) ซึ่งนัยน์ตา ท. ดังนี้ได้กล่าวแล้ว ซึ่งคาถา ท. เหล่านี้ว่า อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงเสื่อม, อ. หู ท. จงเสื่อม, อ. กาย (จงเสื่อม) อย่างนั้นนั่นเทียว, อ. อวัยวะ นี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงเสื่อม, แน่ะปาลิต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงคร�ำ่คร่า, อ. หู ท. จงคร�ำ่คร่า, อ.กาย (จงคร�ำ่คร่า) อย่างนั้นนั่นเทียว, อ. อวัยวะนี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งกาย จงคร�ำ่คร่า, แน่ะปาลิต อ.ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ฯ อ. นัยน์ตา ท. อันโลกนับถือแล้วว่าเป็นของแห่งเรา จงแตก, อ. หู ท. จงแตก, อ. รูป (จงแตก) อย่างนั้นนั่นเทียว, อ. อวัยวะนี้ แม้ทั้งปวง อันอาศัยแล้วซึ่งรูป จงแตก, แน่ะปาลิต อ. ท่าน ประมาทอยู่ เพราะเหตุไร ดังนี้ ฯ
  • 16. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 11 เอวํ ตีหิ คาถาหิ อตฺตโน โอวาทํ ทตฺวา นิสินฺนโกว นตฺถุกมฺมํ กตฺวา คามํ ปิณฺฑาย ปาวิสิ. เวชฺโช ทิสฺวา “กึ ภนฺเต นตฺถุกมฺมํ กตนฺติ ปุจฺฉิ. “อาม อุปาสกาติ. “กีทิสํ ภนฺเตติ. รุชเตว อุปาสกาติ. “นิสีทิตฺวา โว ภนฺเต กตํ, นิปชฺชิตฺวาติ. เถโร ตุณฺหี อโหสิ; ปุนปฺปุนํ ปุจฺฉิโตปิ, น กิญฺจิ กเถสิ. อถ นํ เวชฺโช “ภนฺเต ตุมฺเห สปฺปายํ น กโรถ, อชฺช ปฏฺ€าย “อสุเกน เม เตลํ ปกฺกนฺติ มา วทิตฺถ, อหํปิ “มยา โว เตลํ ปกฺกนฺติน วกฺขามีติ อาห. โสเวชฺเชนปจฺจกฺขาโต,วิหารํคนฺตฺวา “เวชฺเชนาปิ ปจฺจกฺขาโตสิ , อิริยาปถํ มา วิสฺสชฺชิ สมณาติ, “ปฏิกฺขิตฺโต ติกิจฺฉาย เวชฺเชนาสิ วิวชฺชิโต นิยโต มจฺจุราชสฺส, กึ ปาลิต ปมชฺชสีติ อิมาย คาถาย อตฺตานํ โอวทิตฺวา สมณธมฺมํ อกาสิ. อถสฺส มชฺฌิมยาเม อติกฺกนฺตมตฺเต, อปุพฺพํ อจริมํ อกฺขีนิ เจว กิเลสา จ ปภิชฺชึสุ . โส สุกฺขวิปสฺสโก อรหา หุตฺวา คพฺภํ ปวิสิตฺวา นิสีทิ. ภิกฺขู ภิกฺขาจารเวลาย คนฺตฺวา “ภิกฺขาจารกาโล ภนฺเตติ อาหํสุ. “กาโล อาวุโสติ. “อาม ภนฺเตติ. “เตนหิ คจฺฉถาติ. “ตุมฺเห ปน ภนฺเตติ. “อกฺขีนิ เม อาวุโส ปริหีนานีติ. เต ตสฺส อกฺขีนิ โอโลเกตฺวา อสฺสุปุณฺณเนตฺตา หุตฺวา “ภนฺเต มา จินฺตยิตฺถ, (อ. พระเถระ) ครั้นให้แล้ว ซึ่งโอวาท แก่ตน ด้วยคาถา ท. สาม อย่างนี้ผู้นั่งแล้วเทียว กระท�ำแล้วซึ่งกรรมคืออันนัตถุ์ ได้เข้าไปแล้ว สู่บ้าน เพื่อบิณฑะ ฯ อ. หมอ เห็นแล้ว ถามแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. กรรมคือ การนัตถุ์ (อันท่าน) กระท�ำแล้วหรือ ดังนี้ฯ (อ. พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก เออ (อ.กรรม คือการนัตถุ์ อันเรา กระท�ำแล้ว ดังนี้ ฯ (อ.หมอนั้น ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.คู่แห่งนัยน์ตา) เป็นเช่นไร (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ (อ.พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนอุบาสก (อ.คู่แห่งนัยน์ตา) ปวดอยู่นั่นเทียว ดังนี้ฯ (อ.หมอ ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.กรรมคือการนัตถุ์) อันท่าน ท. นั่งแล้ว ท�ำแล้วหรือ, (หรือว่า อ. กรรมคือการนัตถุ์ อันท่าน ท.) นอนแล้ว (ท�ำแล้ว) ดังนี้ ฯ อ.พระเถระ เป็นผู้นิ่ง ได้เป็นแล้ว แม้ผู้อันหมอนั้นถามแล้ว บ่อย ๆ ไม่กล่าวแล้ว ซึ่งค�ำอะไร ๆ ฯ ครั้งนั้น อ.หมอ กล่าวแล้ว กะพระเถระนั้น ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ.ท่าน ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งความสบาย อ.ท่าน อย่ากล่าวแล้ว ว่า อ.น�้ำมัน อันหมอโน้น หุงแล้ว แก่เรา ดังนี้แม้ อ.กระผม จักไม่กล่าว ว่า อ.น�้ำมัน อันกระผมหุงแล้ว แก่ท่าน ดังนี้จ�ำเดิมแต่วันนี้ดังนี้ฯ อ. พระเถระนั้น ผู้อันหมอบอกคืนแล้ว ไปแล้ว สู่วิหาร (คิดแล้ว) ว่า อ.ท่าน เป็นผู้แม้อันหมอบอกคืนแล้ว ย่อมเป็น, ดูก่อนสมณะ อ.ท่าน อย่าสละแล้ว ซึ่งอิริยาบถ ดังนี้ สอนแล้ว ซึ่งตน ด้วยคาถา นี้ว่า (อ. ท่าน) เป็นผู้อันอันหมอ ปฏิเสธแล้ว เป็นผู้อันหมอ เว้นแล้วจากอันเยียวยา (การรักษา) ย่อมเป็น (อ. ท่าน) เป็นผู้เที่ยงแท้ต่อมัจจุผู้พระราชา (ย่อมเป็น) ดูก่อนปาลิตะ อ. ท่าน ย่อมประมาท เพราะเหตุไร ดังนี้ ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งสมณธรรม ฯ ครั้งนั้น ครั้นเมื่อยามอันมีในท่ามกลาง เป็นกาลสักว่าก้าวล่วงแล้ว (มีอยู่), อ.นัยน์ตาท. ด้วยนั่นเทียว อ.กิเลสท. ด้วย ของพระเถระนั้น แตกทั่วแล้ว ไม่ก่อน ไม่หลัง ฯ อ. พระเถระนั้น เป็นพระอรหันต์ ผู้เห็นแจ้งอย่างแห้งแล้ง เป็น เข้าไปแล้ว สู่ห้อง นั่งแล้ว ฯ อ.ภิกษุ ท. ไปแล้ว ในเวลาเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ.กาลนี้) เป็นกาลเป็นที่เที่ยวไปเพื่อภิกษา (ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ (อ.พระเถระ ถามแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุท. (อ.กาลนี้)เป็นกาล (ย่อมเป็นหรือ)ดังนี้ฯ (อ.ภิกษุ ท.กล่าวแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ขอรับ (อ.กาลนี้เป็นกาล ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ (อ.พระเถระกล่าวแล้ว) ว่า ถ้าอย่างนั้น อ.ท่าน ท. จงไปเถิด ดังนี้ฯ (อ.ภิกษุ ท. ถามแล้ว) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ก็ อ. ท่าน ท. เล่า ดังนี้ฯ (อ.พระเถระ กล่าวแล้ว) ว่า ดูก่อนท่านผู้มีอายุ ท. อ.นัยน์ตา ท. ของกระผม เสื่อมรอบแล้ว ดังนี้ ฯ อ. ภิกษุ ท. เหล่านั้น แลดูแล้ว ซึ่งนัยน์ตา ท. ของพระเถระนั้น เป็นผู้มีดวงตาอันเต็มแล้วด้วยน�้ำตา เป็น ยังพระเถระ ให้หายใจ ออกแล้ว (ด้วยค�ำ) ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. อย่าคิดแล้ว,