SlideShare a Scribd company logo
1 of 156
Download to read offline
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1
คณะผู้จัดท�ำ
ผู้อุปถัมภ์โครงการ
	 พระเทพญาณมหามุนี	 เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย
	 พระราชภาวนาจารย์	 รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย	
ที่ปรึกษา
	 พระมหา ดร. สมชาย     	        ฐานวุฑฺโฒ
	 พระมหาสมเกียรติ         	        วรยโส ป.ธ.๙
	 พระมหาบุญชัย              	        จารุทตฺโต
	 พระมหาวีรวัฒน์            	        วีรวฑฺฒโก       ป.ธ.๙    	
	 พระมหา ดร. สุธรรม     	        สุรตโน            ป.ธ.๙
	 พระครูใบฎีกาอ�ำนวยศักดิ์       มุนิสกฺโก	
	 พระมหา ดร. สมบัติ       	       อินฺทปญฺโญ     ป.ธ.๙
	 พระมหาวิทยา       	        จิตฺตชโย     ป.ธ.๙
เรียบเรียง
	 พระมหาอารีย์       พลาธิโก      ป.ธ.๗
	 พระมหาสมบุญ    อนนฺตชโย   ป.ธ.๘
จัดรูปเล่ม
	 พระมหาสมบุญ    อนนฺตชโย   ป.ธ.๘
	 พระมหาวันชนะ   ญาตชโย      ป.ธ.๕
	 พระมหาอภิชาติ    วชิรชโย       ป.ธ.๗
	 พระมหาเฉลิม       ฉนฺทชโย     ป.ธ.๔
ผู้ตรวจทาน
	 นายสุเทพ    นากุดนอก   ป.ธ.๔   อาจารย์สอนบาลีประโยค ๑-๒  ส�ำนักเรียนวัดพระธรรมกาย
ออกแบบปก/ภาพวาด
	 พระมหาสมบุญ  อนนฺตชโย   และ กองพุทธศิลป์ วัดพระธรรมกาย
พิมพ์ครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม   ๒๕๕๖    จ�ำนวน      ๖๐๐  เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์
พิมพ์ครั้งที่ ๒ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๖    จ�ำนวน  ๑,๕๐๐  เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์โอ เอส  พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ครั้งที่ ๓ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๗    จ�ำนวน  ๒,๐๐๐ เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์โอ เอส  พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด
พิมพ์ครั้งที่ ๔ :    กรกฎาคม   ๒๕๕๘    จ�ำนวน  ๒,๐๐๐ เล่ม     พิมพ์ที่  โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง
ลิขสิทธิ์ : ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย  ต.คลองสาม  อ.คลองหลวง  จ.ปทุมธานี
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
2
ค�ำน�ำ
	 ด้วยตระหนักและเห็นความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดของการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุ
สามเณร ดังค�ำกล่าวยืนยันของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย)  
ซึ่งได้กล่าวไว้ในโอกาสที่ได้จัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม
๙ ประโยค เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ อันเป็นปีที่ ๑๓ ของการจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระ
ภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ว่า
“ผู้ที่สอบได้เปรียญธรรม ถือว่าเป็น วีรบุรุษกองทัพธรรม เป็นผู้น�ำความภาคภูมิใจ
มาสู่คณะสงฆ์ หลวงพ่อรู้สึกชื่นชมยินดีเป็นอย่างยิ่งและปรารถนาจะให้ก�ำลังใจแก่ผู้ที่สอบได้
และผู้ที่ก�ำลังจะสอบได้ตามมา ให้เห็นความส�ำคัญและรับรู้ว่า สิ่งที่ท่านทั้งหลายก�ำลังพากเพียร
ศึกษาอยู่นี้ มีความส�ำคัญมาก และยังมีผู้คนทั้งหลายรอคอยและปรารถนาจะเห็นความส�ำเร็จ
ของทุกท่าน ผู้จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการท�ำงานพระศาสนา เพื่อความเจริญยิ่งยืนนาน
ของพระพุทธศาสนาสืบต่อไปในอนาคต”
	 พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าส�ำนักเรียน มีความยินดี
เป็นอย่างยิ่งที่จะสนับสนุน และขอปวารณาที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมการศึกษา
พระปริยัติธรรม  ของพระภิกษุสามเณร  ตลอดไปตราบนานเท่านาน
	 และได้มีด�ำริให้จัดท�ำ  โครงการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุ
สามเณรทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้การส่งเสริม
สนับสนุนเป็นก�ำลังใจ อีกทั้งมุ่งหมายจะก่อให้เกิดการตื่นตัวด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม
ของพระภิกษุสามเณรทั่วประเทศ  รวมถึงเป็นสื่อกลางให้คณะสงฆ์ผู้บริหารการศึกษาทั่วสังฆมณฑล
ได้มาร่วมปรึกษา เพื่อการพัฒนาการศึกษาพระปริยัติธรรมให้ก้าวหน้า ไปในทิศทางเดียวกัน
โดยเริ่มต้นจากการถวายทุนการศึกษา การจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้
เปรียญธรรม ๙ ประโยค  การจัดพิมพ์ต�ำราคู่มือบาลีถวายแก่ส�ำนักเรียนที่สนใจ และอื่นๆ
ที่จะได้ริเริ่มจัดท�ำในโอกาสต่อไป
หนังสือธรรมบทสองภาษาบาลี-ไทย ภาค๑-๘  ส�ำหรับนักเรียนบาลีชั้นประโยค๑-๒
และ ป.ธ.๓ นี้  ทางคณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม ได้รวบรวมเรียบเรียงขึ้น โดยอาศัยความรู้
จากต�ำรา และบูรพาจารย์ทั้งหลาย  จัดพิมพ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม  
ของพระภิกษุสามเณร ผู้แรกเริ่มศึกษาภาษาบาลี และผู้สนใจทั่วไป เพื่ออ�ำนวยประโยชน์
เป็นวิทยาทาน แก่ผู้ศึกษาอย่างเต็มที่  ให้เรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น
	 อนึ่งหากหนังสือเล่มนี้ยังมีการขาดตกบกพร่องประการใด หรือมีข้อเสนอแนะที่เป็น
ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจ้งให้ทางส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย
ทราบด้วย จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง เพื่อจะได้น�ำมาปรับปรุงแก้ไขให้บริบูรณ์ยิ่งขึ้น ในการ
จัดพิมพ์ครั้งต่อไป
ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย   จ.ปทุมธานี
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3
สารบัญธรรมบทภาค ๔
	 เรื่อง											 หน้าที่
	 ๖.บัณฑิตวรรค วรรณนา
	 	 ๑.	 เรื่องพระราธเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๑
	 	 ๒.	 เรื่องภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะ	 	 	 	 	 	 	 ๕
	 	 ๓.	 เรื่องพระฉันนเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๗
	 	 ๔.	 เรื่องพระมหากัปปินเถระ		 	 	 	 	 	 	 ๙
	 	 ๕.	 เรื่องบัณฑิตตสามเณร	 	 	 	 	 	 	 	 ๒๑
	 	 ๖.	 เรื่องพระลกุณฏกภัททิยเถระ	 	 	 	 	 	 	 ๓๙
	 	 ๗.	 เรื่องมารดาของนางกาณา		 	 	 	 	 	 	 ๔๐
	 	 ๘.	 เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รูป	 	 	 	 	 	 	 	 ๔๔
	 	 ๙.	 เรื่องพระเถระผู้ตั้งอยู่ในธรรม	 	 	 	 	 	 	 ๔๗
	 	 ๑๐.	 เรื่องการฟังธรรม	 	 	 	 	 	 	 	 ๔๙
	 	 ๑๑.	 เรื่องภิกษุอาคันตุกะ	 	 	 	 	 	 	 	 ๕๑
	 ๗.อรหันตวรรค วรรณนา
	 	 ๑.	 เรื่องหมอชีวก	 	 	 	 	 	 	 	 	 ๕๓
	 	 ๒.	 เรื่องพระมหากัสสปเถระ		 	 	 	 	 	 	 ๕๕
	 	 ๓.	 เรื่องพระเพฬัฏฐสีสเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๕๘
	 	 ๔.	 เรื่องพระอนุรุทธเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๖๑
	 	 ๕.	 เรื่องพระมหากัจจายนเถระ	 	 	 	 	 	 	 ๖๓
	 	 ๖.	 เรื่องพระสารีบุตรเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๖๕
	 	 ๗.	 เรื่องพระติสสเถระชาวกรุงโกสัมพี	 	 	 	 	 	 ๖๘
	 	 ๘.	 เรื่องพระสารีบุตรเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๗๒
	 	 ๙.	 เรื่องพระขทิรวนิยเรวตเถระ	 	 	 	 	 	 	 ๗๔
	 	 ๑๐.	 เรื่องหญิงคนใดคนหนึ่ง	 	 	 	 	 	 	 	 ๘๔
	 ๘.สหัสสวรรค วรรณนา
	 	 ๑.	 เรื่องบุรุษผู้ฆ่าโจรมีเคราแดง	 	 	 	 	 	 	 ๘๗
	 	 ๒.	 เรื่องพระทารุจีริยเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๙๒
	 	 ๓.	 เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี	 	 	 	 	 	 	 	 ๙๘
	 	 ๔.	 เรื่องอนัตถปุจฉกพราหมณ์	 	 	 	 	 	 	 ๑๐๖
	 	 ๕.	 เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นลุงของพระสารีบุตรเถระ	 	 	 	 	 ๑๐๙
	 	 ๖.	 เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นหลานของพระสารีบุตรเถระ	 	 	 	 	 ๑๑๐
	 	 ๗.	 เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นสหายของพระสารีบุตรเถระ	 	 	 	 	 ๑๑๑
	 	 ๘.	 เรื่องอายุวัฒนกุมาร	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๑๓
	 	 ๙.	 เรื่องสังกิจจสามเณร	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๑๗
	 	 ๑๐.	 เรื่องพระขานุโกณฑัญญเถระ	 	 	 	 	 	 	 ๑๒๘
	 	 ๑๑.	 เรื่องพระสัปปทาสเถระ	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๓๐
	 	 ๑๒.	 เรื่องนางปฏาจารา	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๓๕
	 	 ๑๓.	 เรื่องนางกิสาโคตมี	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๔๓
	 	 ๑๔.	 เรื่องพระพหุปุตติกาเถรี	 	 	 	 	 	 	 	 ๑๔๘
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
4
““การศึกษานั้น สามารถเปลี่ยนชีวิตของผู้ศึกษา ให้สูงกว่าพื้นเดิม
คนที่มีการศึกษาดี จะได้อะไรก็ดีกว่าประณีตกว่าผู้อื่น คนมีวิชาเท่ากับ
ได้สมบัติจักรพรรดิ กินใช้ไม่หมด””
พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1
๖. ปณฺฑิตวคฺควณฺณนา
๑. ราธตฺเถรวตฺถุ. (๖๐)
“นิธีนํว ปวตฺตารนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
เชตวเน วิหรนฺโต อายสฺมนฺตํ ราธํ อารพฺภ กเถสิ.
โส กิร คิหิกาเล สาวตฺถิยํ ทุคฺคตพฺราหฺมโณ
อโหสิ.
โส “ภิกฺขูนํ สนฺติเก ชีวิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา
วิหารํ คนฺตฺวา อปหริตํ กโรนฺโต ปริเวณํ
สมฺมชฺชนฺโต มุขโธวนาทีนิ ททนฺโต วิหาเร วสิ.
ภิกฺขูปิ นํ สงฺคณฺหึสุ, ปพฺพาเชตุํ ปน น อิจฺฉนฺติ.
โส ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส อโหสิ.
อเถกทิวสํ สตฺถา ปจฺจูสกาเล โลกํ โวโลเกนฺโต
ตํ พฺราหฺมณํ ทิสฺวา “กินฺนุ โขติ อุปธาเรนฺโต
“อรหา ภวิสฺสตีติ ญตฺวา สายณฺหสมเย วิหารจาริกํ
จรนฺโต วิย พฺราหฺมณสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา
“พฺราหฺมณ กึ กโรนฺโต วิจรสีติ อาห.
“ภิกฺขูนํ วตฺตปฺปฏิวตฺตํ กโรมิ ภนฺเตติ อาห.
“ลภสิ เตสํ สนฺติกา สงฺคหนฺติ. “อาม ภนฺเต,
อาหารมตฺตํ ลภามิ, น ปน มํ ปพฺพาเชนฺตีติ.
สตฺถาเอตสฺมึ นิทาเน ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา
ตมตฺถํ ปุจฺฉิตฺวา “ภิกฺขเว อตฺถิ โกจิ อิมสฺส
พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรนฺโตติ ปุจฺฉิ. สารีปุตฺตตฺเถโร
“อหํ ภนฺเต สรามิ,
๖.อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรค
อันบัณฑิตก�ำหนดแล้วด้วยบัณฑิต
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
๑. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าราธะ
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
	
อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ
ซึ่งพระราธะ ผู้มีอายุ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า นิธีนํว
ปวตฺตารํ ดังนี้เป็นต้น ฯ
	
ได้ยินว่า อ.พระราธะนั้น เป็นพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก
ในกรุงสาวัตถี ในกาลแห่งตนเป็นคฤหัสถ์ ได้เป็นแล้ว ฯ
อ.ราธะพราหมณ์นั้น คิดแล้วว่า อ. เรา จักเป็นอยู่ ในส�ำนัก
แห่งภิกษุ ท. ดังนี้ ไปแล้ว สู่วิหาร กระท�ำอยู่ซึ่งภาคพื้น ให้มี
ของเขียวไปปราศแล้ว กวาดอยู่ซึ่งบริเวณ ถวายอยู่ ซึ่งวัตถุ ท.
มีน�้ำเป็นเครื่องล้างซึ่งหน้าเป็นต้น อยู่แล้วในวิหาร ฯ แม้ อ. ภิกษุ ท.
สงเคราะห์แล้ว ซึ่งราธะพราหมณน์นั้น, แต่ว่า อ. ภิกษุ ท.
ย่อมไม่ปรารถนา เพื่ออัน ยังราธะพราหมณ์นั้น ให้บรรพชา ฯ
อ.ราธพราหมณน์นั้น เมื่อไม่ได้ ซึ่งการบรรพชา เป็นผู้ผ่ายผอม
ได้เป็นแล้ว ฯ
ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ.พระบรมศาสดา ทรงตรวจดูอยู่
ซึ่งโลก ในกาลอันเป็นที่ก�ำจัดเฉพาะซึ่งมืด ทอดพระเนตรเห็นแล้ว
ซึ่งพราหมณน์นั้น ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า อ.เหตุอะไร หนอแล ดังนี้
ทรงทราบแล้วว่า อ.ราธะพราหมณ์นั้น เป็นพระอรหันต์ จักเป็น
ดังนี้ เป็นราวกะว่าเสด็จเที่ยวไปอยู่ สู่ที่จาริกในวิหาร ในสมัย
อันเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน (เป็น) เสด็จไปแล้วสู่ส�ำนัก ของพราหมณ์
ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนพราหมณ์ อ.ท่าน ท�ำอยู่ซึ่งอะไร ย่อมเที่ยวไป
ดังนี้ฯ
(อ. พราหมณ์ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อ.ข้าพระองค์ กระท�ำอยู่ซึ่งวัตรและวัตรตอบ แก่ภิกษุ ท. ดังนี้ ฯ
อ.พระบรมศาสดา ตรัสถามแล้วว่า อ. ท่าน ย่อมได้ ซึ่งการสงเคราะห์
จากส�ำนัก ของภิกษุ ท. เหล่านั้น หรือ ดังนี้ ฯ (อ.พราหมณ์
กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ.อย่างนั้น
อ.ข้าพระองค์ ย่อมได้ ซึ่งวัตถุอันมีอาหารเป็นประมาณ, แต่ว่า
อ.ภิกษุ ท. เหล่านั้น ย่อมยังข้าพระองค์ให้บรรพชา หามิได้ ดังนี้ ฯ
อ.พระศาสดา ทรงยังหมู่แห่งภิกษุ ให้ประชุมกันแล้ว
ในเพราะเหตุนั่น ตรัสถามแล้ว ซึ่งเนื้อความนั้น ตรัสถามแล้ว ว่า
ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ใคร ๆ ผู้ระลึกถึงอยู่ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระท�ำยิ่ง
ของพราหมณ์นี้ มีอยู่หรือ ดังนี้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร
กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ข้าพระองค์ ย่อมระลึกได้,
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
2
อ.พราหมณ์นี้ ยังบุคคล ให้ถวายแล้ว ซึ่งภิกษาอันมีทัพพีหนึ่ง
เป็นประมาณ อันอันบุคคล น�ำมาแล้ว เพื่อตน แก่ข้าพระองค์
ผู้เที่ยวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว ในกรุงราชคฤห์, อ.ข้าพระองค์
ย่อมระลึกถึงได้ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระท�ำยิ่ง ของพราหมณ์นี้
ดังนี้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น (ครั้นเมื่อพระด�ำรัส) ว่า
ดูก่อนสารีบุตร ก็ อ.อันอันเธอ ยังพราหมณ์ผู้มีอุปการะอันตน
กระท�ำแล้วอย่างนี้ ให้พ้นจากความทุกข์ ย่อมไม่ควรหรือ ดังนี้
อันพระบรมศาสดา ตรัสแล้ว กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
อ.ดีละ อ.ข้าพระองค์ ยังพราหมณ์นั้น จักให้บรรพชา ดังนี้
ยังพราหมณ์นั้น ให้บรรพชาแล้ว ฯ
อ.อาสนะ ในที่สุดรอบแห่งอาสนะ ในโรงแห่งภัตร ย่อมถึง
แก่ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น, (อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น) ย่อมล�ำบาก
(ด้วยวัตถุ ท.) มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น ฯ อ. พระเถระ
พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น หลีกไปแล้ว สู่ที่จาริก กล่าวสอนแล้ว
ตามสอนแล้ว ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น เนือง ๆ ว่า อ. กรรมนี้อันเธอ
พึงกระท�ำ, อ.กรรมนี้อันเธอ ไม่พึงกระท�ำ ดังนี้ฯ
อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น เป็นผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่าย
เป็นผู้รับซึ่งโอวาทโดยเบื้องขวาโดยปกติ ได้เป็นแล้ว; เพราะเหตุนั้น
(อ. ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น) ปฏิบัติอยู่ ตามค�ำอันพระเถระพร�่ำสอนแล้ว
บรรลุแล้ว ซึ่งพระอรหัต โดยวันเล็กน้อยนั่นเทียว ฯ อ. พระเถระ
พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระศาสดา
ถวายบังคมแล้ว นั่งแล้ว ฯ
ครั้งนั้น อ.พระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ว ซึ่งปฏิสันถาร ตรัสแล้ว
กะพระเถระนั้น ว่า ดูก่อนสารีบุตร อ. อันเตวาสิก ของเธอ เป็น
ผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่ายหรือ หนอแล (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ
(อ. พระเถระนั้น กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
พระเจ้าข้า อ.อันเตวาสิก ของข้าพระองค์ เป็นผู้อันบุคคล
พึงว่าได้โดยง่าย เกินเปรียบ (ย่อมเป็น) , ครั้นเมื่อโทษอะไร ๆ
แม้อันข้าพระองค์ กล่าวอยู่, (อ.อันเตวาสิกนั้น) เป็นผู้เคยโกรธแล้ว
(ย่อมเป็น) หามิได้ ดังนี้ฯ
(อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า ดูก่อนสารีบุตร อ. เธอ
เมื่อได้ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท. มีอย่างนี้เป็นรูป พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท.
มีประมาณเท่าไร ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กราบทูลแล้ว) ว่า
ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท.
แม้มากนั่นเทียว ดังนี้ ฯ
ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าว
ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็นที่กล่าว กับด้วยการแสดงซึ่งธรรม
ว่า ได้ยินว่า อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร เป็นผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวที
(เป็น) ระลึกถึงแล้ว ซึ่งอุปการะ มีภิกษามีทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ
ยังพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ให้บวชแล้ว ; แม้ อ. พระเถระ
ชื่อว่าราธะ เป็นผู้อดทนต่อโอวาท (เป็น) ได้แล้ว (ซึ่งอาจารย์)
ผู้อดทน ต่อโอวาทนั่นเทียว ดังนี้ฯ
อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าว ของ
ภิกษุ ท.เหล่านั้น ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. สารีบุตร เป็น
ผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวที ย่อมเป็น) ในกาลนี้นั่นเทียว หามิได้,
อ. สารีบุตร เป็นผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวทีนั่นเทียว (ได้เป็นแล้ว)
แม้ในกาลก่อน ดังนี้
อยํ เม ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตสฺส อตฺตโน
อภิหฏํ กฏจฺฉุภิกฺขํ ทาเปสิ, อิมสฺสาหํ อธิการํ
สรามีติ อาห. โส, สตฺถารา “กึ ปน เต สารีปุตฺต
เอวํ กโตปการํ ทุกฺขโต โมเจตุํ น วฏฺฏตีติ วุตฺเต,
“สาธุ ภนฺเต, ปพฺพาเชสฺสามีติ ตํ พฺราหฺมณํ
ปพฺพาเชสิ.
ตสฺส ภตฺตคฺเค อาสนปริยนฺเต อาสนํ
ปาปุณาติ, ยาคุภตฺตาทีหิ กิลมติ. เถโร ตํ อาทาย
จาริกํ ปกฺกามิ, อภิกฺขณํ นํ “อิทนฺเต กตฺตพฺพํ,
อิทนฺเต น กตฺตพฺพนฺติ โอวทิ อนุสาสิ.
โส สุวโจ อโหสิ ปทกฺขิณคฺคาหี; ตสฺมา
ยถานุสิฏฺ€ํ ปฏิปชฺชมาโน กติปาเหเนว อรหตฺตํ
ปาปุณิ. เถโร ตํ อาทาย สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา
วนฺทิตฺวา นิสีทิ.
อถ นํ สตฺถา ปฏิสนฺถารํ กตฺวา อาห “สุวโจ
นุ โข เต สารีปุตฺต อนฺเตวาสิโกติ,
“อาม ภนฺเต, อติวิย สุวโจ, กิสฺมิฺจิ โทเส
วุจฺจมาเนปิ, น กุทฺธปุพฺโพติ.
“สารีปุตฺต เอวรูเป สทฺธิวิหาริเก ลภมาโน
กิตฺตเก คณฺเหยฺยาสีติ. “ภนฺเต พหุเกปิ
คเหยฺยาเมวาติ.
อเถกทิวสํ ธมฺมสภายํ ภิกฺขู กถํ สมุฏฺ€าเปสุํ
“สารีปุตฺตตฺเถโร กิร กตฺู กตเวที กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตํ
อุปการํ สริตฺวา ทุคฺคตพฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ;
ราธตฺเถโรปิ โอวาทกฺขโม โอวาทกฺขมเมว ลภีติ.
สตฺถา เตสํ กถํ สุตฺวา “น ภิกฺขเว อิทาเนว,
ปุพฺเพปิ สารีปุตฺโต กตฺู กตเวทีเยวาติ วตฺวา
ตมตฺถํ ปกาเสตุํ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3
ตรัสแล้ว ซึ่งอลีนจิตตชาดก ในทุกนิบาต นี้ว่า
อ. เสนา หมู่ใหญ่ ร่าเริงทั่วแล้ว เพราะอาศัย ซึ่งพระราชกุมาร
พระนามว่า อลีนจิตตะ ได้ (ยังช้าง) ให้จับแล้ว ซึ่งพระราชา
พระนามว่าโกศล ผู้ไม่ทรง ยินดีพร้อมแล้ว (ด้วยความเป็น
แห่งพระราชา) อันเป็นของพระองค์ ให้จับเป็น; อ. ภิกษุ
ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิสสัย อย่างนี้ ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว
ยังธรรมอันเป็นกุศล ให้เจริญอยู่ เพื่อการบรรลุ (ซึ่งธรรม)
อันเป็นแดนเกษม จากโยคะ พึงบรรลุ (ซึ่งธรรม) อันเป็น
ที่สิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยล�ำดับ
ดังนี้ให้พิสดาร เพื่ออันประกาศ ซึ่งเนื้อความ นั้น ฯ
ได้ยินว่า อ. ช้าง ตัวมีอันเที่ยวไปผู้เดียวเป็นปกติ ตัวรู้แล้ว ซึ่ง
อุปการะ แก่ตน อันช่างไม้ ท. กระท�ำแล้ว โดยความเป็นคืออัน
กระท�ำซึ่งเท้า ให้เป็นอวัยวะไม่มีโรค ให้ ซึ่งช้างผู้ลูกน้อย ตัวมี
อวัยวะทั้งปวงขาว ในกาลนั้น เป็นพระเถระชื่อว่าสารีบุตร ได้เป็น
แล้ว (ในกาลนี้) ฯ
(อ. พระศาสดา) ครั้นตรัสแล้ว ซึ่งชาดก ทรงปรารภ ซึ่งพระ
เถระ อย่างนี้ ทรงปรารภ ซึ่งพระเถระชื่อว่าราธะ ตรัสแล้ว ว่า ดู
ก่อนภิกษุ ท. ชื่อ อันภิกษุ เป็นผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่าย ราวกะ
ว่าราธะ พึงเป็น, แม้ผู้ (อันบุคคล) แสดงแล้วซึ่งโทษ กล่าวสอนอยู่
ไม่พึงโกรธ; อนึ่ง (อ. บุคคล) ผู้ให้ซึ่งโอวาท (อันภิกษุ) พึงเห็น
ราวกะ (อ.บุคคล) ผู้บอกซึ่งขุมทรัพย์ ดังนี้ เมื่อทรงสืบต่อ
ซึ่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
(อ.บุคคล) พึงเห็น (ซึ่งบุคคล) ใด ผู้แสดงซึ่งโทษโดยปกติ
ผู้กล่าวข่มโดยปกติ ผู้มีปัญญา เพียงดังว่า (บุคคล) ผู้บอก
ซึ่งขุมทรัพย์ ท., (อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งบัณฑิต ผู้เช่นกับ
ด้วยบุคคลนั้น, (เพราะว่า) (เมื่อบุคคล) คบอยู่ (ซึ่งบัณฑิต)
ผู้เช่นนั้น (อ. คุณ) อันประเสริฐกว่า ย่อมมี (อ. โทษ)
อันลามกกว่า (ย่อมมี) หามิได้ ดังนี้ ฯ
	
(อ. อรรถ) ว่า ซึ่งหม้อแห่งขุมทรัพย์ ท. อันเต็มด้วยรัตนะ
มีเงินและทองเป็นต้น (อันบุคคล) ฝัง ตั้งไว้แล้ว ในที่นั้น ๆ
(ดังนี้ในบท ท.) เหล่านั้นหนา (แห่งบท) ว่า นิธีนํ ดังนี้ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ราวกะว่า (บุคคล) ผู้ กระท�ำแล้ว ซึ่งความเอ็นดู
ในมนุษย์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ผู้มีความเป็นอยู่โดยยาก (กล่าวแล้ว)
ว่า อ. ท่าน จงมา, อ. เรา จักแสดง ซึ่งอุบายแห่งความเป็นอยู่
โดยสบายแก่ท่าน ดังนี้ น�ำไปแล้ว สู่ที่แห่งขุมทรัพย์ เหยียดออก
แล้ว ซึ่งมือ บอก ว่า อ. ท่าน ถือเอาไว้แล้วซึ่งทรัพย์นี้ จงเป็นอยู่
สบายเถิด ดังนี้(ดังนี้แห่งบท) ว่า ปวตฺตารํ ดังนี้ฯ
อลีนจิตฺตํ นิสฺสาย ปหฏฺ€า มหตี จมู
โกสลํ เสนาสนฺตุฏฺ€ํ ชีวคฺคาหํ อคาหยิ;
เอวํ นิสฺสยสมฺปนฺโน ภิกฺขุ อารทฺธวีริโย
ภาวยํ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา
ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยนฺติ
อิมํ ทุกนิปาเต อลีนจิตฺตชาตกํ วิตฺถาเรตฺวา
กเถสิ.
ตทา กิร วฑฺฒกีหิ ปาทสฺส อโรคกรณภาเวน
กตํ อตฺตโน อุปการํ ตฺวา สพฺพเสตสฺส
หตฺถิโปตกสฺส ทายโก เอกจาริโก หตฺถี
สารีปุตฺตตฺเถโร อโหสิ.
เอวํ เถรํ อารพฺภ ชาตกํ กเถตฺวา ราธตฺเถรํ
อารพฺภ “ภิกฺขเว ภิกฺขุนา นาม ราเธน วิย
สุวเจน ภวิตพฺพํ, โทสํ ทสฺเสตฺวา โอวทิยมาเนนปิ
น กุชฺฌิตพฺพํ; โอวาททายโก ปน นิธิอาจิกฺขนโก
วิย ทฏ€พฺโพติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ
เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห
“นิธีนํว ปวตฺตารํ ยํ ปสฺเส วชฺชทสฺสินํ
นิคฺคยฺหวาทึ เมธาวึ, ตาทิสํ ปณฺฑิตํ ภเช,
ตาทิสํ ภชมานสฺส เสยฺโย โหติ น ปาปิโยติ.
ตตฺถ “นิธีนนฺติ: ตตฺถ ตตฺถ นิทหิตฺวา
€ปิตานํ หิรฺสุวณฺณาทิปูรานํ นิธิกุมฺภีนํ.
ปวตฺตารนฺติ: กิจฺฉชีวิเก ทุคฺคตมนุสฺเส อนุกมฺปํ
กตฺวา “เอหิ, สุเขน เต ชีวิตุปายํ ทสฺเสสฺสามีติ
นิธิฏ€านํ เนตฺวา หตฺถํ ปสาเรตฺวา “อิมํ คเหตฺวา
สุขํ ชีวาติ อาจิกฺขนฺตารํ วิย.
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
4
วชฺชทสฺสินนฺติ: เทฺว วชฺชทสฺสิโน: “อิมินา นํ
อสารุปฺเปน วา ขลิเตน วา สงฺฆมชฺเฌ นิคฺคณฺหิสฺสามีติ
รนฺธคเวสโก จ, อญฺญาตญฺญาปนตฺถาย ญาตํ
อนุคฺคณฺหนตฺถาย สีลาทีนมสฺส วุฑฺฒิกามตาย
ตํ ตํ วชฺชํ โอโลกเนน อุลฺลุมฺปนวเสน สภาวสณฺ€ิโต จ;
อยมิธาธิปฺเปโต,
ยถา ทุคฺคตมนุสฺโส “อิมํ คณฺหาหีติ ตชฺเชตฺวาปิ
โปเถตฺวาปิ นิธึ ทสฺสิโต โกปํ น กโรติ, ปมุทิโตว
โหติ; เอวเมว เอวรูเป ปุคฺคเล อสารุปฺปํ วา ขลิตํ
วา ทิสฺวา อาจิกฺขนฺเต โกโป น กาตพฺโพ, ตุฏฺเ€เนว
ภวิตพฺพํ,
“ภนฺเต มหนฺตํ โว กมฺมํ กตํ มยฺหํ
อาจริยุปชฺฌายฏ€าเน €ตฺวา โอวทนฺเตหิ,
ปุนปิ มํ โอวเทยฺยาถาติ ปวาเรตพฺพเมว.
นิคฺคยฺหวาทินฺติ: เอกจฺโจ หิ สทฺธิวิหาริกาทีนํ
อสารุปฺปํ วา ขลิตํ วา ทิสฺวา “อยํ เม
มุโขทกทานาทีหิ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หติ; สเจ ตํ
วกฺขามิ, น มํ อุปฏ€หิสฺสติ, เอวํ เม ปริหานิ
ภวิสฺสตีติ วตฺตุํ อวิสหนฺโต น นิคฺคยฺหวาที นาม
โหติ; โส อิมสฺมึ สาสเน กจวรํ อากิรติ.
โย ปน ตถารูปํ วชฺชํ ทิสฺวา วชฺชานุรูปํ
ตชฺเชนฺโต ปณาเมนฺโต ทณฺฑกมฺมํ กโรนฺโต
วิหารา นีหรนฺโต สิกฺขาเปติ. อยํ นิคฺคยฺหวาที นาม;
เสยฺยถาปิ สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
วุตฺตฺเหตํ “นิคฺคยฺห นิคฺคยฺหาหํ อานนฺท
วกฺขามิ, ปคฺคยฺห ปคฺคยฺหาหํ อานนฺท วกฺขามิ,
โย สาโร, โส €สฺสตีติ.
เมธาวินฺติ: ธมฺโมชปฺาย สมนฺนาคตํ.
ตาทิสนฺติ: เอวรูปํ ปณฺฑิตํ ภเชยฺย ปยิรุปาเสยฺย;
(อ.อันวินิจฉัย ในบท) ว่า วชฺชทสฺสินํ ดังนี้(อันบัณฑิต พึงทราบ):
(อ. ภิกษุ ท.) ผู้แสดง ซึ่งโทษโดยปกติ ๒, คือ (อ.ภิกษุ)
ผู้แสวงหาซึ่งโทษ (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา จักข่ม ซึ่งภิกษุ
นั้น ด้วยมรรยาทอันไม่สมควรหรือ หรือว่าด้วยความพลั้งพลาดนี้
ในท่ามกลางแห่งสงฆ์ ดังนี้ด้วย, คือ (อ. ภิกษุ) ผู้ตั้งอยู่
ด้วยดีแล้ว ตามสภาพ ด้วยความสามารถแห่งการอุ้มชู
ด้วยอันแลดูซึ่งโทษนั้นๆ เพื่อประโยชน์แก่อันให้รู้ซึ่งเรื่อง
อันภิกษุนั้นไม่รู้แล้ว เพื่อประโยชน์แก่การตามถือเอา,
(ซึ่งเรื่อง อันภิกษุนั้น) รู้แล้ว เพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ใคร่
ซึ่งความเจริญ (แห่งคุณ ท.) มีศีลเป็นต้น แก่ภิกษุนั้น ด้วย
(อ. ภิกษุผู้มีในภายหลัง) นี้(อันพระผู้มีพระภาคเจ้า) ทรงประสงค์
เอาแล้ว (ในบท ว่า วชฺชทสฺสินํ ดังนี้) นี้,
อ.มนุษย์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ผู้ (อันบุคคล) คุกคามแล้วก็ดี
โบยแล้วก็ดี แสดงแล้ว ซึ่งขุมทรัพย์ (ด้วยค�ำ) ว่า อ. ท่าน
จงถือเอา ซึ่งขุมทรัพย์นี้ ดังนี้ ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งความโกรธ,
เป็นผู้บันเทิงทั่วแล้วทียว ย่อมเป็น ฉันใด; ครั้นเมื่อบุคคล
ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป เห็นแล้ว ซึ่งมรรยาอันไม่สมควรหรือ หรือว่า
ซึ่งความพลั้งพลาด บอกอยู่ อ.ความโกรธ (อันภิกษุนั้น)
ไม่ถึงกระท�ำ, (อันภิกษุนั้น) เป็นผู้ยินดีแล้วนั่นเทียว พึงเป็น
ฉันนั้นนั่นเทียว,
(อันภิกษุนั้น) พึงปวารณานั่นเทียว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจิรญ
อ. กรรม อันใหญ่ อันท่าน ท. ผู้ ตั้งอยู่แล้ว ในต�ำแหน่ง-
แห่งอาจารย์และอุปัชฌาย์ ของกระผม กล่าวสอนอยู่
กระท�ำแล้ว, อ.ท่าน ท. พึงกล่าวสอน ซึ่งกระผม แมัอีก ดังนี้ฯ
(อ.อรรถ) ว่า ก็ (อ.อาจารย์) บางคน เห็นแล้ว ซึ่งมรรยาท
อันไม่สมควรหรือ หรือว่า ซึ่งความพลั้งพลาด (แห่งศิษย์ ท.)
มีสัทธิวิหาริกเป็นต้น ไม่อาจอยู่ เพื่ออันกล่าว (เพราะความ
กลัว) ว่า อ.ศิษย์นี้ ย่อมบ�ำรุง (ด้วยกิจ ท.) มีการถวายซึ่งน�้ำ
เป็นเครื่องล้างซึ่งหน้าเป็นต้น แก่เรา โดยเคารพ; ถ้าว่า อ. เรา
จักว่ากล่าว ซึ่งศิษย์นั้นไซร้, (อ.ศิษย์นั้น) จักไม่บ�ำรุง ซึ่งเรา,
อ.ความเสื่อมรอบ จักมี แก่เรา ด้วยประการฉะนี้ ดังนี้
ชื่อว่าเป็นผู้กล่าวข่มโดยปกติ ย่อมเป็น หามิได้ อ.อาจารย์นั้น
ย่อมเกลี่ยลง ซึ่งหยากเยื่อ ในพระศาสนา นี้ฯ
ส่วนว่า อ.อาจารย์ใด เห็นแล้ว ซึ่งโทษ มีรูปอย่างนั้น ขู่อยู่
ขับไล่อยู่ กระท�ำอยู่ ซึ่งทัณฑกรรม น�ำออกอยู่ จากวิหาร
ตามสมควรแก่โทษ (ยังศิษย์นั้น) ให้ศึกษาอยู่ ฯ อ.พระสัมมา
สัมพุทธเจ้า (ชื่อว่า เป็นผู้ตรัสขู่โดยปกติย่อมเป็น) แม้ฉันใด
อ.อาจารย์นี้ ซื่อว่าเป็นผู้กล่าวข่มโดยปกติ (ย่อมเป็น) (ฉันนั้น) ฯ
จริงอยู่(อ.พระด�ำรัส)นั้นว่าดูก่อนอานนท์ อ.เราจักกล่าวข่มๆ,
ดูก่อนอานนท์, อ.เรา จักกล่าวยกย่อง ๆ, อ.บุคคล ใด เป็นสาระ
(ย่อมเป็น), อ บุคคลนั้น จักตั้งอยู่ได้ ดังนี้ (อันผู้มีพระภาคเจ้า)
ตรัสแล้ว (ดังนี้แห่งบท) ว่า นิคฺคยฺหวาทึ ดังนี้ฯ
(อ. อรรถ) ว่า ผู้มาตามพร้อมแล้วด้วยปัญญามีโอชะอันเกิด
แก่ธรรม (ดังนี้แห่งบท) ว่า เมธาวึ ดังนี้ฯ (อ.อรรถ) ว่า (อ.บุคคล)
พึงคบ คือว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้ ซึ่งบัณฑิต ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป:
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 5
ตาทิสํ หิ อาจริยํ ภชมานสฺส อนฺเตวาสิกสฺส
เสยฺโย โหติ น ปาปิโย วุฑฺฒิเยว โหติ
น ปริหานีติ.
เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสูติ.
ราธตฺเถรวตฺถุ.
๒. อสฺสชิปุนพฺพสุกวตฺถุ. (๖๑)
“โอวเทยฺยานุสาเสยฺยาติ อิมํ ธมฺมเทสนํ
สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต อสฺสชิปุนพฺพสุเก อารพฺภ
กเถสิ.
เทสนา ปน กิฏาคิริสฺมึ สมุฏ€ิตา. เต กิร
กิฺจาปิ อคฺคสาวกานํ สทฺธิวิหาริกา, อลชฺชิโน
ปน อเหสุํ ปาปภิกฺขู.
เต ปาปเกหิ อตฺตโน ปริวาเรหิ ปฺจหิ
ภิกฺขุสเตหิ สทฺธึ กิฏาคิริสฺมึ วิหรนฺตา มาลาวจฺฉํ
โรเปนฺติปิ โรปาเปนฺติปีติอาทิกํ นานปฺปการํ
อนาจารํ กโรนฺตา กุลทูสกกมฺมํ กตฺวา ตโต
อุปฺปนฺเนหิ ปจฺจเยหิ ชีวิตํ กปฺเปนฺตา ตํ อาวาสํ
เปสลานํ ภิกฺขูนํ อนาวาสํ อกํสุ.
สตฺถา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา เตสํ ปพฺพาชนีย-
กมฺมกรณตฺถาย สปริวาเร เทฺว อคฺคสาวเก
อามนฺเตตฺวา “คจฺฉถ สารีปุตฺตา, เตสุ เย ตุมฺหากํ
วจนํ น กโรนฺติ, เตสํ ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรถ:
เย ปน กโรนฺติ, เต โอวทถ อนุสาสถ
โอวทนฺโต หิ อนุสาสนฺโต อปณฺฑิตานํเยว อปฺปิโย
โหติ,
ปณฺฑิตานํ ปน ปิโย โหติ มนาโปติ อนุสนฺธึ
ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห
เพราะว่า เมื่ออันเตวาสิก คบอยู่ ซึ่งอาจารย์ ผู้เช่นนั้น (อ.คุณ)
อันประเสริฐกว่า ย่อมมี (อ.โทษ) อันลามกกว่า (ย่อมมี) หามิได้
คือว่า อ. ความเจริญ นั่นเทียว ย่อมมี อ. ความเสื่อมรอบ (ย่อมมี)
หามิได้ ดังนี้(แห่งบท) ว่า ตาทิสํ ดังนี้ฯ
	
ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว
(ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล ฯ
อ. เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าราธะ
(จบแล้ว) ฯ
๒.อ.เรื่องแห่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
	
อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ
ซึ่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ ท. ตรัสแล้ว
ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า โอวเทยฺยานุสาเสยฺย ดังนี้เป็นต้น ฯ
ก็ อ. เทศนา ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในกิฎาคีรี ฯ ได้ยินว่า
(อ.ภิกษุ ท. ๒) เหล่านั้น เป็นสัทธิวิหาริก ของพระอัครสาวก ท.
(ย่อมเป็น) แม้โดยแท้, ถึงอย่างนั้น (อ. ภิกษุ ท. ๒ เหล่านั้น)
เป็นผู้ไม่มีความละอาย เป็นภิกษุผู้ลามก ได้เป็นแล้ว ฯ
อ. ภิกษุ ท. ๒ เหล่านั้น อยู่อยู่ ในกิฎาคีรี กับ ด้วยร้อย
แห่งภิกษุ ท. ๕ ผู้เป็นบริวาร ของตน ผู้ลามก กระท�ำอยู่ซึ่งอนาจาร
มีประการต่างๆ มีค�ำว่า (อ.ภิกษุ ท.๒เหล่านั้น) ย่อมปลูก
บ้าง ย่อม (ยังบุคคล) ให้ปลูกบ้าง ซึ่งกอแห่งระเบียบ ดังนี้เป็นต้น
กระท�ำแล้ว ซึ่งกรรมของภิกษุผู้ประทุษร้ายซึ่งตระกูล ส�ำเร็จอยู่
ซึ่งชีวิต ด้วยปัจจัย ท. อันเกิดขึ้นแล้ว แต่กรรมนั้น ได้กระท�ำแล้ว
ซึ่งอาวาสนั้น ให้เป็นประเทศมิใช่ประเทศเป็นที่อาศัยอยู่
แห่งภิกษุ ท. ผู้มีศีลเป็นที่รัก ฯ
อ.พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่วนั้น
ตรัสเรียกมาแล้ว ซึ่งพระอัครสาวก ท. ๒ ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร
เพื่อประโยชน์แก่การกระท�ำซึ่งปัพพาชนียกรรม แก่ภิกษุ ท.
เหล่านั้น (ตรัสแล้ว) ว่า ดูก่อนสารีบุตรและโมคคัลลานะ ท.
อ. เธอ ท. จงไป, ในภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น หนา อ.ภิกษุ ท.
เหล่าใด ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งค�ำ ของเธอ ท. อ.เธอ ท. จงกระท�ำ
ซึ่งปัพพาชนียกรรม แก่ภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ
ส่วนว่า อ.ภิกษุ ท. เหล่าใด ย่อมกระท�ำ, อ. เธอ ท.
จงกล่าวสอน จงตามสอน ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ; เพราะว่า
(อ.บุคคล) ผู้กล่าวสอนอยู่ ผู้ตามสอนอยู่ เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก
(ของชน ท.) ผู้มิใช่บัณฑิตนั่นเทียว ย่อมเป็น,
แต่ว่า (อ. บุคคล ผู้กล่าวสอนอยู่ ผู้ตามสอนอยู่นั้น) เป็นผู้
เป็นที่รัก เป็นผู้เป็นที่อิ่มเอิบแห่งใจ ของบัณฑิต ท. ย่อมเป็น ดังนี้
เมื่อทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดงซึ่งธรรม ตรัสแล้ว
ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
6
“โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย
สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโยติ.
ตตฺถ “โอวเทยฺยาติ: อุปฺปนฺเน วตฺถุสฺมึ,
วทนฺโต โอวทติ นาม,
อนุปฺปนฺเน วตฺถุสฺมึ, “อยโสปิ เต สิยาติอาทิวเสน
อนาคตํ วชฺชํ ทสฺเสนฺโต อนุสาสติ นาม; สมฺมุขา
วทนฺโต โอวทติ นาม, ปรมฺมุขา ทูตํ วา สาสนํ
วา เปเสนฺโต อนุสาสติ นาม; สกึ วทนฺโตปิ
โอวทติ นาม, ปุนปฺปุนํ วทนฺโต อนุสาสติ นาม
โอวทนฺโตเอว วา อนุสาสติ นามาติ เอวํ
โอวเทยฺย อนุสาเสยฺย.
อสพฺภาติ: อกุสลธมฺมา นิวาเรยฺย กุสลธมฺเม
ปติฏ€าเปยฺยาติ อตฺโถ.
สตนฺติ: โส เอวรูโป ปุคฺคโล พุทฺธาทีนํ
สปฺปุริสานํ ปิโย โหติ; เย ปน อทิฏ€ธมฺมา
วิติณฺณปรโลกา อามิสจกฺขุกา ชีวิตตฺถาย ปพฺพชิตา,
เตสํ อสตํ โส โอวาทโก อนุสาสโก “น ตฺวํ
อมฺหากํ อุปชฺฌาโย, น อาจริโย, กสฺมา อมฺเห
โอวทสีติ เอวํ มุขสตฺตีหิ วิชฺฌนฺตานํ อปฺปิโย โหตีติ.
เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสุ.
สารีปุตฺตโมคฺคลฺลานาปิ ตตฺถ คนฺตฺวา เต
ภิกฺขู โอวทึสุ อนุสาสึสุ. เตสุ เอกจฺเจ โอวาทํ
สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สมฺมา วตฺตึสุ, เอกจฺเจ วิพฺภมึสุ,
เอกจฺเจ ปพฺพาชนียกมฺมํ ปาปุณึสูติ.
อสฺสชิปุนพฺพสุกวตฺถุ.
(อ. บุคคลใด) พึงกล่าวสอนด้วย พึงตามสอนด้วย
พึงห้าม (จากธรรม) อันมิใช่ของสัตบุรุษด้วย อ. บุคคลนั้น
แล เป็นผู้เป็นที่รัก ของสัตบุรุษ ท. ย่อมเป็น เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก
ของอสัตบุรุษ ท. ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ
	
(อ.อรรถ)ว่าครั้นเมื่อเรื่องเกิดขึ้นแล้ว,(อ.บุคคล)ว่ากล่าวอยู่
ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน,
ครั้นเมื่อเรื่อง ไม่เกิดขึ้นแล้ว, (อ.บุคคล) แสดงอยู่ ซึ่งโทษ
อันไม่มาแล้ว ด้วยสามารถแห่งค�ำมีค�ำว่า แม้ อ. โทษมิใช่ยศ พึงมี
แก่ท่าน ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าย่อมตามสอน ; (อ.บุคคล) ว่ากล่าวอยู่
ในที่พร้อมหน้า ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน, (อ.บุคคล) ส่งไปอยู่ ซึ่ง
ทูต หรือ หรือว่าซึ่งข่าวสาส์น ในที่ลับหลัง ชือว่าย่อมตามสอน
(อ. บุคคล) แม้ว่ากล่าวอยู่ คราวเดียว ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน,
(อ.บุคคล) ว่ากล่าวอยู่ บ่อย ๆ ชื่อว่าย่อมตามสอน
อีกอย่างหนึ่ง(อ.บุคคล)กล่าวสอนอยู่นั่นเทียวชื่อว่าย่อมตาม
สอน(อ.บุคคล)พึงกล่าวสอนพึงตามสอนอย่างนี้ด้วยประการฉะนี้
(ดังนี้ในบทท.)เหล่านั้นหนา(แห่งบท)ว่าโอวเทยฺยดังนี้เป็นต้นฯ
อ.อรรถ ว่า พึงห้าม จากอกุศลธรรม คือว่า พึงให้ตั้งอยู่เฉพาะ
ในกุศลธรรม ดังนี้ (แห่งบท) ว่า อสพฺภา ดังนี้ฯ
(อ.อรรถ) ว่า อ. บุคคล นั้น คือว่า ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป เป็นผู้เป็น
ที่รักของสัตบุรุษท.มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นย่อมเป็น;แต่ว่าอ.ชนท.
เหล่าใด ผู้มีธรรมอันไม่เห็นแล้ว ผู้มีโลกอื่นอันข้ามวิเศษแล้ว
ผู้เห็นแก่อามิส บวชแล้ว เพื่อต้องการแก่ความเป็นอยู่,
(อ.บุคคล) ผู้กล่าวสอน ผู้ตามสอน นั้น เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก
(ของชน ท.) เหล่านั้น ชื่อว่าของอสัตบุรุษ ท. ผู้ทิ่มแทงอยู่ ด้วยหอก
คือปากท. อย่างนี้ ว่า อ.ท่าน เป็นอุปัชฌาย์ ของเราท. (ย่อม
เป็น) หามิได้, (อ.ท่าน) เป็นอาจารย์ (ของเรา ท. ย่อมเป็น) หามิได้,
อ.ท่าน ย่อมกล่าวสอน ซึ่งเรา ท. เพราะเหตุไร ดังนี้ดังนี้(แห่งบท)
ว่า สตํ ดังนี้เป็นต้น ฯ
	
ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว
(ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผล เป็นต้นฯ
	
แม้ อ. พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ท. ไปแล้ว ในที่นั้น
กล่าวสอนแล้ว ตามสอนแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ ในภิกษุ ท.
เหล่านั้นหนา อ. ภิกษุ ท. บางพวก รับพร้อมแล้ว ซึ่งโอวาท
ประพฤติแล้ว โดยชอบ, อ. ภิกษุ ท. บางพวก สึกแล้ว, อ.ภิกษุ ท.
บางพวก ถึงแล้ว ซึ่งปัพพาชนียกรรม ดังนี้แล ฯ
อ.เรื่องแห่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ
(จบแล้ว)ฯ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 7
๓. ฉนฺนตฺเถรวตฺถุ. (๖๒)
“น ภเช ปาปเก มิตฺเตติ อิมํ ธมฺมเทสนํ
สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต ฉนฺนตฺเถรํ อารพฺภ กเถสิ.
โส กิรายสฺมา “อมฺหากํ อยฺยปุตฺเตน สทฺธึ
มหาภินิกฺขมนํ นิกฺขมนฺโต ตทา อฺํ เอกมฺปิ
น ปสฺสามิ,
อิทานิ ปน `อหํ สารีปุตฺโต นาม, อหํ
โมคฺคลฺลาโน นาม, มยํ อคฺคสาวกมฺหาติ วตฺวา อิเม
วิจรนฺตีติ เทฺว อคฺคสาวเก อกฺโกสติ.
สตฺถา ภิกฺขูนํ สนฺติกา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา
ฉนฺนตฺเถรํ ปกฺโกสาเปตฺวา โอวทิ.
โส ตํขณฺเว ตุณฺหี หุตฺวา ปุน คนฺตฺวา
เถเร อกฺโกสติเยว.
เอวํ ยาวตติยํ อกฺโกสนฺตํ ปกฺโกสาเปตฺวา
สตฺถา โอวทิตฺวา “ฉนฺน เทฺว อคฺคสาวกา
นาม ตุยฺหํ กลฺยาณมิตฺตา อุตฺตมปุริสา, เอวรูเป
กลฺยาณมิตฺเต เสวสฺสุ ภชสฺสูติ วตฺวา อนุสนฺธึ
ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห
น ภเช ปาปเก มิตฺเต, น ภเช ปุริสาธเม,
ภเชถ มิตฺเต กลฺยาเณ, ภเชถ ปุริสุตฺตเมติ.
ตสฺสตฺโถ: กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรตา
ปาปมิตฺตา นาม,
สนฺธิจฺเฉทนาทิเก วา เอกวีสติอเนสนาปเภเท วา
อฏฺ€าเน นิโยชกา ปุริสาธมา นาม:
อุโภปิ เอเต ปาปมิตฺตา เจว ปุริสาธมา จ; เต
น ภเชยฺย น ปยิรุปาเสยฺย,
๓. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
	
อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ
ซึ่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า
น ภเช ปาปเก มิตฺเต ดังนี้เป็นต้น ฯ
ได้ยินว่า (อ.พระฉันนะ)ผู้มีอายุนั้น ย่อมด่า ซึ่งพระอัครสาวก ท. ๒
ว่าอ.เราออกไปอยู่ ออกไปเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่กับด้วยพระลูกเจ้า
ของเรา ท. ย่อมไม่เห็น (ซึ่งบุคคล) อื่น แม้คนหนึ่ง ในกาลนั้น,
แต่ว่า ในกาลนี้ (อ. ภิกษุ ท.) เหล่านี้ ย่อมเที่ยวกล่าว ว่า
อ.เราเป็นผู้ชื่อว่าสารีบุตร(ย่อมเป็น),อ.เราเป็นผู้ชื่อว่าโมคคัลลานะ
(ย่อมเป็น), อ. เรา ท. เป็นพระอัครสาวก ย่อมเป็น ดังนี้ ดังนี้ ฯ
อ.พระศาสดาทรงสดับแล้วซึ่งความเป็นไปทั่วนั้นจากส�ำนัก
ของภิกษุ ท. ทรงยังบุคคลให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ
ตรัสสอนแล้ว ฯ
อ. พระเถระนั้น เป็นผู้นิ่ง เป็น ในขณะนั้นนั่นเทียว ไปแล้ว
ย่อมด่า ซึ่งพระเถระ ท. อีกนั่นเทียว ฯ
อ.พระศาสดา ทรงยังบุคคล ให้ร้องเรียกแล้ว
(ซึ่งพระเถระ) ผู้ด่าอยู่ สิ้นการก�ำหนดเพียงใดแห่งวาระที่ ๓
อย่างนี้ ตรัสสอนแล้ว ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนฉันนะ ชื่อ
อ. พระอัครสาวก ท. ๒ เป็นกัลยาณมิตร เป็นบุรุษผู้สูงสุด
ของเธอ (ย่อมเป็น), อ. เธอ จงเสพ จงคบ ซึ่งกัลยาณมิตร ท.
ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป ดังนี้ เมื่อทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรม
ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
(อ. บุคคล) ไม่พึงคบ ซึ่งมิตร ท. ผู้ชั่วช้า, (อ. บุคคล) ไม่พึงคบ
ซึ่งบุรุษผู้ต�่ำช้า ท., (อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งมิตร ท. ผู้ดีงาม,
(อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งบุรุษผู้สูงสุด ท. ดังนี้ ฯ
อ.เนื้อความ แห่งค�ำอันเป็นพระคาถานั้น ว่า (อ. ชน ท.) ผู้ยินดี
ยิ่งแล้วในอกุศลกรรมมีกายทุจริต เป็นต้น ชื่อว่าเป็นมิตรผู้ชั่วช้า
(ย่อมเป็น),
(อ. ชน ท.) ผู้ประกอบ ในฐานะอันไม่สมควร มีการตัดซึ่งที่ต่อ
เป็นต้นหรือ หรือว่าอันต่างด้วยการแสวงหาอันไม่สมควร ๒๑ อย่าง
ชื่อว่าเป็นบุรุษผู้ต�่ำช้า (ย่อมเป็น),
(อ. ชน ท.) เหล่านั่น แม้ทั้งสอง เป็นมิตรผู้ชั่วช้าด้วยนั่นเทียว
เป็นบุรุษผู้ต�่ำช้าด้วย (ย่อมเป็น) ; (อ. บุคคล) ไม่พึงคบ คือว่า ไม่พึง
เข้าไปนั่งใกล้ ซึ่งชน ท. เหล่านั้น ,
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
8
วิปริตา ปน กลฺยาณมิตฺตา เจว สปฺปุริสา จ, เต ภเชถ
ปยิรุปาเสถาติ.
เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสุ.
ฉนฺนตฺเถโร ปน โอวาทํ สุตฺวาปิ ปุริมนเยเนว
ปุน ภิกฺขู อกฺโกสติ ปริภาสติ. ปุนปิ สตฺถุ ภิกฺขู
อาโรจยึสุ.
สตฺถา “ภิกฺขเว มยิ ธรนฺเต ฉนฺนํ สิกฺขาเปตุํ
น สกฺขิสฺสถ, มยิ ปน ปรินิพฺพุเต สกฺขิสฺสถาติ
วตฺวา, ปรินิพฺพานกาเล อายสฺมตา อานนฺเทน
“ภนฺเต กถํ ฉนฺนตฺเถเร อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพนฺติ
วุตฺเต “อานนฺท ฉนฺนสฺส ภิกฺขุโน พฺรหฺมทณฺโฑ
ทาตพฺโพติ อาณาเปสิ.
โส สตฺถริ ปรินิพฺพุเต อานนฺทตฺเถเรน
อาโรปิตํ พฺรหฺมทณฺฑํ สุตฺวา ทุกฺขี ทุมฺมโน
ติกฺขตฺตุํ มุจฺฉิโต ปปติตฺวา “มา มํ ภนฺเต
นาสยิตฺถาติ ยาจิตฺวา สมฺมา วตฺตํ ปูเรนฺโต
น จิรสฺเสว สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณีติ.
ฉนฺนตฺเถรวตฺถุ.
ส่วนว่า (อ. ชน ท.) ผู้ผิดตรงกันข้าม เป็นกัลยาณมิตรด้วยนั่นเทียว
เป็นสัตบุรุษด้วย (ย่อมเป็น), (อ. บุคคล) พึงคบ คือว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้
ซึ่งชนท.เหล่านั้น ดังนี้(อันบัณฑิตพึงทราบ)ฯ
ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว
(ซึ่งอริยผลท.) มีโสดาปัตติผล เป็นต้นฯ
	
ส่วนว่า อ. พระเถระชื่อว่าฉันนะ แม้ฟังแล้ว ซึ่งพระโอวาท ย่อมด่า
ย่อมบริภาษ ซึ่งภิกษุ ท. อีก ตามนัยอันมีในก่อนนั่นเทียว ฯ อ. ภิกษุ ท.
กราบทูลแล้วแก่พระศาสดาแม้อีกฯ
อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ครั้นเมื่อเรา ทรงอยู่
อ. เธอ ท. จักไม่อาจ เพื่ออันยังฉันนะให้ศึกษาได้, แต่ว่า ครั้นเมื่อเรา
ปรินิพพานแล้วอ.เธอท.จักอาจดังนี้,(ครั้นเมื่อค�ำ)ว่าข้าแต่พระองค์
ผู้เจริญ อันข้าพระองค์ ท. พึงปฏิบัติ ในพระเถระชื่อว่าฉันนะ อย่างไร
ดังนี้ อันพระอานนท์ผู้มีอายุ กราบทูลแล้ว ในกาลเป็นที่เสด็จ
ปรินิพพาน (ทรงยังพระอานนท์) ให้รู้ทั่วแล้ว ว่า ดูก่อนอานนท์
อ.พรหมทัณฑ์ (อันเธอท.) พึงให้ แก่ภิกษุ ชื่อว่าฉันนะ ดังนี้ฯ
อ. พระเถระชื่อว่าฉันนะนั้น ครั้นเมื่อพระศาสดา ปรินิพพานแล้ว
ฟังแล้วซึ่งพรหมทัณฑ์ อันพระเถระชื่อว่าอานนท์ ยกขึ้นแล้ว
เป็นผู้มีทุกข์ เป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว (เป็น) ล้ม สลบแล้ว
๓ ครั้ง อ้อนวอนแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. อย่า ยังกระผม
ให้ฉิบหายแล้วดังนี้ยังวัตรให้เต็มอยู่โดยชอบบรรลุแล้วซึ่งพระอรหัต
กับด้วยปฏิสัมภิทาท.ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว ดังนี้แลฯ
อ. เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ
(จบแล้ว) ฯ
ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 9
๔. มหากปฺปินตฺเถรวตฺถุ. (๖๓)
“ธมฺมปีติ สุขํ เสตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา
เชตวเน วิหรนฺโต มหากปฺปินตฺเถรํ อารพฺภ กเถสิ.
ตตฺรายํ อนุปุพฺพีกถา: “อตีเต กิรายสฺมา
มหากปฺปิโน ปทุมุตฺตรพุทฺธสฺส ปาทมูเล
กตาภินีหาโร สํสาเร สํสรนฺโต พาราณสิโต
อวิทูเร เอกสฺมึ เปสการคาเม เชฏฺ€กเปสกาโร
หุตฺวา นิพฺพตฺติ.
ตทา สหสฺสมตฺตา ปจฺเจกพุทฺธา อฏฺ€ มาเส
หิมวนฺเต วสิตฺวา วสฺสิเก จตฺตาโร มาเส ชนปเท
วสนฺติ.
เต เอกวารํ พาราณสิยา อวิทูเร โอตริตฺวา
“เสนาสนกรณตฺถาย หตฺถกมฺมํ ยาจถาติ รญฺโญ
สนฺติกํ อฏฺ€ ปจฺเจกพุทฺเธ ปหิณึสุ.
ตทา ปน รญฺโญ วปฺปมงฺคลกาโล โหติ.
โส “ปจฺเจกพุทฺธา กิราคตาติ สุตฺวา นิกฺขมิตฺวา
อาคตการณํ ปุจฺฉิตฺวา “อชฺช ภนฺเต โอกาโส
นตฺถิ, เสฺว อมฺหากํ วปฺปมงฺคลํ, ตติยทิวเส
กริสฺสามีติ วตฺวา ปจฺเจกพุทฺเธ อนิมนฺเตตฺวาว ปาวิสิ.
ปจฺเจกพุทฺธา “อญฺญํ คามํ ปวิสิสฺสามาติ
ปกฺกมึสุ.
ตสฺมึ ขเณ เชฏฺ€กเปสการสฺส ภริยา
เกนจิเทว กรณีเยน พาราณสึ คจฺฉนฺตี เต
ปจฺเจกพุทฺเธ ทิสฺวา วนฺทิตฺวา “กึ ภนฺเต อเวลาย
อยฺยา อาคตาติ ปุจฺฉิตฺวา อาทิโต ปฏฺ€าย
ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา สทฺธา ปญฺญาสมฺปนฺนา อิตฺถี
“เสฺว ภนฺเต อมฺหากํ ภิกฺขํ คณฺหถาติ นิมนฺเตสิ.
“พหุกา มยํ ภคินีติ.
“กิตฺตกา ภนฺเตติ.
“สหสฺสมตฺตา ภคินีติ.
๔. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่ามหากัปปินะ
(อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ
อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ
ซึ่งพระเถระชื่อว่ามหากัปปินะตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า
ธมฺมปีติ สุขํ เสติ ดังนี้เป็นต้น ฯ
อ.วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยล�ำดับ ในเรื่องนั้น นี้ ได้ยินว่า
ในกาลอันล่วงไปแล้ว อ.พระมหากัปปินะ ผู้มีอายุ เป็นผู้มี
อภินิหารอันกระท�ำแล้ว ณ ที่ใกล้แห่งพระบาท ของพระพุทธเจ้า
พระนาม ว่าปทุมุตระ (เป็น) ท่องเที่ยวไปอยู่ ในสงสาร บังเกิดแล้ว
เป็นบุคคลผู้กระท�ำซึ่งหูกผู้เจริญที่สุด เป็น ในบ้านแห่งบุคคล-
ผู้กระท�ำซึ่งหูก แห่งหนึ่ง ในที่ไม่ไกล จากเมืองชื่อว่าพาราณสี ฯ
ในกาลนั้น อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มีพันเป็นประมาณ
อยู่แล้ว ในป่าหิมพานต์ สิ้นเดือน ท. ๘ ย่อมอยู่ ในชนบท
สิ้นเดือน ท. ๔ อันมีในฤดูฝน ฯ
อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ข้ามลงแล้วในที่ไม่ไกล
แต่เมืองชื่อว่าพาราณสี สิ้นวาระหนึ่ง ส่งไปแล้ว ซึ่งพระปัจเจก-
พุทธเจ้า ท. ๘ สู่ส�ำนักของพระราชา (ด้วยค�ำ) ว่า อ.ท่าน ท.
จงขอ ซึ่งหัตถกรรม เพื่อประโยชน์แก่การกระท�ำซึ่งเสนาสนะดังนี้ฯ
ก็ อ.กาลนั้น เป็นกาล แห่งมงคลในเพราะอันหว่าน
แห่งพระราชา ย่อมเป็น ฯ อ.พระราชานั้น ทรงสดับแล้ว ว่า
ได้ยินว่า อ.พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มาแล้ว ดังนี้เสด็จออกไปแล้ว
ตรัสถามแล้ว ซึ่งเหตุแห่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มาแล้ว ตรัสแล้ว
ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ในวันนี้ อ. โอกาส ย่อมไม่มี, อ. มงคล
ในเพราะอันหว่าน แห่งข้าพเจ้า ท. (จักมี) ในวันพรุ่ง,
อ.ข้าพเจ้า จักกระท�ำ ในวันที่ ๓ ดังนี้ ไม่ทรงนิมนต์แล้ว
ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เทียว ได้เสด็จเข้าไปแล้ว ฯ
อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. (คิดแล้ว) ว่า อ. เรา ท. จักเข้าไป
สู่บ้าน อื่น ดังนี้ หลีกไปแล้ว ฯ
ในขณะนั้น อ. ภรรยา ของบุคคลผู้กระท�ำซึ่งหูกผู้เจริญ
ที่สุด ไปอยู่ สู่เมืองชื่อว่าพาราณสี ด้วยกิจอันตนพึงกระท�ำ
บางอย่างนั่นเทียว เห็นแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น
ไหว้แล้วถามแล้วว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญอ.พระผู้เป็นเจ้าท.มาแล้ว
ในสมัยมิใช่เวลา ท�ำไม ดังนี้ ฟังแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว นั้น
จ�ำเดิม แต่ต้น เป็นหญิงมีศรัทธา ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญา (เป็น)
นิมนต์แล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. ขอจงรับ ซึ่งภิกษา
ของดิฉัน ท. ในวันพรุ่ง ดังนี้ฯ
(อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. กล่าวแล้ว) ว่าดูก่อนน้องหญิง
อ. เรา ท. เป็นผู้มาก (ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ
(อ. หญิงนั้น ถามแล้ว) ว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. ท่าน ท. )
เป็นผู้มีประมาณเท่าไร(ย่อมเป็น)ดังนี้ฯ(อ.พระปัจเจกพุทธเจ้าท.
กล่าวแล้ว)ว่าดูก่อนน้องหญิง(อ.เราท.)เป็นผู้มีพันเป็นประมาณ
(ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ
ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี
10
(อ. หญิงนั้น ) กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ดิฉัน ท.
มีพันเป็นประมาณอยู่แล้วในบ้านนี้, อ.บุคคลคนหนึ่งๆจักถวาย
ซึ่งภิกษา แก่พระผู้เป็นเจ้า รูปหนึ่ง ๆ, อ. ท่าน ท. ยังภิกษา
จงให้อยู่ทับเถิด, อ.ดิฉันนั่นเทียว (ยังบุคคล) จักให้กระท�ำ
แม้ซึ่งที่เป็นที่อยู่ แก่ท่าน ท. ดังนี้ฯ
อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. (ยังค�ำนิมนต์) ให้อยู่ทับแล้ว ฯ
อ. หญิงนั้น เข้าไปแล้ว สู่บ้าน ป่าวร้องแล้ว ว่า อ. ดิฉัน เห็นแล้ว
ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าท.มีพันเป็นประมาณนิมนต์แล้ว,อ.ท่านท.
จงจัดแจงซึ่งที่เป็นที่นั่ง แก่พระผู้เป็นเจ้า ท.
อ.ท่าน ท. (ยังวัตถุ ท.) มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น
จงให้ถึงพร้อม ดังนี้, (ยังบุคคล) ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งปะร�ำ
ในท่ามกลางแห่งบ้าน (ยังบุคคล ) ให้ปูลาดแล้วซึ่งอาสนะ ท.
ในวันรุ่งขึ้น ยังพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ให้นั่งแล้ว อังคาสแล้ว
ด้วยโภชนะ อันประณีต พาไปแล้ว ซึ่งหญิง ท. ทั้งปวง ในบ้านนั้น
ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งกิจด้วยภัตร ไหว้แล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท.
กับ ด้วยหญิง ท. เหล่านั้น รับแล้ว ซึ่งปฏิญญา
เพื่อประโยชน์แก่การอยู่ ตลอดประชุมแห่งเดือน ๓ ป่าวร้องแล้ว
ในบ้าน อีก ว่า แนะแม่และพ่อ ท. อ. บุรุษ คนหนึ่ง ๆ จากตระกูล
ตระกูลหนึ่ง ๆ ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ ท.) มีมีดเป็นต้น เข้าไปแล้ว
สู่ป่า น�ำมาแล้ว ซึ่งทัพพสัมภาระ ท. จงกระท�ำ ซึ่งที่เป็นที่อยู่
แก่พระผู้เป็นเจ้า ท. ดังนี้ฯ
(อ.ชน ท.) ผู้อยู่ในบ้านโดยปกติ ตั้งอยู่แล้วในค�ำ ของหญิงนั้น
คนหนึ่ง ๆ กระท�ำแล้ว (ซึ่งบรรณศาลา) หลังหนึ่ง ๆ
(ยังกันและกัน) ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งพันแห่งบรรณศาลา
กับ ด้วยที่เป็นที่พักในกลางคืนและที่เป็นที่พักในกลางวัน ท.
บ�ำรุงแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งพรรษา
ในบรรณศาลา ของตน ๆ (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา จักบ�ำรุง
โดยเคารพ, อ. เรา จักบ�ำรุง โดยเคารพ ดังนี้ฯ
ในกาล (แห่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น) อยู่แล้ว
ตลอดพรรษา (อ. หญิงนั้น) ชักชวนแล้วว่า อ. ท่าน ท. จงจัดแจง
ซึ่งผ้าสาฎกเพื่อจีวร ท. แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้อยู่แล้ว
ตลอดพรรษา ในบรรณศาลา ของตนๆดังนี้ (ยังกันและกัน)
ให้ถวายแล้ว ซึ่งจีวร มีราคาพันหนึ่ง แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า
รูปหนึ่ง ๆ ฯ
อ.พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้มีพรรษาอันอยู่แล้ว กระท�ำแล้ว
ซึ่งการอนุโมทนา หลีกไปแล้ว ฯ
(อ. ชน ท.) แม้ผู้อยู่ในบ้านโดยปกติ ครั้นกระท�ำแล้ว
ซึ่งบุญนี้ เคลื่อนแล้ว จากอัตภาพนั้น บังเกิดแล้ว ในภพชื่อว่า
ดาวดึงส์ เป็นผู้ชื่อว่าคณเทพบุตร ได้เป็นแล้ว ฯ
อ. เทพบุตร ท. เหล่านั้น เสวยแล้ว ซึ่งสมบัติอันเป็นทิพย์ ใน
ภพชื่อว่าดาวดึงส์นั้น บังเกิดแล้ว ในเรือนแห่งกุฎมพี ท. ในเมือง
ชื่อว่าพาราณสี ในกาลแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า-
กัสสปะ ฯ
“ภนฺเต อิมสฺมึ คาเม สหสฺสมตฺตา วสิมฺหา,
เอเกโก เอเกกสฺส ภิกฺขํ ทสฺสติ, ภิกฺขํ อธิวาเสถ,
อหเมว ตุมฺหากํ วสนฏฺ€านํปิ การาเปสฺสามีติ
อาห.
ปจฺเจกพุทฺธา อธิวาสยึสุ. สา คามํ ปวิสิตฺวา
อุคฺโฆเสสิ “อหํ สหสฺสมตฺเต ปจฺเจกพุทฺเธ ทิสฺวา
นิมนฺเตสึ, อยฺยานํ นิสีทนฏฺ€านํ สํวิทหถ,
ยาคุภตฺตาทีนิ สมฺปาเทถาติ, คามมชฺเฌ
มณฺฑปํ การาเปตฺวา อาสนานิ ปฺาเปตฺวา
ปุนทิวเส ปจฺเจกพุทฺเธ นิสีทาเปตฺวาปณีเตนโภชเนน
ปริวิสิตฺวา ภตฺตกิจฺจาวสาเน ตสฺมึ คาเม
สพฺพา อิตฺถิโย อาทาย ตาหิ สทฺธึ ปจฺเจกพุทฺเธ
วนฺทิตฺวา เตมาสํ วสนตฺถาย ปฏิฺํ คเหตฺวา
ปุน คาเม อุคฺโฆเสสิ “อมฺมตาตา เอเกกกุลโต
เอเกโก ปุริโส วาสีอาทีนิ คเหตฺวา อรฺํ
ปวิสิตฺวา ทพฺพสมฺภาเร อาหริตฺวา อยฺยานํ
วสนฏฺ€านํ กโรตูติ.
คามวาสิโน ตสฺสา วจเน €ตฺวา เอเกโก เอเกกํ
กตฺวา สทฺธึ รตฺติฏฺ€านทิวาฏฺ€าเนหิ ปณฺณสาลาสหสฺสํ
กาเรตฺวา อตฺตโน อตฺตโน ปณฺณสาลายํ
วสฺสูปคเต ปจฺเจกพุทฺเธ “อหํ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หิสฺสามิ,
อหํ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หิสฺสามีติ อุปฏฺ€หึสุ.
วสฺสํ วุตฺถกาเล “อตฺตโน อตฺตโน ปณฺณสาลาย
วสฺสํ วุตฺถานํ ปจฺเจกพุทฺธานํ จีวรสาฏเก
สชฺเชถาติ สมาทเปตฺวา เอเกกสฺส สหสฺสมูลํ
จีวรํ ทาเปสิ.
ปจฺเจกพุทฺธา วุตฺถวสฺสา อนุโมทนํ กตฺวา
ปกฺกมึสุ.
คามวาสิโนปิ อิมํ ปุฺํ กตฺวา ตโต จุตา
ตาวตึสภวเน นิพฺพตฺติตฺวา คณเทวปุตฺตา นาม
อเหสุํ.
เต ตตฺถ ทิพฺพสมฺปตฺตึ อนุภวิตฺวา
กสฺสปสมฺมาสมฺพุทฺธกาเล พาราณสิยํ กุฏุมฺพิกเคเหสุ
นิพฺพตฺตึสุ.
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

More Related Content

What's hot

มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1ssuserf72d20
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาPadvee Academy
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์Gawewat Dechaapinun
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdfmaruay songtanin
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาsupppad
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายRUNGDARA11
 

What's hot (20)

6. กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน ๓๕ พระคาถา
6. กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน ๓๕ พระคาถา6. กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน ๓๕ พระคาถา
6. กัณฑ์ที่ ๖ จุลพน ๓๕ พระคาถา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
วิชาบาลีเสริม ๑๑ ชื่อสัมพันธ์
 
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdfประมวลปัญหาและเฉลย  นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
ประมวลปัญหาและเฉลย นักธรรมชั้นโท พ.ศ. ๒๕๔๔ - ๒๕๖๔.pdf
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
มหาเวสสันดรชาดก ชุด1
 
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2แนวข้อสอบ Comprehensive 2
แนวข้อสอบ Comprehensive 2
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2พุทธในออสเตรเลีย2
พุทธในออสเตรเลีย2
 
บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์บทที่ 2 นามศัพท์
บทที่ 2 นามศัพท์
 
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณแต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
แต่งไทย ป.ธ. 9 พระมหานพพร อริยญาโณ
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdfสรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
สรุปนักธรรมโท _V.2565.pdf
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
๐๐ ปัญหาของพราหมณ์ ๑๖ คน.pdf
 
การปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนาการปฏิรูปศาสนา
การปฏิรูปศาสนา
 
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่ายแผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
แผ่นผับ ลิลิตตะเลงพ่าย
 
พจนานุกรม มคธ - ไทย.pdf
พจนานุกรม มคธ - ไทย.pdfพจนานุกรม มคธ - ไทย.pdf
พจนานุกรม มคธ - ไทย.pdf
 

Similar to ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวดsanunya
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานTongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาTongsamut Vorasarn
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016Watpadhammaratana Pittsburgh
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวRachabodin Suwannakanthi
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัวdentyomaraj
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวKaiwan Hongladaromp
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวPoramate Minsiri
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวTum Nuttaporn Voonklinhom
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕Tongsamut vorasan
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕Tongsamut vorasan
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพหนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Kasem S. Mcu
 

Similar to ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf (20)

ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 6 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 1 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
บทสวด
บทสวดบทสวด
บทสวด
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงาน
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
 
บทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัลบทสวดอาจารย์จรัล
บทสวดอาจารย์จรัล
 
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
ระเบียบรายชื่อพระจำพรรษา 2016
 
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัวหนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสืองานพระราชทานเพลิงศพ สรีระสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้ายชาติสุดท้าย
ชาติสุดท้าย
 
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัวหนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร    หลวงตามหาบัว
หนังสือ สำหรับงานพระราชทานเพลิงสังขาร หลวงตามหาบัว
 
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัวไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
ไม่มาเกิดมาตายเรียกว่า "ชาติสุดท้าย" โดย หลวงตามหาบัว
 
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัวหนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
หนังสือแจกงานพระราชทานเพลิงศพหลวงตามหาบัว
 
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัวหนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
หนังสือพิมพ์แจกในงานหลวงตามหาบัว
 
Aksorn 1
Aksorn 1Aksorn 1
Aksorn 1
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
 
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
รายชื่อพระที่ได้รับพระราชทานสมณศักดิ์ ปี๒๕๕๕
 
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
ประกาศแต่งตั้งคณะกรรมการจัดงานพระราชทานเพลิงศพ
 
Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09Ebook semina 2 jul 09
Ebook semina 2 jul 09
 

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)

More from สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral) (20)

ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Buildingทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
ทำตัวกิริยาศัพท์ ตามขั้นตอน อย่างง่าย _ Step By Step _Pali Verb Building
 
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคโบราณ ในพระธัมมปทัฏฐกถา _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdfประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
ประโยคแบบ ในภาษาบาลี _ _การใช้ภาษาบาลี.pdf
 
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลีการใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
การใช้ สเจ ศัพท์ ในประโยคเงื่อนไข _ การใช้ภาษาบาลี
 
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลีการสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
การสร้างประโยคคำถามในภาษาบาลี_การใช้ภาษาบาลี
 
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdfประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
ประโยคที่กิริยาซ้อนกัน และหลักการแปลมคธเป็นไทย.pdf
 
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Wordsการแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
การแปลบทสมาสที่สัมพันธ์กับบทอื่นๆ_Samasa Relating To Other Words
 
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdfคําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
คําเรียกญาติ (บาลี-ไทย-อังกฤษ)_Family Tree Pali.pdf
 
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocabประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
ประมวลศัพท์บาลี ตามหมวดหมู่ _ Pali_Vocab
 
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translationการแปล  อนฺต,  มาน,  ต,  ตฺวา  ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
การแปล อนฺต, มาน, ต, ตฺวา ปัจจัย_Anta-Mana-Ta-Tva_Translation
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ธ.3 พ.ศ.2550-2566 (17 ปี)_Pali grammar Exam A...
 
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
ปัญหาและเฉลย วิชาบาลีไวยากรณ์ ป.ย.1-2 พ.ศ.2511-2566 (56 ปี)_Pali grammar Exam...
 
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการหลักการแปลบาลี 8 ประการ _  หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
หลักการแปลบาลี 8 ประการ _ หลักการแปลมคธเป็นไทย 8 ประการ
 
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยข้อสอบ ป.ธ.3 วิชาไวยากรณ์ฉบับปรับปรุง_ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdfปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
ปัญหาและเฉลยบาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 ปี ๒๕๑๑-๒๕๖๑.pdf
 
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลีธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม  ฉบับภาษาบาลี
ธมฺมปทฏฺฐกถา (๘ ภาค รวมเล่ม)_ธรรมบท ภาคที่ 1-8 รวมเล่ม ฉบับภาษาบาลี
 
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
อภิธานวรรณนา_พจนานุกรมว่าด้วยศัพท์ที่เป็นนามบัญญัติของเนื้อความที่มีปรากฏอยู่...
 
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdfสำนวนแต่งไทยเป็นมคธ  สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
สำนวนแต่งไทยเป็นมคธ สำนักงานแม่กองบาลี & กองพุทธศาสนศึกษา (1)_(2).pdf
 
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลีจูฬธาตุปัจจยโชติกา  _  พจนานุกรมบาลี-บาลี
จูฬธาตุปัจจยโชติกา _ พจนานุกรมบาลี-บาลี
 
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdfธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
ธรรมบท ภาคที่ 8 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf
 

ธรรมบท ภาคที่ 4 แปลโดยพยัญชนะ ฉบับสองภาษา (ไทย-บาลี).pdf

  • 1.
  • 2. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1 คณะผู้จัดท�ำ ผู้อุปถัมภ์โครงการ พระเทพญาณมหามุนี เจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย พระราชภาวนาจารย์ รองเจ้าอาวาสวัดพระธรรมกาย ที่ปรึกษา พระมหา ดร. สมชาย ฐานวุฑฺโฒ พระมหาสมเกียรติ วรยโส ป.ธ.๙ พระมหาบุญชัย จารุทตฺโต พระมหาวีรวัฒน์ วีรวฑฺฒโก ป.ธ.๙ พระมหา ดร. สุธรรม สุรตโน ป.ธ.๙ พระครูใบฎีกาอ�ำนวยศักดิ์ มุนิสกฺโก พระมหา ดร. สมบัติ อินฺทปญฺโญ ป.ธ.๙ พระมหาวิทยา จิตฺตชโย ป.ธ.๙ เรียบเรียง พระมหาอารีย์ พลาธิโก ป.ธ.๗ พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ จัดรูปเล่ม พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย ป.ธ.๘ พระมหาวันชนะ ญาตชโย ป.ธ.๕ พระมหาอภิชาติ วชิรชโย ป.ธ.๗ พระมหาเฉลิม ฉนฺทชโย ป.ธ.๔ ผู้ตรวจทาน นายสุเทพ นากุดนอก ป.ธ.๔ อาจารย์สอนบาลีประโยค ๑-๒ ส�ำนักเรียนวัดพระธรรมกาย ออกแบบปก/ภาพวาด พระมหาสมบุญ อนนฺตชโย และ กองพุทธศิลป์ วัดพระธรรมกาย พิมพ์ครั้งที่ ๑ : พฤษภาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๖๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์สุขขุมวิทการพิมพ์ พิมพ์ครั้งที่ ๒ : กรกฎาคม ๒๕๕๖ จ�ำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๓ : กรกฎาคม ๒๕๕๗ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์โอ เอส พริ้นติ้ง เฮ้าส์ จ�ำกัด พิมพ์ครั้งที่ ๔ : กรกฎาคม ๒๕๕๘ จ�ำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม พิมพ์ที่ โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง ลิขสิทธิ์ : ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ต.คลองสาม อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี
  • 3. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 2 ค�ำน�ำ ด้วยตระหนักและเห็นความส�ำคัญอย่างยิ่งยวดของการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุ สามเณร ดังค�ำกล่าวยืนยันของพระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) ซึ่งได้กล่าวไว้ในโอกาสที่ได้จัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค เมื่อปีพุทธศักราช ๒๕๔๓ อันเป็นปีที่ ๑๓ ของการจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระ ภิกษุสามเณร ผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ว่า “ผู้ที่สอบได้เปรียญธรรม ถือว่าเป็น วีรบุรุษกองทัพธรรม เป็นผู้น�ำความภาคภูมิใจ มาสู่คณะสงฆ์ หลวงพ่อรู้สึกชื่นชมยินดีเป็นอย่างยิ่งและปรารถนาจะให้ก�ำลังใจแก่ผู้ที่สอบได้ และผู้ที่ก�ำลังจะสอบได้ตามมา ให้เห็นความส�ำคัญและรับรู้ว่า สิ่งที่ท่านทั้งหลายก�ำลังพากเพียร ศึกษาอยู่นี้ มีความส�ำคัญมาก และยังมีผู้คนทั้งหลายรอคอยและปรารถนาจะเห็นความส�ำเร็จ ของทุกท่าน ผู้จะเป็นก�ำลังส�ำคัญในการท�ำงานพระศาสนา เพื่อความเจริญยิ่งยืนนาน ของพระพุทธศาสนาสืบต่อไปในอนาคต” พระเดชพระคุณพระเทพญาณมหามุนี (หลวงพ่อธัมมชโย) เจ้าส�ำนักเรียน มีความยินดี เป็นอย่างยิ่งที่จะสนับสนุน และขอปวารณาที่จะเป็นส่วนหนึ่ง ในการส่งเสริมการศึกษา พระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณร ตลอดไปตราบนานเท่านาน และได้มีด�ำริให้จัดท�ำ โครงการส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรมของพระภิกษุ สามเณรทั่วประเทศ ตั้งแต่ปีพุทธศักราช ๒๕๓๑ โดยมีวัตถุประสงค์หลัก เพื่อให้การส่งเสริม สนับสนุนเป็นก�ำลังใจ อีกทั้งมุ่งหมายจะก่อให้เกิดการตื่นตัวด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณรทั่วประเทศ รวมถึงเป็นสื่อกลางให้คณะสงฆ์ผู้บริหารการศึกษาทั่วสังฆมณฑล ได้มาร่วมปรึกษา เพื่อการพัฒนาการศึกษาพระปริยัติธรรมให้ก้าวหน้า ไปในทิศทางเดียวกัน โดยเริ่มต้นจากการถวายทุนการศึกษา การจัดงานมุทิตาสักการะแก่พระภิกษุสามเณรผู้สอบได้ เปรียญธรรม ๙ ประโยค การจัดพิมพ์ต�ำราคู่มือบาลีถวายแก่ส�ำนักเรียนที่สนใจ และอื่นๆ ที่จะได้ริเริ่มจัดท�ำในโอกาสต่อไป หนังสือธรรมบทสองภาษาบาลี-ไทย ภาค๑-๘ ส�ำหรับนักเรียนบาลีชั้นประโยค๑-๒ และ ป.ธ.๓ นี้ ทางคณาจารย์โรงเรียนพระปริยัติธรรม ได้รวบรวมเรียบเรียงขึ้น โดยอาศัยความรู้ จากต�ำรา และบูรพาจารย์ทั้งหลาย จัดพิมพ์ขึ้น เพื่อส่งเสริมสนับสนุนการศึกษาพระปริยัติธรรม ของพระภิกษุสามเณร ผู้แรกเริ่มศึกษาภาษาบาลี และผู้สนใจทั่วไป เพื่ออ�ำนวยประโยชน์ เป็นวิทยาทาน แก่ผู้ศึกษาอย่างเต็มที่ ให้เรียนรู้ได้ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้น อนึ่งหากหนังสือเล่มนี้ยังมีการขาดตกบกพร่องประการใด หรือมีข้อเสนอแนะที่เป็น ประโยชน์ ขอความอนุเคราะห์โปรดแจ้งให้ทางส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย ทราบด้วย จะเป็นพระคุณอย่างยิ่ง เพื่อจะได้น�ำมาปรับปรุงแก้ไขให้บริบูรณ์ยิ่งขึ้น ในการ จัดพิมพ์ครั้งต่อไป ส�ำนักเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
  • 4. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3 สารบัญธรรมบทภาค ๔ เรื่อง หน้าที่ ๖.บัณฑิตวรรค วรรณนา ๑. เรื่องพระราธเถระ ๑ ๒. เรื่องภิกษุอัสสชิและปุนัพพสุกะ ๕ ๓. เรื่องพระฉันนเถระ ๗ ๔. เรื่องพระมหากัปปินเถระ ๙ ๕. เรื่องบัณฑิตตสามเณร ๒๑ ๖. เรื่องพระลกุณฏกภัททิยเถระ ๓๙ ๗. เรื่องมารดาของนางกาณา ๔๐ ๘. เรื่องภิกษุ ๕๐๐ รูป ๔๔ ๙. เรื่องพระเถระผู้ตั้งอยู่ในธรรม ๔๗ ๑๐. เรื่องการฟังธรรม ๔๙ ๑๑. เรื่องภิกษุอาคันตุกะ ๕๑ ๗.อรหันตวรรค วรรณนา ๑. เรื่องหมอชีวก ๕๓ ๒. เรื่องพระมหากัสสปเถระ ๕๕ ๓. เรื่องพระเพฬัฏฐสีสเถระ ๕๘ ๔. เรื่องพระอนุรุทธเถระ ๖๑ ๕. เรื่องพระมหากัจจายนเถระ ๖๓ ๖. เรื่องพระสารีบุตรเถระ ๖๕ ๗. เรื่องพระติสสเถระชาวกรุงโกสัมพี ๖๘ ๘. เรื่องพระสารีบุตรเถระ ๗๒ ๙. เรื่องพระขทิรวนิยเรวตเถระ ๗๔ ๑๐. เรื่องหญิงคนใดคนหนึ่ง ๘๔ ๘.สหัสสวรรค วรรณนา ๑. เรื่องบุรุษผู้ฆ่าโจรมีเคราแดง ๘๗ ๒. เรื่องพระทารุจีริยเถระ ๙๒ ๓. เรื่องพระกุณฑลเกสีเถรี ๙๘ ๔. เรื่องอนัตถปุจฉกพราหมณ์ ๑๐๖ ๕. เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นลุงของพระสารีบุตรเถระ ๑๐๙ ๖. เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นหลานของพระสารีบุตรเถระ ๑๑๐ ๗. เรื่องพราหมณ์ผู้เป็นสหายของพระสารีบุตรเถระ ๑๑๑ ๘. เรื่องอายุวัฒนกุมาร ๑๑๓ ๙. เรื่องสังกิจจสามเณร ๑๑๗ ๑๐. เรื่องพระขานุโกณฑัญญเถระ ๑๒๘ ๑๑. เรื่องพระสัปปทาสเถระ ๑๓๐ ๑๒. เรื่องนางปฏาจารา ๑๓๕ ๑๓. เรื่องนางกิสาโคตมี ๑๔๓ ๑๔. เรื่องพระพหุปุตติกาเถรี ๑๔๘
  • 5. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 4 ““การศึกษานั้น สามารถเปลี่ยนชีวิตของผู้ศึกษา ให้สูงกว่าพื้นเดิม คนที่มีการศึกษาดี จะได้อะไรก็ดีกว่าประณีตกว่าผู้อื่น คนมีวิชาเท่ากับ ได้สมบัติจักรพรรดิ กินใช้ไม่หมด”” พระมงคลเทพมุนี (สด จนฺทสโร) หลวงปู่วัดปากน�้ำ ภาษีเจริญ
  • 6. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 1 ๖. ปณฺฑิตวคฺควณฺณนา ๑. ราธตฺเถรวตฺถุ. (๖๐) “นิธีนํว ปวตฺตารนฺติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต อายสฺมนฺตํ ราธํ อารพฺภ กเถสิ. โส กิร คิหิกาเล สาวตฺถิยํ ทุคฺคตพฺราหฺมโณ อโหสิ. โส “ภิกฺขูนํ สนฺติเก ชีวิสฺสามีติ จินฺเตตฺวา วิหารํ คนฺตฺวา อปหริตํ กโรนฺโต ปริเวณํ สมฺมชฺชนฺโต มุขโธวนาทีนิ ททนฺโต วิหาเร วสิ. ภิกฺขูปิ นํ สงฺคณฺหึสุ, ปพฺพาเชตุํ ปน น อิจฺฉนฺติ. โส ปพฺพชฺชํ อลภมาโน กิโส อโหสิ. อเถกทิวสํ สตฺถา ปจฺจูสกาเล โลกํ โวโลเกนฺโต ตํ พฺราหฺมณํ ทิสฺวา “กินฺนุ โขติ อุปธาเรนฺโต “อรหา ภวิสฺสตีติ ญตฺวา สายณฺหสมเย วิหารจาริกํ จรนฺโต วิย พฺราหฺมณสฺส สนฺติกํ คนฺตฺวา “พฺราหฺมณ กึ กโรนฺโต วิจรสีติ อาห. “ภิกฺขูนํ วตฺตปฺปฏิวตฺตํ กโรมิ ภนฺเตติ อาห. “ลภสิ เตสํ สนฺติกา สงฺคหนฺติ. “อาม ภนฺเต, อาหารมตฺตํ ลภามิ, น ปน มํ ปพฺพาเชนฺตีติ. สตฺถาเอตสฺมึ นิทาเน ภิกฺขุสงฺฆํ สนฺนิปาตาเปตฺวา ตมตฺถํ ปุจฺฉิตฺวา “ภิกฺขเว อตฺถิ โกจิ อิมสฺส พฺราหฺมณสฺส อธิการํ สรนฺโตติ ปุจฺฉิ. สารีปุตฺตตฺเถโร “อหํ ภนฺเต สรามิ, ๖.อ.กถาเป็นเครื่องพรรณนาซึ่งเนื้อความแห่งวรรค อันบัณฑิตก�ำหนดแล้วด้วยบัณฑิต (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ ๑. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าราธะ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ ซึ่งพระราธะ ผู้มีอายุ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า นิธีนํว ปวตฺตารํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ได้ยินว่า อ.พระราธะนั้น เป็นพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ในกรุงสาวัตถี ในกาลแห่งตนเป็นคฤหัสถ์ ได้เป็นแล้ว ฯ อ.ราธะพราหมณ์นั้น คิดแล้วว่า อ. เรา จักเป็นอยู่ ในส�ำนัก แห่งภิกษุ ท. ดังนี้ ไปแล้ว สู่วิหาร กระท�ำอยู่ซึ่งภาคพื้น ให้มี ของเขียวไปปราศแล้ว กวาดอยู่ซึ่งบริเวณ ถวายอยู่ ซึ่งวัตถุ ท. มีน�้ำเป็นเครื่องล้างซึ่งหน้าเป็นต้น อยู่แล้วในวิหาร ฯ แม้ อ. ภิกษุ ท. สงเคราะห์แล้ว ซึ่งราธะพราหมณน์นั้น, แต่ว่า อ. ภิกษุ ท. ย่อมไม่ปรารถนา เพื่ออัน ยังราธะพราหมณ์นั้น ให้บรรพชา ฯ อ.ราธพราหมณน์นั้น เมื่อไม่ได้ ซึ่งการบรรพชา เป็นผู้ผ่ายผอม ได้เป็นแล้ว ฯ ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ.พระบรมศาสดา ทรงตรวจดูอยู่ ซึ่งโลก ในกาลอันเป็นที่ก�ำจัดเฉพาะซึ่งมืด ทอดพระเนตรเห็นแล้ว ซึ่งพราหมณน์นั้น ทรงใคร่ครวญอยู่ว่า อ.เหตุอะไร หนอแล ดังนี้ ทรงทราบแล้วว่า อ.ราธะพราหมณ์นั้น เป็นพระอรหันต์ จักเป็น ดังนี้ เป็นราวกะว่าเสด็จเที่ยวไปอยู่ สู่ที่จาริกในวิหาร ในสมัย อันเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน (เป็น) เสด็จไปแล้วสู่ส�ำนัก ของพราหมณ์ ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนพราหมณ์ อ.ท่าน ท�ำอยู่ซึ่งอะไร ย่อมเที่ยวไป ดังนี้ฯ (อ. พราหมณ์ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ข้าพระองค์ กระท�ำอยู่ซึ่งวัตรและวัตรตอบ แก่ภิกษุ ท. ดังนี้ ฯ อ.พระบรมศาสดา ตรัสถามแล้วว่า อ. ท่าน ย่อมได้ ซึ่งการสงเคราะห์ จากส�ำนัก ของภิกษุ ท. เหล่านั้น หรือ ดังนี้ ฯ (อ.พราหมณ์ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ.อย่างนั้น อ.ข้าพระองค์ ย่อมได้ ซึ่งวัตถุอันมีอาหารเป็นประมาณ, แต่ว่า อ.ภิกษุ ท. เหล่านั้น ย่อมยังข้าพระองค์ให้บรรพชา หามิได้ ดังนี้ ฯ อ.พระศาสดา ทรงยังหมู่แห่งภิกษุ ให้ประชุมกันแล้ว ในเพราะเหตุนั่น ตรัสถามแล้ว ซึ่งเนื้อความนั้น ตรัสถามแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. อ. ใคร ๆ ผู้ระลึกถึงอยู่ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระท�ำยิ่ง ของพราหมณ์นี้ มีอยู่หรือ ดังนี้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตร กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ข้าพระองค์ ย่อมระลึกได้,
  • 7. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 2 อ.พราหมณ์นี้ ยังบุคคล ให้ถวายแล้ว ซึ่งภิกษาอันมีทัพพีหนึ่ง เป็นประมาณ อันอันบุคคล น�ำมาแล้ว เพื่อตน แก่ข้าพระองค์ ผู้เที่ยวไปอยู่ เพื่อก้อนข้าว ในกรุงราชคฤห์, อ.ข้าพระองค์ ย่อมระลึกถึงได้ ซึ่งคุณอันบุคคลพึงกระท�ำยิ่ง ของพราหมณ์นี้ ดังนี้ ฯ อ.พระเถระชื่อว่าสารีบุตรนั้น (ครั้นเมื่อพระด�ำรัส) ว่า ดูก่อนสารีบุตร ก็ อ.อันอันเธอ ยังพราหมณ์ผู้มีอุปการะอันตน กระท�ำแล้วอย่างนี้ ให้พ้นจากความทุกข์ ย่อมไม่ควรหรือ ดังนี้ อันพระบรมศาสดา ตรัสแล้ว กราบทูลแล้วว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ.ดีละ อ.ข้าพระองค์ ยังพราหมณ์นั้น จักให้บรรพชา ดังนี้ ยังพราหมณ์นั้น ให้บรรพชาแล้ว ฯ อ.อาสนะ ในที่สุดรอบแห่งอาสนะ ในโรงแห่งภัตร ย่อมถึง แก่ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น, (อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น) ย่อมล�ำบาก (ด้วยวัตถุ ท.) มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น ฯ อ. พระเถระ พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น หลีกไปแล้ว สู่ที่จาริก กล่าวสอนแล้ว ตามสอนแล้ว ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น เนือง ๆ ว่า อ. กรรมนี้อันเธอ พึงกระท�ำ, อ.กรรมนี้อันเธอ ไม่พึงกระท�ำ ดังนี้ฯ อ.ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น เป็นผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่าย เป็นผู้รับซึ่งโอวาทโดยเบื้องขวาโดยปกติ ได้เป็นแล้ว; เพราะเหตุนั้น (อ. ภิกษุชื่อว่าราธะนั้น) ปฏิบัติอยู่ ตามค�ำอันพระเถระพร�่ำสอนแล้ว บรรลุแล้ว ซึ่งพระอรหัต โดยวันเล็กน้อยนั่นเทียว ฯ อ. พระเถระ พาเอา ซึ่งภิกษุชื่อว่าราธะนั้น ไปแล้ว สู่ส�ำนัก ของพระศาสดา ถวายบังคมแล้ว นั่งแล้ว ฯ ครั้งนั้น อ.พระศาสดา ทรงกระท�ำแล้ว ซึ่งปฏิสันถาร ตรัสแล้ว กะพระเถระนั้น ว่า ดูก่อนสารีบุตร อ. อันเตวาสิก ของเธอ เป็น ผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่ายหรือ หนอแล (ย่อมเป็น) ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระนั้น กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระเจ้าข้า อ.อันเตวาสิก ของข้าพระองค์ เป็นผู้อันบุคคล พึงว่าได้โดยง่าย เกินเปรียบ (ย่อมเป็น) , ครั้นเมื่อโทษอะไร ๆ แม้อันข้าพระองค์ กล่าวอยู่, (อ.อันเตวาสิกนั้น) เป็นผู้เคยโกรธแล้ว (ย่อมเป็น) หามิได้ ดังนี้ฯ (อ. พระศาสดา ตรัสถามแล้ว) ว่า ดูก่อนสารีบุตร อ. เธอ เมื่อได้ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท. มีอย่างนี้เป็นรูป พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท. มีประมาณเท่าไร ดังนี้ ฯ (อ. พระเถระ กราบทูลแล้ว) ว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ อ. ข้าพระองค์ พึงรับ ซึ่งสัทธิวิหาริก ท. แม้มากนั่นเทียว ดังนี้ ฯ ครั้งนั้น ในวันหนึ่ง อ. ภิกษุ ท. ยังวาจาเป็นเครื่องกล่าว ให้ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในโรงเป็นที่กล่าว กับด้วยการแสดงซึ่งธรรม ว่า ได้ยินว่า อ. พระเถระชื่อว่าสารีบุตร เป็นผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวที (เป็น) ระลึกถึงแล้ว ซึ่งอุปการะ มีภิกษามีทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ ยังพราหมณ์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ให้บวชแล้ว ; แม้ อ. พระเถระ ชื่อว่าราธะ เป็นผู้อดทนต่อโอวาท (เป็น) ได้แล้ว (ซึ่งอาจารย์) ผู้อดทน ต่อโอวาทนั่นเทียว ดังนี้ฯ อ. พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งวาจาเป็นเครื่องกล่าว ของ ภิกษุ ท.เหล่านั้น ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. (อ. สารีบุตร เป็น ผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวที ย่อมเป็น) ในกาลนี้นั่นเทียว หามิได้, อ. สารีบุตร เป็นผู้กตัญญู เป็นผู้กตเวทีนั่นเทียว (ได้เป็นแล้ว) แม้ในกาลก่อน ดังนี้ อยํ เม ราชคเห ปิณฺฑาย จรนฺตสฺส อตฺตโน อภิหฏํ กฏจฺฉุภิกฺขํ ทาเปสิ, อิมสฺสาหํ อธิการํ สรามีติ อาห. โส, สตฺถารา “กึ ปน เต สารีปุตฺต เอวํ กโตปการํ ทุกฺขโต โมเจตุํ น วฏฺฏตีติ วุตฺเต, “สาธุ ภนฺเต, ปพฺพาเชสฺสามีติ ตํ พฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ. ตสฺส ภตฺตคฺเค อาสนปริยนฺเต อาสนํ ปาปุณาติ, ยาคุภตฺตาทีหิ กิลมติ. เถโร ตํ อาทาย จาริกํ ปกฺกามิ, อภิกฺขณํ นํ “อิทนฺเต กตฺตพฺพํ, อิทนฺเต น กตฺตพฺพนฺติ โอวทิ อนุสาสิ. โส สุวโจ อโหสิ ปทกฺขิณคฺคาหี; ตสฺมา ยถานุสิฏฺ€ํ ปฏิปชฺชมาโน กติปาเหเนว อรหตฺตํ ปาปุณิ. เถโร ตํ อาทาย สตฺถุ สนฺติกํ คนฺตฺวา วนฺทิตฺวา นิสีทิ. อถ นํ สตฺถา ปฏิสนฺถารํ กตฺวา อาห “สุวโจ นุ โข เต สารีปุตฺต อนฺเตวาสิโกติ, “อาม ภนฺเต, อติวิย สุวโจ, กิสฺมิฺจิ โทเส วุจฺจมาเนปิ, น กุทฺธปุพฺโพติ. “สารีปุตฺต เอวรูเป สทฺธิวิหาริเก ลภมาโน กิตฺตเก คณฺเหยฺยาสีติ. “ภนฺเต พหุเกปิ คเหยฺยาเมวาติ. อเถกทิวสํ ธมฺมสภายํ ภิกฺขู กถํ สมุฏฺ€าเปสุํ “สารีปุตฺตตฺเถโร กิร กตฺู กตเวที กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตํ อุปการํ สริตฺวา ทุคฺคตพฺราหฺมณํ ปพฺพาเชสิ; ราธตฺเถโรปิ โอวาทกฺขโม โอวาทกฺขมเมว ลภีติ. สตฺถา เตสํ กถํ สุตฺวา “น ภิกฺขเว อิทาเนว, ปุพฺเพปิ สารีปุตฺโต กตฺู กตเวทีเยวาติ วตฺวา ตมตฺถํ ปกาเสตุํ
  • 8. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 3 ตรัสแล้ว ซึ่งอลีนจิตตชาดก ในทุกนิบาต นี้ว่า อ. เสนา หมู่ใหญ่ ร่าเริงทั่วแล้ว เพราะอาศัย ซึ่งพระราชกุมาร พระนามว่า อลีนจิตตะ ได้ (ยังช้าง) ให้จับแล้ว ซึ่งพระราชา พระนามว่าโกศล ผู้ไม่ทรง ยินดีพร้อมแล้ว (ด้วยความเป็น แห่งพระราชา) อันเป็นของพระองค์ ให้จับเป็น; อ. ภิกษุ ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยนิสสัย อย่างนี้ ผู้มีความเพียรอันปรารภแล้ว ยังธรรมอันเป็นกุศล ให้เจริญอยู่ เพื่อการบรรลุ (ซึ่งธรรม) อันเป็นแดนเกษม จากโยคะ พึงบรรลุ (ซึ่งธรรม) อันเป็น ที่สิ้นไปแห่งสังโยชน์ทั้งปวง โดยล�ำดับ ดังนี้ให้พิสดาร เพื่ออันประกาศ ซึ่งเนื้อความ นั้น ฯ ได้ยินว่า อ. ช้าง ตัวมีอันเที่ยวไปผู้เดียวเป็นปกติ ตัวรู้แล้ว ซึ่ง อุปการะ แก่ตน อันช่างไม้ ท. กระท�ำแล้ว โดยความเป็นคืออัน กระท�ำซึ่งเท้า ให้เป็นอวัยวะไม่มีโรค ให้ ซึ่งช้างผู้ลูกน้อย ตัวมี อวัยวะทั้งปวงขาว ในกาลนั้น เป็นพระเถระชื่อว่าสารีบุตร ได้เป็น แล้ว (ในกาลนี้) ฯ (อ. พระศาสดา) ครั้นตรัสแล้ว ซึ่งชาดก ทรงปรารภ ซึ่งพระ เถระ อย่างนี้ ทรงปรารภ ซึ่งพระเถระชื่อว่าราธะ ตรัสแล้ว ว่า ดู ก่อนภิกษุ ท. ชื่อ อันภิกษุ เป็นผู้อันบุคคลพึงว่าได้โดยง่าย ราวกะ ว่าราธะ พึงเป็น, แม้ผู้ (อันบุคคล) แสดงแล้วซึ่งโทษ กล่าวสอนอยู่ ไม่พึงโกรธ; อนึ่ง (อ. บุคคล) ผู้ให้ซึ่งโอวาท (อันภิกษุ) พึงเห็น ราวกะ (อ.บุคคล) ผู้บอกซึ่งขุมทรัพย์ ดังนี้ เมื่อทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า (อ.บุคคล) พึงเห็น (ซึ่งบุคคล) ใด ผู้แสดงซึ่งโทษโดยปกติ ผู้กล่าวข่มโดยปกติ ผู้มีปัญญา เพียงดังว่า (บุคคล) ผู้บอก ซึ่งขุมทรัพย์ ท., (อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งบัณฑิต ผู้เช่นกับ ด้วยบุคคลนั้น, (เพราะว่า) (เมื่อบุคคล) คบอยู่ (ซึ่งบัณฑิต) ผู้เช่นนั้น (อ. คุณ) อันประเสริฐกว่า ย่อมมี (อ. โทษ) อันลามกกว่า (ย่อมมี) หามิได้ ดังนี้ ฯ (อ. อรรถ) ว่า ซึ่งหม้อแห่งขุมทรัพย์ ท. อันเต็มด้วยรัตนะ มีเงินและทองเป็นต้น (อันบุคคล) ฝัง ตั้งไว้แล้ว ในที่นั้น ๆ (ดังนี้ในบท ท.) เหล่านั้นหนา (แห่งบท) ว่า นิธีนํ ดังนี้ฯ (อ.อรรถ) ว่า ราวกะว่า (บุคคล) ผู้ กระท�ำแล้ว ซึ่งความเอ็นดู ในมนุษย์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ผู้มีความเป็นอยู่โดยยาก (กล่าวแล้ว) ว่า อ. ท่าน จงมา, อ. เรา จักแสดง ซึ่งอุบายแห่งความเป็นอยู่ โดยสบายแก่ท่าน ดังนี้ น�ำไปแล้ว สู่ที่แห่งขุมทรัพย์ เหยียดออก แล้ว ซึ่งมือ บอก ว่า อ. ท่าน ถือเอาไว้แล้วซึ่งทรัพย์นี้ จงเป็นอยู่ สบายเถิด ดังนี้(ดังนี้แห่งบท) ว่า ปวตฺตารํ ดังนี้ฯ อลีนจิตฺตํ นิสฺสาย ปหฏฺ€า มหตี จมู โกสลํ เสนาสนฺตุฏฺ€ํ ชีวคฺคาหํ อคาหยิ; เอวํ นิสฺสยสมฺปนฺโน ภิกฺขุ อารทฺธวีริโย ภาวยํ กุสลํ ธมฺมํ โยคกฺเขมสฺส ปตฺติยา ปาปุเณ อนุปุพฺเพน สพฺพสํโยชนกฺขยนฺติ อิมํ ทุกนิปาเต อลีนจิตฺตชาตกํ วิตฺถาเรตฺวา กเถสิ. ตทา กิร วฑฺฒกีหิ ปาทสฺส อโรคกรณภาเวน กตํ อตฺตโน อุปการํ ตฺวา สพฺพเสตสฺส หตฺถิโปตกสฺส ทายโก เอกจาริโก หตฺถี สารีปุตฺตตฺเถโร อโหสิ. เอวํ เถรํ อารพฺภ ชาตกํ กเถตฺวา ราธตฺเถรํ อารพฺภ “ภิกฺขเว ภิกฺขุนา นาม ราเธน วิย สุวเจน ภวิตพฺพํ, โทสํ ทสฺเสตฺวา โอวทิยมาเนนปิ น กุชฺฌิตพฺพํ; โอวาททายโก ปน นิธิอาจิกฺขนโก วิย ทฏ€พฺโพติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห “นิธีนํว ปวตฺตารํ ยํ ปสฺเส วชฺชทสฺสินํ นิคฺคยฺหวาทึ เมธาวึ, ตาทิสํ ปณฺฑิตํ ภเช, ตาทิสํ ภชมานสฺส เสยฺโย โหติ น ปาปิโยติ. ตตฺถ “นิธีนนฺติ: ตตฺถ ตตฺถ นิทหิตฺวา €ปิตานํ หิรฺสุวณฺณาทิปูรานํ นิธิกุมฺภีนํ. ปวตฺตารนฺติ: กิจฺฉชีวิเก ทุคฺคตมนุสฺเส อนุกมฺปํ กตฺวา “เอหิ, สุเขน เต ชีวิตุปายํ ทสฺเสสฺสามีติ นิธิฏ€านํ เนตฺวา หตฺถํ ปสาเรตฺวา “อิมํ คเหตฺวา สุขํ ชีวาติ อาจิกฺขนฺตารํ วิย.
  • 9. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 4 วชฺชทสฺสินนฺติ: เทฺว วชฺชทสฺสิโน: “อิมินา นํ อสารุปฺเปน วา ขลิเตน วา สงฺฆมชฺเฌ นิคฺคณฺหิสฺสามีติ รนฺธคเวสโก จ, อญฺญาตญฺญาปนตฺถาย ญาตํ อนุคฺคณฺหนตฺถาย สีลาทีนมสฺส วุฑฺฒิกามตาย ตํ ตํ วชฺชํ โอโลกเนน อุลฺลุมฺปนวเสน สภาวสณฺ€ิโต จ; อยมิธาธิปฺเปโต, ยถา ทุคฺคตมนุสฺโส “อิมํ คณฺหาหีติ ตชฺเชตฺวาปิ โปเถตฺวาปิ นิธึ ทสฺสิโต โกปํ น กโรติ, ปมุทิโตว โหติ; เอวเมว เอวรูเป ปุคฺคเล อสารุปฺปํ วา ขลิตํ วา ทิสฺวา อาจิกฺขนฺเต โกโป น กาตพฺโพ, ตุฏฺเ€เนว ภวิตพฺพํ, “ภนฺเต มหนฺตํ โว กมฺมํ กตํ มยฺหํ อาจริยุปชฺฌายฏ€าเน €ตฺวา โอวทนฺเตหิ, ปุนปิ มํ โอวเทยฺยาถาติ ปวาเรตพฺพเมว. นิคฺคยฺหวาทินฺติ: เอกจฺโจ หิ สทฺธิวิหาริกาทีนํ อสารุปฺปํ วา ขลิตํ วา ทิสฺวา “อยํ เม มุโขทกทานาทีหิ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หติ; สเจ ตํ วกฺขามิ, น มํ อุปฏ€หิสฺสติ, เอวํ เม ปริหานิ ภวิสฺสตีติ วตฺตุํ อวิสหนฺโต น นิคฺคยฺหวาที นาม โหติ; โส อิมสฺมึ สาสเน กจวรํ อากิรติ. โย ปน ตถารูปํ วชฺชํ ทิสฺวา วชฺชานุรูปํ ตชฺเชนฺโต ปณาเมนฺโต ทณฺฑกมฺมํ กโรนฺโต วิหารา นีหรนฺโต สิกฺขาเปติ. อยํ นิคฺคยฺหวาที นาม; เสยฺยถาปิ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. วุตฺตฺเหตํ “นิคฺคยฺห นิคฺคยฺหาหํ อานนฺท วกฺขามิ, ปคฺคยฺห ปคฺคยฺหาหํ อานนฺท วกฺขามิ, โย สาโร, โส €สฺสตีติ. เมธาวินฺติ: ธมฺโมชปฺาย สมนฺนาคตํ. ตาทิสนฺติ: เอวรูปํ ปณฺฑิตํ ภเชยฺย ปยิรุปาเสยฺย; (อ.อันวินิจฉัย ในบท) ว่า วชฺชทสฺสินํ ดังนี้(อันบัณฑิต พึงทราบ): (อ. ภิกษุ ท.) ผู้แสดง ซึ่งโทษโดยปกติ ๒, คือ (อ.ภิกษุ) ผู้แสวงหาซึ่งโทษ (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา จักข่ม ซึ่งภิกษุ นั้น ด้วยมรรยาทอันไม่สมควรหรือ หรือว่าด้วยความพลั้งพลาดนี้ ในท่ามกลางแห่งสงฆ์ ดังนี้ด้วย, คือ (อ. ภิกษุ) ผู้ตั้งอยู่ ด้วยดีแล้ว ตามสภาพ ด้วยความสามารถแห่งการอุ้มชู ด้วยอันแลดูซึ่งโทษนั้นๆ เพื่อประโยชน์แก่อันให้รู้ซึ่งเรื่อง อันภิกษุนั้นไม่รู้แล้ว เพื่อประโยชน์แก่การตามถือเอา, (ซึ่งเรื่อง อันภิกษุนั้น) รู้แล้ว เพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ใคร่ ซึ่งความเจริญ (แห่งคุณ ท.) มีศีลเป็นต้น แก่ภิกษุนั้น ด้วย (อ. ภิกษุผู้มีในภายหลัง) นี้(อันพระผู้มีพระภาคเจ้า) ทรงประสงค์ เอาแล้ว (ในบท ว่า วชฺชทสฺสินํ ดังนี้) นี้, อ.มนุษย์ผู้ถึงแล้วซึ่งยาก ผู้ (อันบุคคล) คุกคามแล้วก็ดี โบยแล้วก็ดี แสดงแล้ว ซึ่งขุมทรัพย์ (ด้วยค�ำ) ว่า อ. ท่าน จงถือเอา ซึ่งขุมทรัพย์นี้ ดังนี้ ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งความโกรธ, เป็นผู้บันเทิงทั่วแล้วทียว ย่อมเป็น ฉันใด; ครั้นเมื่อบุคคล ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป เห็นแล้ว ซึ่งมรรยาอันไม่สมควรหรือ หรือว่า ซึ่งความพลั้งพลาด บอกอยู่ อ.ความโกรธ (อันภิกษุนั้น) ไม่ถึงกระท�ำ, (อันภิกษุนั้น) เป็นผู้ยินดีแล้วนั่นเทียว พึงเป็น ฉันนั้นนั่นเทียว, (อันภิกษุนั้น) พึงปวารณานั่นเทียว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจิรญ อ. กรรม อันใหญ่ อันท่าน ท. ผู้ ตั้งอยู่แล้ว ในต�ำแหน่ง- แห่งอาจารย์และอุปัชฌาย์ ของกระผม กล่าวสอนอยู่ กระท�ำแล้ว, อ.ท่าน ท. พึงกล่าวสอน ซึ่งกระผม แมัอีก ดังนี้ฯ (อ.อรรถ) ว่า ก็ (อ.อาจารย์) บางคน เห็นแล้ว ซึ่งมรรยาท อันไม่สมควรหรือ หรือว่า ซึ่งความพลั้งพลาด (แห่งศิษย์ ท.) มีสัทธิวิหาริกเป็นต้น ไม่อาจอยู่ เพื่ออันกล่าว (เพราะความ กลัว) ว่า อ.ศิษย์นี้ ย่อมบ�ำรุง (ด้วยกิจ ท.) มีการถวายซึ่งน�้ำ เป็นเครื่องล้างซึ่งหน้าเป็นต้น แก่เรา โดยเคารพ; ถ้าว่า อ. เรา จักว่ากล่าว ซึ่งศิษย์นั้นไซร้, (อ.ศิษย์นั้น) จักไม่บ�ำรุง ซึ่งเรา, อ.ความเสื่อมรอบ จักมี แก่เรา ด้วยประการฉะนี้ ดังนี้ ชื่อว่าเป็นผู้กล่าวข่มโดยปกติ ย่อมเป็น หามิได้ อ.อาจารย์นั้น ย่อมเกลี่ยลง ซึ่งหยากเยื่อ ในพระศาสนา นี้ฯ ส่วนว่า อ.อาจารย์ใด เห็นแล้ว ซึ่งโทษ มีรูปอย่างนั้น ขู่อยู่ ขับไล่อยู่ กระท�ำอยู่ ซึ่งทัณฑกรรม น�ำออกอยู่ จากวิหาร ตามสมควรแก่โทษ (ยังศิษย์นั้น) ให้ศึกษาอยู่ ฯ อ.พระสัมมา สัมพุทธเจ้า (ชื่อว่า เป็นผู้ตรัสขู่โดยปกติย่อมเป็น) แม้ฉันใด อ.อาจารย์นี้ ซื่อว่าเป็นผู้กล่าวข่มโดยปกติ (ย่อมเป็น) (ฉันนั้น) ฯ จริงอยู่(อ.พระด�ำรัส)นั้นว่าดูก่อนอานนท์ อ.เราจักกล่าวข่มๆ, ดูก่อนอานนท์, อ.เรา จักกล่าวยกย่อง ๆ, อ.บุคคล ใด เป็นสาระ (ย่อมเป็น), อ บุคคลนั้น จักตั้งอยู่ได้ ดังนี้ (อันผู้มีพระภาคเจ้า) ตรัสแล้ว (ดังนี้แห่งบท) ว่า นิคฺคยฺหวาทึ ดังนี้ฯ (อ. อรรถ) ว่า ผู้มาตามพร้อมแล้วด้วยปัญญามีโอชะอันเกิด แก่ธรรม (ดังนี้แห่งบท) ว่า เมธาวึ ดังนี้ฯ (อ.อรรถ) ว่า (อ.บุคคล) พึงคบ คือว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้ ซึ่งบัณฑิต ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป:
  • 10. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 5 ตาทิสํ หิ อาจริยํ ภชมานสฺส อนฺเตวาสิกสฺส เสยฺโย โหติ น ปาปิโย วุฑฺฒิเยว โหติ น ปริหานีติ. เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสูติ. ราธตฺเถรวตฺถุ. ๒. อสฺสชิปุนพฺพสุกวตฺถุ. (๖๑) “โอวเทยฺยานุสาเสยฺยาติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต อสฺสชิปุนพฺพสุเก อารพฺภ กเถสิ. เทสนา ปน กิฏาคิริสฺมึ สมุฏ€ิตา. เต กิร กิฺจาปิ อคฺคสาวกานํ สทฺธิวิหาริกา, อลชฺชิโน ปน อเหสุํ ปาปภิกฺขู. เต ปาปเกหิ อตฺตโน ปริวาเรหิ ปฺจหิ ภิกฺขุสเตหิ สทฺธึ กิฏาคิริสฺมึ วิหรนฺตา มาลาวจฺฉํ โรเปนฺติปิ โรปาเปนฺติปีติอาทิกํ นานปฺปการํ อนาจารํ กโรนฺตา กุลทูสกกมฺมํ กตฺวา ตโต อุปฺปนฺเนหิ ปจฺจเยหิ ชีวิตํ กปฺเปนฺตา ตํ อาวาสํ เปสลานํ ภิกฺขูนํ อนาวาสํ อกํสุ. สตฺถา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา เตสํ ปพฺพาชนีย- กมฺมกรณตฺถาย สปริวาเร เทฺว อคฺคสาวเก อามนฺเตตฺวา “คจฺฉถ สารีปุตฺตา, เตสุ เย ตุมฺหากํ วจนํ น กโรนฺติ, เตสํ ปพฺพาชนียกมฺมํ กโรถ: เย ปน กโรนฺติ, เต โอวทถ อนุสาสถ โอวทนฺโต หิ อนุสาสนฺโต อปณฺฑิตานํเยว อปฺปิโย โหติ, ปณฺฑิตานํ ปน ปิโย โหติ มนาโปติ อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห เพราะว่า เมื่ออันเตวาสิก คบอยู่ ซึ่งอาจารย์ ผู้เช่นนั้น (อ.คุณ) อันประเสริฐกว่า ย่อมมี (อ.โทษ) อันลามกกว่า (ย่อมมี) หามิได้ คือว่า อ. ความเจริญ นั่นเทียว ย่อมมี อ. ความเสื่อมรอบ (ย่อมมี) หามิได้ ดังนี้(แห่งบท) ว่า ตาทิสํ ดังนี้ฯ ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผลเป็นต้น ดังนี้แล ฯ อ. เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าราธะ (จบแล้ว) ฯ ๒.อ.เรื่องแห่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ.พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ ซึ่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ ท. ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า โอวเทยฺยานุสาเสยฺย ดังนี้เป็นต้น ฯ ก็ อ. เทศนา ตั้งขึ้นพร้อมแล้ว ในกิฎาคีรี ฯ ได้ยินว่า (อ.ภิกษุ ท. ๒) เหล่านั้น เป็นสัทธิวิหาริก ของพระอัครสาวก ท. (ย่อมเป็น) แม้โดยแท้, ถึงอย่างนั้น (อ. ภิกษุ ท. ๒ เหล่านั้น) เป็นผู้ไม่มีความละอาย เป็นภิกษุผู้ลามก ได้เป็นแล้ว ฯ อ. ภิกษุ ท. ๒ เหล่านั้น อยู่อยู่ ในกิฎาคีรี กับ ด้วยร้อย แห่งภิกษุ ท. ๕ ผู้เป็นบริวาร ของตน ผู้ลามก กระท�ำอยู่ซึ่งอนาจาร มีประการต่างๆ มีค�ำว่า (อ.ภิกษุ ท.๒เหล่านั้น) ย่อมปลูก บ้าง ย่อม (ยังบุคคล) ให้ปลูกบ้าง ซึ่งกอแห่งระเบียบ ดังนี้เป็นต้น กระท�ำแล้ว ซึ่งกรรมของภิกษุผู้ประทุษร้ายซึ่งตระกูล ส�ำเร็จอยู่ ซึ่งชีวิต ด้วยปัจจัย ท. อันเกิดขึ้นแล้ว แต่กรรมนั้น ได้กระท�ำแล้ว ซึ่งอาวาสนั้น ให้เป็นประเทศมิใช่ประเทศเป็นที่อาศัยอยู่ แห่งภิกษุ ท. ผู้มีศีลเป็นที่รัก ฯ อ.พระศาสดา ทรงสดับแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่วนั้น ตรัสเรียกมาแล้ว ซึ่งพระอัครสาวก ท. ๒ ผู้เป็นไปกับด้วยบริวาร เพื่อประโยชน์แก่การกระท�ำซึ่งปัพพาชนียกรรม แก่ภิกษุ ท. เหล่านั้น (ตรัสแล้ว) ว่า ดูก่อนสารีบุตรและโมคคัลลานะ ท. อ. เธอ ท. จงไป, ในภิกษุทั้งหลายเหล่านั้น หนา อ.ภิกษุ ท. เหล่าใด ย่อมไม่กระท�ำ ซึ่งค�ำ ของเธอ ท. อ.เธอ ท. จงกระท�ำ ซึ่งปัพพาชนียกรรม แก่ภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ ส่วนว่า อ.ภิกษุ ท. เหล่าใด ย่อมกระท�ำ, อ. เธอ ท. จงกล่าวสอน จงตามสอน ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ; เพราะว่า (อ.บุคคล) ผู้กล่าวสอนอยู่ ผู้ตามสอนอยู่ เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก (ของชน ท.) ผู้มิใช่บัณฑิตนั่นเทียว ย่อมเป็น, แต่ว่า (อ. บุคคล ผู้กล่าวสอนอยู่ ผู้ตามสอนอยู่นั้น) เป็นผู้ เป็นที่รัก เป็นผู้เป็นที่อิ่มเอิบแห่งใจ ของบัณฑิต ท. ย่อมเป็น ดังนี้ เมื่อทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดงซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า
  • 11. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 6 “โอวเทยฺยานุสาเสยฺย อสพฺภา จ นิวารเย สตํ หิ โส ปิโย โหติ อสตํ โหติ อปฺปิโยติ. ตตฺถ “โอวเทยฺยาติ: อุปฺปนฺเน วตฺถุสฺมึ, วทนฺโต โอวทติ นาม, อนุปฺปนฺเน วตฺถุสฺมึ, “อยโสปิ เต สิยาติอาทิวเสน อนาคตํ วชฺชํ ทสฺเสนฺโต อนุสาสติ นาม; สมฺมุขา วทนฺโต โอวทติ นาม, ปรมฺมุขา ทูตํ วา สาสนํ วา เปเสนฺโต อนุสาสติ นาม; สกึ วทนฺโตปิ โอวทติ นาม, ปุนปฺปุนํ วทนฺโต อนุสาสติ นาม โอวทนฺโตเอว วา อนุสาสติ นามาติ เอวํ โอวเทยฺย อนุสาเสยฺย. อสพฺภาติ: อกุสลธมฺมา นิวาเรยฺย กุสลธมฺเม ปติฏ€าเปยฺยาติ อตฺโถ. สตนฺติ: โส เอวรูโป ปุคฺคโล พุทฺธาทีนํ สปฺปุริสานํ ปิโย โหติ; เย ปน อทิฏ€ธมฺมา วิติณฺณปรโลกา อามิสจกฺขุกา ชีวิตตฺถาย ปพฺพชิตา, เตสํ อสตํ โส โอวาทโก อนุสาสโก “น ตฺวํ อมฺหากํ อุปชฺฌาโย, น อาจริโย, กสฺมา อมฺเห โอวทสีติ เอวํ มุขสตฺตีหิ วิชฺฌนฺตานํ อปฺปิโย โหตีติ. เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสุ. สารีปุตฺตโมคฺคลฺลานาปิ ตตฺถ คนฺตฺวา เต ภิกฺขู โอวทึสุ อนุสาสึสุ. เตสุ เอกจฺเจ โอวาทํ สมฺปฏิจฺฉิตฺวา สมฺมา วตฺตึสุ, เอกจฺเจ วิพฺภมึสุ, เอกจฺเจ ปพฺพาชนียกมฺมํ ปาปุณึสูติ. อสฺสชิปุนพฺพสุกวตฺถุ. (อ. บุคคลใด) พึงกล่าวสอนด้วย พึงตามสอนด้วย พึงห้าม (จากธรรม) อันมิใช่ของสัตบุรุษด้วย อ. บุคคลนั้น แล เป็นผู้เป็นที่รัก ของสัตบุรุษ ท. ย่อมเป็น เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก ของอสัตบุรุษ ท. ย่อมเป็น ดังนี้ ฯ (อ.อรรถ)ว่าครั้นเมื่อเรื่องเกิดขึ้นแล้ว,(อ.บุคคล)ว่ากล่าวอยู่ ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน, ครั้นเมื่อเรื่อง ไม่เกิดขึ้นแล้ว, (อ.บุคคล) แสดงอยู่ ซึ่งโทษ อันไม่มาแล้ว ด้วยสามารถแห่งค�ำมีค�ำว่า แม้ อ. โทษมิใช่ยศ พึงมี แก่ท่าน ดังนี้เป็นต้น ชื่อว่าย่อมตามสอน ; (อ.บุคคล) ว่ากล่าวอยู่ ในที่พร้อมหน้า ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน, (อ.บุคคล) ส่งไปอยู่ ซึ่ง ทูต หรือ หรือว่าซึ่งข่าวสาส์น ในที่ลับหลัง ชือว่าย่อมตามสอน (อ. บุคคล) แม้ว่ากล่าวอยู่ คราวเดียว ชื่อว่าย่อมกล่าวสอน, (อ.บุคคล) ว่ากล่าวอยู่ บ่อย ๆ ชื่อว่าย่อมตามสอน อีกอย่างหนึ่ง(อ.บุคคล)กล่าวสอนอยู่นั่นเทียวชื่อว่าย่อมตาม สอน(อ.บุคคล)พึงกล่าวสอนพึงตามสอนอย่างนี้ด้วยประการฉะนี้ (ดังนี้ในบทท.)เหล่านั้นหนา(แห่งบท)ว่าโอวเทยฺยดังนี้เป็นต้นฯ อ.อรรถ ว่า พึงห้าม จากอกุศลธรรม คือว่า พึงให้ตั้งอยู่เฉพาะ ในกุศลธรรม ดังนี้ (แห่งบท) ว่า อสพฺภา ดังนี้ฯ (อ.อรรถ) ว่า อ. บุคคล นั้น คือว่า ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป เป็นผู้เป็น ที่รักของสัตบุรุษท.มีพระพุทธเจ้าเป็นต้นย่อมเป็น;แต่ว่าอ.ชนท. เหล่าใด ผู้มีธรรมอันไม่เห็นแล้ว ผู้มีโลกอื่นอันข้ามวิเศษแล้ว ผู้เห็นแก่อามิส บวชแล้ว เพื่อต้องการแก่ความเป็นอยู่, (อ.บุคคล) ผู้กล่าวสอน ผู้ตามสอน นั้น เป็นผู้ไม่เป็นที่รัก (ของชน ท.) เหล่านั้น ชื่อว่าของอสัตบุรุษ ท. ผู้ทิ่มแทงอยู่ ด้วยหอก คือปากท. อย่างนี้ ว่า อ.ท่าน เป็นอุปัชฌาย์ ของเราท. (ย่อม เป็น) หามิได้, (อ.ท่าน) เป็นอาจารย์ (ของเรา ท. ย่อมเป็น) หามิได้, อ.ท่าน ย่อมกล่าวสอน ซึ่งเรา ท. เพราะเหตุไร ดังนี้ดังนี้(แห่งบท) ว่า สตํ ดังนี้เป็นต้น ฯ ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ. ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผล ท.) มีโสดาปัตติผล เป็นต้นฯ แม้ อ. พระสารีบุตรและพระโมคคัลลานะ ท. ไปแล้ว ในที่นั้น กล่าวสอนแล้ว ตามสอนแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. เหล่านั้น ฯ ในภิกษุ ท. เหล่านั้นหนา อ. ภิกษุ ท. บางพวก รับพร้อมแล้ว ซึ่งโอวาท ประพฤติแล้ว โดยชอบ, อ. ภิกษุ ท. บางพวก สึกแล้ว, อ.ภิกษุ ท. บางพวก ถึงแล้ว ซึ่งปัพพาชนียกรรม ดังนี้แล ฯ อ.เรื่องแห่งภิกษุชื่อว่าอัสสชิและภิกษุชื่อว่าปุนัพพสุกะ (จบแล้ว)ฯ
  • 12. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 7 ๓. ฉนฺนตฺเถรวตฺถุ. (๖๒) “น ภเช ปาปเก มิตฺเตติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต ฉนฺนตฺเถรํ อารพฺภ กเถสิ. โส กิรายสฺมา “อมฺหากํ อยฺยปุตฺเตน สทฺธึ มหาภินิกฺขมนํ นิกฺขมนฺโต ตทา อฺํ เอกมฺปิ น ปสฺสามิ, อิทานิ ปน `อหํ สารีปุตฺโต นาม, อหํ โมคฺคลฺลาโน นาม, มยํ อคฺคสาวกมฺหาติ วตฺวา อิเม วิจรนฺตีติ เทฺว อคฺคสาวเก อกฺโกสติ. สตฺถา ภิกฺขูนํ สนฺติกา ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา ฉนฺนตฺเถรํ ปกฺโกสาเปตฺวา โอวทิ. โส ตํขณฺเว ตุณฺหี หุตฺวา ปุน คนฺตฺวา เถเร อกฺโกสติเยว. เอวํ ยาวตติยํ อกฺโกสนฺตํ ปกฺโกสาเปตฺวา สตฺถา โอวทิตฺวา “ฉนฺน เทฺว อคฺคสาวกา นาม ตุยฺหํ กลฺยาณมิตฺตา อุตฺตมปุริสา, เอวรูเป กลฺยาณมิตฺเต เสวสฺสุ ภชสฺสูติ วตฺวา อนุสนฺธึ ฆเฏตฺวา ธมฺมํ เทเสนฺโต อิมํ คาถมาห น ภเช ปาปเก มิตฺเต, น ภเช ปุริสาธเม, ภเชถ มิตฺเต กลฺยาเณ, ภเชถ ปุริสุตฺตเมติ. ตสฺสตฺโถ: กายทุจฺจริตาทิอกุสลกมฺมาภิรตา ปาปมิตฺตา นาม, สนฺธิจฺเฉทนาทิเก วา เอกวีสติอเนสนาปเภเท วา อฏฺ€าเน นิโยชกา ปุริสาธมา นาม: อุโภปิ เอเต ปาปมิตฺตา เจว ปุริสาธมา จ; เต น ภเชยฺย น ปยิรุปาเสยฺย, ๓. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ ซึ่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ ตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า น ภเช ปาปเก มิตฺเต ดังนี้เป็นต้น ฯ ได้ยินว่า (อ.พระฉันนะ)ผู้มีอายุนั้น ย่อมด่า ซึ่งพระอัครสาวก ท. ๒ ว่าอ.เราออกไปอยู่ ออกไปเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่กับด้วยพระลูกเจ้า ของเรา ท. ย่อมไม่เห็น (ซึ่งบุคคล) อื่น แม้คนหนึ่ง ในกาลนั้น, แต่ว่า ในกาลนี้ (อ. ภิกษุ ท.) เหล่านี้ ย่อมเที่ยวกล่าว ว่า อ.เราเป็นผู้ชื่อว่าสารีบุตร(ย่อมเป็น),อ.เราเป็นผู้ชื่อว่าโมคคัลลานะ (ย่อมเป็น), อ. เรา ท. เป็นพระอัครสาวก ย่อมเป็น ดังนี้ ดังนี้ ฯ อ.พระศาสดาทรงสดับแล้วซึ่งความเป็นไปทั่วนั้นจากส�ำนัก ของภิกษุ ท. ทรงยังบุคคลให้ร้องเรียกแล้ว ซึ่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ ตรัสสอนแล้ว ฯ อ. พระเถระนั้น เป็นผู้นิ่ง เป็น ในขณะนั้นนั่นเทียว ไปแล้ว ย่อมด่า ซึ่งพระเถระ ท. อีกนั่นเทียว ฯ อ.พระศาสดา ทรงยังบุคคล ให้ร้องเรียกแล้ว (ซึ่งพระเถระ) ผู้ด่าอยู่ สิ้นการก�ำหนดเพียงใดแห่งวาระที่ ๓ อย่างนี้ ตรัสสอนแล้ว ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนฉันนะ ชื่อ อ. พระอัครสาวก ท. ๒ เป็นกัลยาณมิตร เป็นบุรุษผู้สูงสุด ของเธอ (ย่อมเป็น), อ. เธอ จงเสพ จงคบ ซึ่งกัลยาณมิตร ท. ผู้มีอย่างนี้เป็นรูป ดังนี้ เมื่อทรงสืบต่อ ซึ่งอนุสนธิ แสดง ซึ่งธรรม ตรัสแล้ว ซึ่งพระคาถา นี้ว่า (อ. บุคคล) ไม่พึงคบ ซึ่งมิตร ท. ผู้ชั่วช้า, (อ. บุคคล) ไม่พึงคบ ซึ่งบุรุษผู้ต�่ำช้า ท., (อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งมิตร ท. ผู้ดีงาม, (อ. บุคคล) พึงคบ ซึ่งบุรุษผู้สูงสุด ท. ดังนี้ ฯ อ.เนื้อความ แห่งค�ำอันเป็นพระคาถานั้น ว่า (อ. ชน ท.) ผู้ยินดี ยิ่งแล้วในอกุศลกรรมมีกายทุจริต เป็นต้น ชื่อว่าเป็นมิตรผู้ชั่วช้า (ย่อมเป็น), (อ. ชน ท.) ผู้ประกอบ ในฐานะอันไม่สมควร มีการตัดซึ่งที่ต่อ เป็นต้นหรือ หรือว่าอันต่างด้วยการแสวงหาอันไม่สมควร ๒๑ อย่าง ชื่อว่าเป็นบุรุษผู้ต�่ำช้า (ย่อมเป็น), (อ. ชน ท.) เหล่านั่น แม้ทั้งสอง เป็นมิตรผู้ชั่วช้าด้วยนั่นเทียว เป็นบุรุษผู้ต�่ำช้าด้วย (ย่อมเป็น) ; (อ. บุคคล) ไม่พึงคบ คือว่า ไม่พึง เข้าไปนั่งใกล้ ซึ่งชน ท. เหล่านั้น ,
  • 13. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 8 วิปริตา ปน กลฺยาณมิตฺตา เจว สปฺปุริสา จ, เต ภเชถ ปยิรุปาเสถาติ. เทสนาวสาเน พหู โสตาปตฺติผลาทีนิ ปาปุณึสุ. ฉนฺนตฺเถโร ปน โอวาทํ สุตฺวาปิ ปุริมนเยเนว ปุน ภิกฺขู อกฺโกสติ ปริภาสติ. ปุนปิ สตฺถุ ภิกฺขู อาโรจยึสุ. สตฺถา “ภิกฺขเว มยิ ธรนฺเต ฉนฺนํ สิกฺขาเปตุํ น สกฺขิสฺสถ, มยิ ปน ปรินิพฺพุเต สกฺขิสฺสถาติ วตฺวา, ปรินิพฺพานกาเล อายสฺมตา อานนฺเทน “ภนฺเต กถํ ฉนฺนตฺเถเร อมฺเหหิ ปฏิปชฺชิตพฺพนฺติ วุตฺเต “อานนฺท ฉนฺนสฺส ภิกฺขุโน พฺรหฺมทณฺโฑ ทาตพฺโพติ อาณาเปสิ. โส สตฺถริ ปรินิพฺพุเต อานนฺทตฺเถเรน อาโรปิตํ พฺรหฺมทณฺฑํ สุตฺวา ทุกฺขี ทุมฺมโน ติกฺขตฺตุํ มุจฺฉิโต ปปติตฺวา “มา มํ ภนฺเต นาสยิตฺถาติ ยาจิตฺวา สมฺมา วตฺตํ ปูเรนฺโต น จิรสฺเสว สห ปฏิสมฺภิทาหิ อรหตฺตํ ปาปุณีติ. ฉนฺนตฺเถรวตฺถุ. ส่วนว่า (อ. ชน ท.) ผู้ผิดตรงกันข้าม เป็นกัลยาณมิตรด้วยนั่นเทียว เป็นสัตบุรุษด้วย (ย่อมเป็น), (อ. บุคคล) พึงคบ คือว่า พึงเข้าไปนั่งใกล้ ซึ่งชนท.เหล่านั้น ดังนี้(อันบัณฑิตพึงทราบ)ฯ ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งเทศนา (อ.ชน ท.) มาก บรรลุแล้ว (ซึ่งอริยผลท.) มีโสดาปัตติผล เป็นต้นฯ ส่วนว่า อ. พระเถระชื่อว่าฉันนะ แม้ฟังแล้ว ซึ่งพระโอวาท ย่อมด่า ย่อมบริภาษ ซึ่งภิกษุ ท. อีก ตามนัยอันมีในก่อนนั่นเทียว ฯ อ. ภิกษุ ท. กราบทูลแล้วแก่พระศาสดาแม้อีกฯ อ. พระศาสดา ตรัสแล้ว ว่า ดูก่อนภิกษุ ท. ครั้นเมื่อเรา ทรงอยู่ อ. เธอ ท. จักไม่อาจ เพื่ออันยังฉันนะให้ศึกษาได้, แต่ว่า ครั้นเมื่อเรา ปรินิพพานแล้วอ.เธอท.จักอาจดังนี้,(ครั้นเมื่อค�ำ)ว่าข้าแต่พระองค์ ผู้เจริญ อันข้าพระองค์ ท. พึงปฏิบัติ ในพระเถระชื่อว่าฉันนะ อย่างไร ดังนี้ อันพระอานนท์ผู้มีอายุ กราบทูลแล้ว ในกาลเป็นที่เสด็จ ปรินิพพาน (ทรงยังพระอานนท์) ให้รู้ทั่วแล้ว ว่า ดูก่อนอานนท์ อ.พรหมทัณฑ์ (อันเธอท.) พึงให้ แก่ภิกษุ ชื่อว่าฉันนะ ดังนี้ฯ อ. พระเถระชื่อว่าฉันนะนั้น ครั้นเมื่อพระศาสดา ปรินิพพานแล้ว ฟังแล้วซึ่งพรหมทัณฑ์ อันพระเถระชื่อว่าอานนท์ ยกขึ้นแล้ว เป็นผู้มีทุกข์ เป็นผู้มีใจอันโทษประทุษร้ายแล้ว (เป็น) ล้ม สลบแล้ว ๓ ครั้ง อ้อนวอนแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. อย่า ยังกระผม ให้ฉิบหายแล้วดังนี้ยังวัตรให้เต็มอยู่โดยชอบบรรลุแล้วซึ่งพระอรหัต กับด้วยปฏิสัมภิทาท.ต่อกาลไม่นานนั่นเทียว ดังนี้แลฯ อ. เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่าฉันนะ (จบแล้ว) ฯ
  • 14. ผลิตสื่อการเรียนรู้ โดยโรงเรียนพระปริยัติธรรม วัดพระธรรมกาย 9 ๔. มหากปฺปินตฺเถรวตฺถุ. (๖๓) “ธมฺมปีติ สุขํ เสตีติ อิมํ ธมฺมเทสนํ สตฺถา เชตวเน วิหรนฺโต มหากปฺปินตฺเถรํ อารพฺภ กเถสิ. ตตฺรายํ อนุปุพฺพีกถา: “อตีเต กิรายสฺมา มหากปฺปิโน ปทุมุตฺตรพุทฺธสฺส ปาทมูเล กตาภินีหาโร สํสาเร สํสรนฺโต พาราณสิโต อวิทูเร เอกสฺมึ เปสการคาเม เชฏฺ€กเปสกาโร หุตฺวา นิพฺพตฺติ. ตทา สหสฺสมตฺตา ปจฺเจกพุทฺธา อฏฺ€ มาเส หิมวนฺเต วสิตฺวา วสฺสิเก จตฺตาโร มาเส ชนปเท วสนฺติ. เต เอกวารํ พาราณสิยา อวิทูเร โอตริตฺวา “เสนาสนกรณตฺถาย หตฺถกมฺมํ ยาจถาติ รญฺโญ สนฺติกํ อฏฺ€ ปจฺเจกพุทฺเธ ปหิณึสุ. ตทา ปน รญฺโญ วปฺปมงฺคลกาโล โหติ. โส “ปจฺเจกพุทฺธา กิราคตาติ สุตฺวา นิกฺขมิตฺวา อาคตการณํ ปุจฺฉิตฺวา “อชฺช ภนฺเต โอกาโส นตฺถิ, เสฺว อมฺหากํ วปฺปมงฺคลํ, ตติยทิวเส กริสฺสามีติ วตฺวา ปจฺเจกพุทฺเธ อนิมนฺเตตฺวาว ปาวิสิ. ปจฺเจกพุทฺธา “อญฺญํ คามํ ปวิสิสฺสามาติ ปกฺกมึสุ. ตสฺมึ ขเณ เชฏฺ€กเปสการสฺส ภริยา เกนจิเทว กรณีเยน พาราณสึ คจฺฉนฺตี เต ปจฺเจกพุทฺเธ ทิสฺวา วนฺทิตฺวา “กึ ภนฺเต อเวลาย อยฺยา อาคตาติ ปุจฺฉิตฺวา อาทิโต ปฏฺ€าย ตํ ปวตฺตึ สุตฺวา สทฺธา ปญฺญาสมฺปนฺนา อิตฺถี “เสฺว ภนฺเต อมฺหากํ ภิกฺขํ คณฺหถาติ นิมนฺเตสิ. “พหุกา มยํ ภคินีติ. “กิตฺตกา ภนฺเตติ. “สหสฺสมตฺตา ภคินีติ. ๔. อ.เรื่องแห่งพระเถระชื่อว่ามหากัปปินะ (อันข้าพเจ้า จะกล่าว) ฯ อ. พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ในพระเชตวัน ทรงปรารภ ซึ่งพระเถระชื่อว่ามหากัปปินะตรัสแล้ว ซึ่งพระธรรมเทศนา นี้ ว่า ธมฺมปีติ สุขํ เสติ ดังนี้เป็นต้น ฯ อ.วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยล�ำดับ ในเรื่องนั้น นี้ ได้ยินว่า ในกาลอันล่วงไปแล้ว อ.พระมหากัปปินะ ผู้มีอายุ เป็นผู้มี อภินิหารอันกระท�ำแล้ว ณ ที่ใกล้แห่งพระบาท ของพระพุทธเจ้า พระนาม ว่าปทุมุตระ (เป็น) ท่องเที่ยวไปอยู่ ในสงสาร บังเกิดแล้ว เป็นบุคคลผู้กระท�ำซึ่งหูกผู้เจริญที่สุด เป็น ในบ้านแห่งบุคคล- ผู้กระท�ำซึ่งหูก แห่งหนึ่ง ในที่ไม่ไกล จากเมืองชื่อว่าพาราณสี ฯ ในกาลนั้น อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มีพันเป็นประมาณ อยู่แล้ว ในป่าหิมพานต์ สิ้นเดือน ท. ๘ ย่อมอยู่ ในชนบท สิ้นเดือน ท. ๔ อันมีในฤดูฝน ฯ อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ข้ามลงแล้วในที่ไม่ไกล แต่เมืองชื่อว่าพาราณสี สิ้นวาระหนึ่ง ส่งไปแล้ว ซึ่งพระปัจเจก- พุทธเจ้า ท. ๘ สู่ส�ำนักของพระราชา (ด้วยค�ำ) ว่า อ.ท่าน ท. จงขอ ซึ่งหัตถกรรม เพื่อประโยชน์แก่การกระท�ำซึ่งเสนาสนะดังนี้ฯ ก็ อ.กาลนั้น เป็นกาล แห่งมงคลในเพราะอันหว่าน แห่งพระราชา ย่อมเป็น ฯ อ.พระราชานั้น ทรงสดับแล้ว ว่า ได้ยินว่า อ.พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มาแล้ว ดังนี้เสด็จออกไปแล้ว ตรัสถามแล้ว ซึ่งเหตุแห่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. มาแล้ว ตรัสแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ในวันนี้ อ. โอกาส ย่อมไม่มี, อ. มงคล ในเพราะอันหว่าน แห่งข้าพเจ้า ท. (จักมี) ในวันพรุ่ง, อ.ข้าพเจ้า จักกระท�ำ ในวันที่ ๓ ดังนี้ ไม่ทรงนิมนต์แล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เทียว ได้เสด็จเข้าไปแล้ว ฯ อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. (คิดแล้ว) ว่า อ. เรา ท. จักเข้าไป สู่บ้าน อื่น ดังนี้ หลีกไปแล้ว ฯ ในขณะนั้น อ. ภรรยา ของบุคคลผู้กระท�ำซึ่งหูกผู้เจริญ ที่สุด ไปอยู่ สู่เมืองชื่อว่าพาราณสี ด้วยกิจอันตนพึงกระท�ำ บางอย่างนั่นเทียว เห็นแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น ไหว้แล้วถามแล้วว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญอ.พระผู้เป็นเจ้าท.มาแล้ว ในสมัยมิใช่เวลา ท�ำไม ดังนี้ ฟังแล้ว ซึ่งความเป็นไปทั่ว นั้น จ�ำเดิม แต่ต้น เป็นหญิงมีศรัทธา ผู้ถึงพร้อมแล้วด้วยปัญญา (เป็น) นิมนต์แล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ท่าน ท. ขอจงรับ ซึ่งภิกษา ของดิฉัน ท. ในวันพรุ่ง ดังนี้ฯ (อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. กล่าวแล้ว) ว่าดูก่อนน้องหญิง อ. เรา ท. เป็นผู้มาก (ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ (อ. หญิงนั้น ถามแล้ว) ว่าข้าแต่ท่านผู้เจริญ (อ. ท่าน ท. ) เป็นผู้มีประมาณเท่าไร(ย่อมเป็น)ดังนี้ฯ(อ.พระปัจเจกพุทธเจ้าท. กล่าวแล้ว)ว่าดูก่อนน้องหญิง(อ.เราท.)เป็นผู้มีพันเป็นประมาณ (ย่อมเป็น) ดังนี้ฯ
  • 15. ธรรมบทภาคที่ ๔ สองภาษา แปลโดยพยัญชนะ และ บาลี 10 (อ. หญิงนั้น ) กล่าวแล้ว ว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ อ. ดิฉัน ท. มีพันเป็นประมาณอยู่แล้วในบ้านนี้, อ.บุคคลคนหนึ่งๆจักถวาย ซึ่งภิกษา แก่พระผู้เป็นเจ้า รูปหนึ่ง ๆ, อ. ท่าน ท. ยังภิกษา จงให้อยู่ทับเถิด, อ.ดิฉันนั่นเทียว (ยังบุคคล) จักให้กระท�ำ แม้ซึ่งที่เป็นที่อยู่ แก่ท่าน ท. ดังนี้ฯ อ. พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. (ยังค�ำนิมนต์) ให้อยู่ทับแล้ว ฯ อ. หญิงนั้น เข้าไปแล้ว สู่บ้าน ป่าวร้องแล้ว ว่า อ. ดิฉัน เห็นแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้าท.มีพันเป็นประมาณนิมนต์แล้ว,อ.ท่านท. จงจัดแจงซึ่งที่เป็นที่นั่ง แก่พระผู้เป็นเจ้า ท. อ.ท่าน ท. (ยังวัตถุ ท.) มีข้าวต้มและข้าวสวยเป็นต้น จงให้ถึงพร้อม ดังนี้, (ยังบุคคล) ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งปะร�ำ ในท่ามกลางแห่งบ้าน (ยังบุคคล ) ให้ปูลาดแล้วซึ่งอาสนะ ท. ในวันรุ่งขึ้น ยังพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ให้นั่งแล้ว อังคาสแล้ว ด้วยโภชนะ อันประณีต พาไปแล้ว ซึ่งหญิง ท. ทั้งปวง ในบ้านนั้น ในกาลเป็นที่สุดลงแห่งกิจด้วยภัตร ไหว้แล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. กับ ด้วยหญิง ท. เหล่านั้น รับแล้ว ซึ่งปฏิญญา เพื่อประโยชน์แก่การอยู่ ตลอดประชุมแห่งเดือน ๓ ป่าวร้องแล้ว ในบ้าน อีก ว่า แนะแม่และพ่อ ท. อ. บุรุษ คนหนึ่ง ๆ จากตระกูล ตระกูลหนึ่ง ๆ ถือเอาแล้ว (ซึ่งวัตถุ ท.) มีมีดเป็นต้น เข้าไปแล้ว สู่ป่า น�ำมาแล้ว ซึ่งทัพพสัมภาระ ท. จงกระท�ำ ซึ่งที่เป็นที่อยู่ แก่พระผู้เป็นเจ้า ท. ดังนี้ฯ (อ.ชน ท.) ผู้อยู่ในบ้านโดยปกติ ตั้งอยู่แล้วในค�ำ ของหญิงนั้น คนหนึ่ง ๆ กระท�ำแล้ว (ซึ่งบรรณศาลา) หลังหนึ่ง ๆ (ยังกันและกัน) ให้กระท�ำแล้ว ซึ่งพันแห่งบรรณศาลา กับ ด้วยที่เป็นที่พักในกลางคืนและที่เป็นที่พักในกลางวัน ท. บ�ำรุงแล้ว ซึ่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้เข้าถึงแล้วซึ่งพรรษา ในบรรณศาลา ของตน ๆ (ด้วยความคิด) ว่า อ. เรา จักบ�ำรุง โดยเคารพ, อ. เรา จักบ�ำรุง โดยเคารพ ดังนี้ฯ ในกาล (แห่งพระปัจเจกพุทธเจ้า ท. เหล่านั้น) อยู่แล้ว ตลอดพรรษา (อ. หญิงนั้น) ชักชวนแล้วว่า อ. ท่าน ท. จงจัดแจง ซึ่งผ้าสาฎกเพื่อจีวร ท. แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้อยู่แล้ว ตลอดพรรษา ในบรรณศาลา ของตนๆดังนี้ (ยังกันและกัน) ให้ถวายแล้ว ซึ่งจีวร มีราคาพันหนึ่ง แก่พระปัจเจกพุทธเจ้า รูปหนึ่ง ๆ ฯ อ.พระปัจเจกพุทธเจ้า ท. ผู้มีพรรษาอันอยู่แล้ว กระท�ำแล้ว ซึ่งการอนุโมทนา หลีกไปแล้ว ฯ (อ. ชน ท.) แม้ผู้อยู่ในบ้านโดยปกติ ครั้นกระท�ำแล้ว ซึ่งบุญนี้ เคลื่อนแล้ว จากอัตภาพนั้น บังเกิดแล้ว ในภพชื่อว่า ดาวดึงส์ เป็นผู้ชื่อว่าคณเทพบุตร ได้เป็นแล้ว ฯ อ. เทพบุตร ท. เหล่านั้น เสวยแล้ว ซึ่งสมบัติอันเป็นทิพย์ ใน ภพชื่อว่าดาวดึงส์นั้น บังเกิดแล้ว ในเรือนแห่งกุฎมพี ท. ในเมือง ชื่อว่าพาราณสี ในกาลแห่งพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระนามว่า- กัสสปะ ฯ “ภนฺเต อิมสฺมึ คาเม สหสฺสมตฺตา วสิมฺหา, เอเกโก เอเกกสฺส ภิกฺขํ ทสฺสติ, ภิกฺขํ อธิวาเสถ, อหเมว ตุมฺหากํ วสนฏฺ€านํปิ การาเปสฺสามีติ อาห. ปจฺเจกพุทฺธา อธิวาสยึสุ. สา คามํ ปวิสิตฺวา อุคฺโฆเสสิ “อหํ สหสฺสมตฺเต ปจฺเจกพุทฺเธ ทิสฺวา นิมนฺเตสึ, อยฺยานํ นิสีทนฏฺ€านํ สํวิทหถ, ยาคุภตฺตาทีนิ สมฺปาเทถาติ, คามมชฺเฌ มณฺฑปํ การาเปตฺวา อาสนานิ ปฺาเปตฺวา ปุนทิวเส ปจฺเจกพุทฺเธ นิสีทาเปตฺวาปณีเตนโภชเนน ปริวิสิตฺวา ภตฺตกิจฺจาวสาเน ตสฺมึ คาเม สพฺพา อิตฺถิโย อาทาย ตาหิ สทฺธึ ปจฺเจกพุทฺเธ วนฺทิตฺวา เตมาสํ วสนตฺถาย ปฏิฺํ คเหตฺวา ปุน คาเม อุคฺโฆเสสิ “อมฺมตาตา เอเกกกุลโต เอเกโก ปุริโส วาสีอาทีนิ คเหตฺวา อรฺํ ปวิสิตฺวา ทพฺพสมฺภาเร อาหริตฺวา อยฺยานํ วสนฏฺ€านํ กโรตูติ. คามวาสิโน ตสฺสา วจเน €ตฺวา เอเกโก เอเกกํ กตฺวา สทฺธึ รตฺติฏฺ€านทิวาฏฺ€าเนหิ ปณฺณสาลาสหสฺสํ กาเรตฺวา อตฺตโน อตฺตโน ปณฺณสาลายํ วสฺสูปคเต ปจฺเจกพุทฺเธ “อหํ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หิสฺสามิ, อหํ สกฺกจฺจํ อุปฏฺ€หิสฺสามีติ อุปฏฺ€หึสุ. วสฺสํ วุตฺถกาเล “อตฺตโน อตฺตโน ปณฺณสาลาย วสฺสํ วุตฺถานํ ปจฺเจกพุทฺธานํ จีวรสาฏเก สชฺเชถาติ สมาทเปตฺวา เอเกกสฺส สหสฺสมูลํ จีวรํ ทาเปสิ. ปจฺเจกพุทฺธา วุตฺถวสฺสา อนุโมทนํ กตฺวา ปกฺกมึสุ. คามวาสิโนปิ อิมํ ปุฺํ กตฺวา ตโต จุตา ตาวตึสภวเน นิพฺพตฺติตฺวา คณเทวปุตฺตา นาม อเหสุํ. เต ตตฺถ ทิพฺพสมฺปตฺตึ อนุภวิตฺวา กสฺสปสมฺมาสมฺพุทฺธกาเล พาราณสิยํ กุฏุมฺพิกเคเหสุ นิพฺพตฺตึสุ.