SlideShare a Scribd company logo
1 of 67
Download to read offline
การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง
คุณครู ดวงฤทัย ช่วงชัย
ความหมายการแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง
การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง หมายถึง การแสดงที่เกิดขึ้นตาม
ท้องถิ่นและตามพื้นที่ต่างๆ ของแต่ละภูมิภาค โดยอาจมีการ
พัฒนาดัดแปลงมาจากการละเล่นพื้นเมืองของท้องถิ่นนั้นๆ
เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ เพื่อให้รุ่นลูกรุ่นหลานได้เรียนรู้และ
รักในคุณค่าในศิลปะไทยในแขนงนี้ และเป็นการแสดงเพื่อ
ก่อให้เกิดความสนุกสนานเพลิดเพลิน และความบันเทิงใน
รูปแบบต่างๆ ซึ่งจะมีลักษณะแตกต่างกันตามสภาพภูมิประเทศ
สังคม วัฒนธรรม แต่ละท้องถิ่น
ที่มาของนาฏศิลป์พื้นเมือง
การแสดงนาฏศิลป์พื้นเมือง มีที่มาจากพิธีกรรม วัฒนธรรม
ประเพณี ความเชื่อของคนในแต่ละท้องถิ่นที่แตกต่างกัน
ประเภทการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. เพลงพื้นเมือง
๒. ราพื้นเมือง
ประเภทการแสดงพื้นเมือง
๑.เพลงพื้นเมือง หมายถึง เพลงที่ชาวบ้านในท้องถิ่นนั้นๆประดิษฐ์แบบ
แผนการร้องเพลงไปตามความนิยม และสาเนียงภาษาพูดในท้องถิ่นของตน
นิยมร้องเล่นกันในเทศกาลหรืองานที่มีการชุมนุมรื่นเริง เช่น สงกรานต์ ขึ้นปี
ใหม่ ทอดกฐิน ทอดผ้าป่า และในการลงแขกเกี่ยวข้าว เนื้อความของเพลง
พื้นเมืองที่นิยมร้องกัน มักจะเป็นการเกี้ยวพาราสีระหว่างชายหญิง ปะทะ
คารมกัน ในด้านสานวนโวหาร สิ่งสาคัญของการร้องคือ การด้นกลอนสด
ร้องแก้กันด้วยปฏิภาณไหวพริบ ทาให้เกิดความสนุกสนานทั้งสองฝ่าย
ประเภทการแสดงพื้นเมือง
ราพื้นเมือง หมายถึง การละเล่นที่มีการแสดง การร่ายรา มีเพลงดนตรี
ประกอบ ที่ได้วางเป็นแบบแผน และนิยมเล่นหรือถ่ายทอดสืบต่อกันมาจน
แพร่หลาย การแสดงพื้นเมือง อาจเกิดจากการบูชาบวงสรวงสิ่งศักดิ์สิทธิ์ เช่น
ขอให้สิ่งที่ตนนับถือประทานสิ่งที่ตนปรารถนา หรือขจัดปัดเป่าสิ่งที่ไม่
ปรารถนา นอกจากนี้ ก็เป็นการแสดงเพื่อความบันเทิงรื่นเริง
การแสดงพื้นเมืองของไทยแบ่งออกเป็นภูมิภาคได้ ๔ ภูมิภาค ดังนี้
๑. การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ
๒. การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง
๓. การแสดงพื้นเมืองของอีสาน
๔. การแสดงพื้นเมืองของใต้
การแสดงพื้นเมืองของภาคเหนือ
เป็นศิลปะการรา และการละเล่น หรือที่นิยมเรียกกันทั่วไปว่า “ฟ้อน”
การฟ้อนเป็นวัฒนธรรมของชาวล้านนา และกลุ่มชนเผ่าต่างๆ เช่น ชาวไต ชาว
ลื้อ ชาวยอง ชาวเขิน เป็นต้น ลักษณะของการฟ้อน แบ่งเป็น 2 แบบ คือ แบบ
ดั้งเดิม และแบบที่ปรับปรุงขึ้น เอกลักษณ์ทางการแสดงคือ มีลีลาท่าราที่แช่มช้า
อ่อนช้อย มีการแต่งกายตามวัฒนธรรมท้องถิ่นที่สวยงามประกอบกับการ
บรรเลงและขับร้องด้วยวงดนตรีพื้นบ้าน เช่น วงสะล้อ ซอ ซึง วงปูเจ่ วงกลอง
แอว เป็นต้น โอกาสที่แสดงมักเล่นกันในงานประเพณี หรือต้อนรับแขกบ้านแขก
เมือง ได้แก่ ฟ้อนเล็บ ฟ้อนเทียน ฟ้อนครัวทาน ฟ้อนสาวไหม และฟ้อนเจิง
การแสดงราพื้นเมืองภาคเหนือ ได้แก่
ฟ้อนเทียน ฟ้อนเล็บ ฟ้อนลาวแพน
ฟ้อนรัก ฟ้อนเงี้ยว ฟ้อนดวงเดือน
ฟ้อนมาลัย ฟ้อนไต ฟ้อนดาบ
ฟ้อนเจิง ระบาชาวเขา รากลองสะบัดชัย
ฟ้อนเงี้ยว ระบาเก็บใบชา ฯลฯ
ฟ้อนเล็บ
ฟ้อนเทียน
ฟ้อนที
ฟ้อนมาลัย
ฟ้อนม่านมุ้ยเชียงตา
กลองสะบัดชัย
ระบาเก็บใบชา
ฟ้อนเงี้ยว
เพลงพื้นเมืองภาคเหนือ
๑. เพลงซอ
๒. เพลงจ๊อย
๓. เพลงกล่อมเด็ก
เครื่องดนตรีพื้นเมืองภาคเหนือ
ได้แก่
ปี่แน กลองตะโล้ดโป๊ด สะล้อ ซอ ซึง
ฉาบใหญ่ ฆ้องโหม่ง ฆ้องหุ่ย
การแสดงพื้นเมืองของภาคกลาง
เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชนชาวพื้นบ้านภาค
กลาง ซึ่งส่วนใหญ่มีอาชีพเกี่ยวกับเกษตรกรรม
ศิลปะการแสดงจึงมีความสอดคล้องกับวิถีชีวิตและเพื่อความ
บันเทิงสนุกสนาน เป็นการพักผ่อนหย่อนใจจากการทางาน
หรือเมื่อเสร็จจากเทศกาลฤดูเก็บเกี่ยว เช่น การเล่นเพลงเกี่ยว
ข้าว เต้นการาเคียว ราโทนหรือราวง ราเถิดเทิง หรือรากลอง
ยาว เป็นต้น มีการแต่งกาย ตามวัฒนธรรมของท้องถิ่น และใช้
เครื่องดนตรีพื้นบ้าน เช่น กลองยาว กลองโทน ฉิ่ง ฉาบ กรับ
และโหม่ง
ราพื้นเมืองภาคกลาง ได้แก่
ราวงมาตรฐาน ระบาชาวนา
ราเถิดเทิง ราสีนวล
ราแม่ศรี ราแม่งู
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ได้แก่
วงปี่พาทย์
รำเถิดเทิง
รำวง
รำสีนวล
ระบำชำวนำ
รำแม่งู
ดนตรีที่ใช้ประกอบการแสดง ได้แก่
วงปี่พาทย์
 เพลงพื้นเมืองภาคกลาง
 เพลงเหย่อยหรือราพาดผ้า
 เพลงฉ่อย เพลงอีแซว เพลงเรือ
 เพลงเกี่ยวข้าว เพลงพิษฐาน เพลงพวงมาลัย
 เพลงเต้นการาเคียว ลาตัด
เต้นกำรำเคียว
การแสดงพื้นเมืองของภาคอีสาน
ภูมิประเทศภาคอีสานเป็นที่ราบสูง ค่อนข้างแห้งแล้งเพราะพื้นดิน
ไม่เก็บน้า ฤดูแล้งจะกันดาร ฤดูฝนน้าจะท่วม แต่ชาวอีสานก็มีอาชีพทาไร่
ทานา และเป็นคนรักสนุก จึงหาความบันเทิงได้ทุกโอกาส การแสดงของ
ภาคอีสาน มักเกิดจากกิจวัตรประจาวัน หรือประจาฤดูกาล เช่น
แห่นางแมว เซิ้งบั้งไฟ เซิ้งสวิง เซิ้งกระติบ ราลาวกระทบไม้ ฯลฯ
ลักษณะการแสดงซึ่งเป็นลีลาเฉพาะของอีสาน คือ ลีลาและจังหวะ
ในการก้าวเท้า มีลักษณะคล้ายเต้น แต่นุ่มนวล มักเดินด้วยปลายเท้าและ
สะบัดเท้าไปข้างหลังสูง เป็นลักษณะของ เซิ้ง
การแสดงพื้นเมืองภาคอีสาน ได้แก่
ฟ้อนภูไท เซิ้งสวิง
เซิ้งโปงลาง เซิ้งตังหวาย
เซิ้งกระติบข้าว เซิ้งบั้งไฟ
เซิ้งแหย่ไข่มดแดง
เซิ้งกระติ๊บ
เซิ้งสวิง
ฟ้ อนภูไท
เซิ้งแหย่ไข่มดแดง
เซิ้งตังหวำย
เซิ้งโปงลำง
เซิ้งกะโป๋
เรือมอันเร
กระโน๊บติ๊งต๊อง
เพลงพื้นเมืองภาคอีสาน
หมอลา เพลงโคราช
กันตรึม เพลงล่องโขง
เพลงแอ่วแคน
หมอลำ
เครื่องดนตรีพื้นเมืองอีสาน ได้แก่
วงดนตรีพื้นเมืองอีสาน
วงดนตรีพื้นเมืองอีสาน
การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้
เป็นศิลปะการราและการละเล่นของชาวพื้นบ้านภาคใต้ อาจแบ่ง
ตามกลุ่มวัฒนธรรมได้ 2 กลุ่มคือ วัฒนธรรมไทยพุทธ ได้แก่ การแสดง
โนรา หนังตะลุง เพลงบอก เพลงนา และวัฒนธรรมไทยมุสลิม ได้แก่
รองเง็ง ซาเปง มะโย่ง (การแสดงละคร) ลิเกฮูลู (คล้ายลิเกภาคกลาง)
และซิละ มีเครื่องดนตรีประกอบที่สาคัญ เช่น กลองโนรา กลองโพน
กลองปิด กลองโทน ทับ กรับ พวง โหม่ง ปี่กาหลอ ปี่ไหน รามะนา
ไวโอลิน อัคคอร์เดียน ภายหลังได้มีระบาที่ปรับปรุงจากกิจรรมในวิถีชีวิต
ศิลปาชีพต่างๆ เช่น ระบาร่อนแร่ กรีดยาง ปาเต๊ะ เป็นต้น
การแสดงพื้นเมืองของภาคใต้
ภาคใต้ เป็นดินแดนที่ติดทะเลทั้งฝั่งตะวันตกและตะวันออก ทางด้านใต้ติดกับ
มลายู ทาให้รับวัฒนธรรมของมลายูมาบ้าง และมีขนบประเพณีวัฒนธรรมและบุคลิก
บางอย่างคล้ายคลึงกัน คือ พูดเร็ว อุปนิสัยว่องไว ตัดสินใจรวดเร็วเด็ดขาด การแต่ง
กาย เพลง และดนตรีคล้ายคลึงกันมาก
การแสดงพื้นเมืองภาคใต้ แบ่งเป็น ๒ ประเภท คือ
๑. มหรสพ คือ การแสดงเป็นเรื่อง เช่น หนังตะลุง มีตัวหนัง มีคนเชิด มีการร้อง
และเจรจา นอกจากนั้นมี ลิเกป่า หรือลิเกรามะนา หรือลิเกแขกแดง หรือลิเกแขกเทศ
หรือลิเกบก ซึ่งผู้แสดงโต้ตอบกันเป็นเรื่องราว อีกการแสดงคือ โนราห์ ถ้าเล่นเป็นเรื่อง
ก็ถือเป็นมหรสพ แต่ถ้าร่ายราเป็นชุด ก็ถือเป็นการแสดงเบ็ดเตล็ด
๒. การแสดงเบ็ดเตล็ด คือร่ายราเป็นชุด เช่น ราโนราห์ รองเง็ง
ตาลีกีปัส ระบาร่อนแร่ ระบากรีดยาง ระบาปาเต๊ะ ราซัดชาตรี
รำพื้นเมืองของภำคใต้
 รำโนรำ รำรองเง็ง หนังตะลุง
 ระบำตำลีกีปัส ระบำร่อนแร่ ระบำปำเต๊ะ
 ระบำกรีดยำง ระบำดีดกุ้ง
รำโนรำห์
ตัวหนังตะลุง
หนังตะลุง
รองเง็ง
ระบำร่อนแร่
ระบำตำลีกีปัส
กำรแต่งกำยชำวใต้
กำรแต่งกำยชำวใต้
ดนตรีพื้นเมืองของ
ภาคใต้ ได้แก่
กลองแขก รามะนา
ปี่ ทับ
โหม่ง ฉิ่ง
ดนตรีพื้นเมืองของภาคใต้
ดนตรีพื้นเมืองของภาคใต้
เพลงพื้นเมืองภาคใต้
ลิเกฮูลู
เพลงบอก

More Related Content

What's hot

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์พัน พัน
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนpeter dontoom
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานพัน พัน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนmonnawan
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6อำนาจ ศรีทิม
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)WoraWat Somwongsaa
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวนางสาวอัมพร แสงมณี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่Panomporn Chinchana
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)Panomporn Chinchana
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สุพัตรา ไร่อำไพ
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101นารูโต๊ะ อิอิอิ
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557Panomporn Chinchana
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1suttinee23
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรีครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆPanomporn Chinchana
 

What's hot (20)

คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
คำศัพท์ทางทัศนศิลป์สำหรับใช้บรรยายผลงานทางทัศนศิลป์
 
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศนข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
ข้อสอบ วิชานาฏศิลป์ กศน
 
รำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐานรำวงมาตรฐาน
รำวงมาตรฐาน
 
ภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียนภาษาพูด ภาษาเขียน
ภาษาพูด ภาษาเขียน
 
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.6
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.6
 
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
ข้อสอบ ม. 5 (วิเคราะห์)
 
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าวบทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
บทที่ 4 การสานปลาตะเพียนจากก้านมะพร้าว
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การประดิษฐ์ท่ารำ  รำคุ่  รำหมู่
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การประดิษฐ์ท่ารำ รำคุ่ รำหมู่
 
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
รูปแบบการแสดงนาฏศิลป์,ม.3 ปี 57 (เผยแพร่)
 
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
สารคดีชีวประวัติ วาทิตย์ ขุราษี "โต้ง"
 
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101ข้อสอบปลายภาค  วิชานาฏศิลป์  รหัส  ศ 32101
ข้อสอบปลายภาค วิชานาฏศิลป์ รหัส ศ 32101
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3  ปี 2557
นาฏยศัพท์ และภาษาท่า ม.3 ปี 2557
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
กำหนดการสอน ดนตรี ม.2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรีเอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์  ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร  บุญศรี
เอกสารประกอบการเรียน เรื่องนาฏยศัพท์ ม-4 รวบรวมโดย ครูเย็นจิตร บุญศรี
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆเอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ การบูรณาการนาฏศิลป์กับแขนงและกลุ่มสาระอื่นๆ
 

Similar to นาฏศิลป์พื้นเมือง

ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2Panomporn Chinchana
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองleemeanxun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นFaRung Pumm
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxpinglada1
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกThassanee Buasri
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์leemeanxun
 

Similar to นาฏศิลป์พื้นเมือง (20)

ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ นาฏศิลป์พื้นเมือง ม.2
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
การละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมืองการละเล่นพื้นเมือง
การละเล่นพื้นเมือง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
ละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่นละครโบราณญี่ปุ่น
ละครโบราณญี่ปุ่น
 
Street art
Street artStreet art
Street art
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็กใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
ใบความรู้คติชาวบ้านและเพลงกล่อมเด็ก
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
สังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docxสังคีตวิทยา.docx
สังคีตวิทยา.docx
 
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูกความหมายของเพลงกล่อมลูก
ความหมายของเพลงกล่อมลูก
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
นาฎศิลป์
นาฎศิลป์นาฎศิลป์
นาฎศิลป์
 

นาฏศิลป์พื้นเมือง