SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
ภาษาพูด  ภาษาเขียน
กระทิงดุเจ๋ง ดับฝันโสมขาว ลอยลำทีมแรก
วัยโจ๋เหี้ยม กระซวกหญิงท้อง ชิงทองสลึงเดียว
ภาษาพูด   บางทีเรียกว่า  “ ภาษาปาก ”  หรือภาษาเฉพาะกลุ่ม เช่น ภาษากลุ่มวัยรุ่น ภาษากลุ่มมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ภาษาพูดไม่เคร่งครัดในหลักภาษา บางครั้งฟังแล้วไม่สุภาพ มักใช้พูดระหว่างผู้ที่สนิทสนม หรือผู้ที่ได้รับการศึกษาน้อย ในภาษาเขียนบันเทิงคดีหรือเรื่องสั้น ผู้แต่งนำภาษาปากไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครเพื่อความเหมาะสมกับฐานะตัวละคร   ภาษาพูด
ภาษาเขียน  มีลักษณะเคร่งครัดในหลักภาษา มีทั้งระดับเคร่งครัดมาก การใช้ภาษาเขียนจะใช้ภาษาระดับกึ่งทางการ และระดับทางการ  ในวรรณกรรมมีการใช้ภาษาเขียน ๓ แบบคือ  ๑ )  ภาษาเขียนแบบจินตนาการ  เช่น ภาษาการประพันธ์ทั้งร้อยแก้ว และร้อยกรอง เป็นต้น  ๒ )  ภาษาเขียนแบบแสดงข้อคิดเห็น  เช่น การเขียนบทความ สารคดี เป็นต้น  ๓ )  ภาษาเขียนแบบประชาสัมพันธ์  เช่น การเขียนคำขวัญ หรือคำโฆษณา เป็นต้น ภาษาเขียน
๑ )  ภาษาพูดเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะวัย มีการเปลี่ยนแปลงคำพูดอยู่เสมอ   ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน วัยโจ๋ วัยรุ่น เซ็ง เบื่อหน่าย เจ๋ง เยี่ยมมาก แห้ว ผิดหวัง มั่วนิ่ม ทำไม่จริงและปิดบัง กิ๊ก เพื่อนสนิทฉันชู้สาว
ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๒ )  ภาษาพูดมักเป็นคำไทยแท้ คือ เป็นภาษาชาวบ้าน เข้าใจง่าย แต่ภาษาเขียนมักใช้ภาษาบาลีสันสกฤต เป็นภาษาแบบแผน หรือกึ่งแบบแผน   ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ในหลวง พระมหากษัตริย์ เกือก ร้องเท้า ผัวเมีย สามีภรรยา โดนสวด ถูกด่า ค่อยยังชั่ว อาการดีขึ้น โรงหนัง โรงภาพยนตร์
ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๓ )  ภาษาพูดมักเปลี่ยนแปลงเสียงสระและเสียงพยัญชนะ รวมทั้งนิยมตัดคำให้สั้นลง แต่ภาษาเขียนคงเคร่งครัดตามรูปคำเดิม   ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน เริ่ด เลิศ ใช่ม่ะ ใช่ไหม มหาลัย มหาวิทยาลัย ใช่ป่ะ ใช่หรือเปล่า สิบล้อ รถบรรทุกสิบล้อ หมอสู สูตินารีแพทย์
ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๔ )  ภาษาพูด ยืมคำภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ และมักตัดคำให้สั้นลง รวมทั้งภาษาจีน เป็นต้น ภาษาเขียนใช้คำแปลภาษาไทย หรือการทับศัพท์   ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน เว่อร์  ( over) เกินควร แอ๊บ  ( abnormal) ผิดปกติ จอย  (enjoy) สนุก เพลิดเพลิน ซี  (xerox) ถ่ายสำเนาเอกสาร บ๊วย  ( ภาษาจีน ) สุดท้าย ติ๊ด อาร์ตติ๊ด  (artist) ศิลปิน
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๑ .  ภาษาเขียนไม่ใช้ถ้อยคำหลายคำที่เราใช้ในภาษาพูดเท่านั้น เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ จมไปเลยแย่ ฯลฯ ๒ .  ภาษาเขียนมีสำนวนเปรียบเทียบหรือคำสแลงที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาเช่น ชักดาบ พลิกล็อค  โดดร่ม ฯลฯ ๓ .  ภาษาเขียนมีการเรียบเรียงถ้อยคำที่สละสลวยชัดเจน ไม่ซ้ำคำหรือซ้ำความโดยไม่จำเป็น ในภาษาพูดอาจจะใช้ซ้ำคำหรือซ้ำความได้ เช่น การพูดกลับไปกลับมา เป็นการย้ำคำหรือเน้นข้อความนั้นๆ
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ .  ภาษาเขียน เมื่อ เขียน เสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เขียนไม่มีโอกาสแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเป็นภาษาพูด ผู้พูดมีโอกาสชี้แจงแก้ไขในตอนท้ายได้ นอกจากนี้ยังมีข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียนอีกหลายประการ
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๑ ภาษาเขียนใช้คำภาษามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซึ่งนิยมใช้เฉพาะในวงราชการหรือในข้อเขียนที่เป็นวิชาการทั้งหลายมากกว่าภาษาพูด เช่น   ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด สุนัข หมา เงิน ตัง  ( สตางค์ ) ปวดศีรษะ ปวดหัว รับประทาน กิน ,  ทาน แพทย์ หมอ เพลิงไหม้ ไฟไหม้
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๒   ภาษาพูดมักจะออกเสียงไม่ตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอย่างหนึ่งเวลาออกเสียงจะเพี้ยนเสียงไปเล็กน้อย ส่วนมากจะเป็นเสียงสระ เช่น   ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ฉัน ชั้น เขา เค้า ไหม มั้ย เท่าไร เท่าไหร่ หรือ เร้อะ แมลงวัน แมงวัน
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๓   ภาษาพูดสามารถแสดงอารมณ์ของผู้พูดได้ดีกว่าภาษาเขียน คือ มีการเน้นระดับเสียงของคำให้สูง - ต่ำ - สั้น - ยาว ได้ตามต้องการ เช่น   ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ตาย ต๊าย บ้า บ๊า เปล่า ปล้าว ใช่ ช่าย ไป ไป๊  ( ป่ะ ) หรือ รึ  ( เร้อะ )
ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๔   ภาษาพูดนิยมใช้คำช่วยพูดหรือคำลงท้าย เพื่อช่วยให้การพูดนั้นฟังสุภาพและไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ไปไหนคะ ไปตลาดค่ะ รีบไปเลอะ ไม่เป็นไรหรอก นั่งนิ่งๆ ซิจ๊ะ ๔ . ๕   ภาษาพูดนิยมใช้คำซ้ำและคำซ้อนบางชนิด เพื่อเน้นความหมายของคำให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น คำซ้ำ ดี๊ดี  เก๊าเก่า  ไปเปย  อ่านเอิ่น  ผ้าห่มผ้าเหิ่ม  กระจกกระเจิก  อาหงอาหาร คำซ้อน  มือไม้  ขาวจั้วะ ดำมิดหมี  แข็งเป๊ก  เดินเหิน  ทองหยอง
วันพรุ่งนี้พบกันเวลา หกโมงเช้า เขาจ้างช่างถ่ายภาพมาบันทึก วิดีโอ ในวันแต่งงาน เรื่อง กล้วยๆ  อย่างนี้ใครก็ทำได้ อย่าลืมเปิด เว็บ หาความรู้ทางภาษาไทยเพิ่มเติม น้องซื้อ ม้วนเทป มาจากตลาด ๖ นาฬิกา วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เว็บไซต์ ง่ายมาก

More Related Content

What's hot

แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
พัน พัน
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
khorntee
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
krupornpana55
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
Napadon Yingyongsakul
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
teerachon
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Sivagon Soontong
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Ppor Elf'ish
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 

What's hot (20)

หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
วรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดีวรรคทองในวรรณคดี
วรรคทองในวรรณคดี
 
เล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทานเล่มที่ 6 คำอุทาน
เล่มที่ 6 คำอุทาน
 
ร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพร่ายสุภาพ
ร่ายสุภาพ
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม10บรรณานุกรม
10บรรณานุกรม
 
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
แบบฝึกการอ่านชุดที่ 1
 
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
ตัวอักษรแบบของกระทรวงศึกษาธิการ
 
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
แบบทดสอบ ภาษาไทย(วรรณคดี) ม.3
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
ใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทยใบงานเสียงในภาษาไทย
ใบงานเสียงในภาษาไทย
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษาการเปลี่ยนแปลงของภาษา
การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 

Similar to ภาษาพูด ภาษาเขียน

12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
DisneyP
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
nootsaree
 

Similar to ภาษาพูด ภาษาเขียน (20)

Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T Week 2 of WS4T
Week 2 of WS4T
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
ระดับภาษา
ระดับภาษาระดับภาษา
ระดับภาษา
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)Mil chapter 1_3(1)
Mil chapter 1_3(1)
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
ภาษาถิ่นและภาษาต่างประเทศ
 
Language
LanguageLanguage
Language
 
2 004
2 0042 004
2 004
 
Tha203 3
Tha203 3Tha203 3
Tha203 3
 
งานแผ่นพับ
งานแผ่นพับงานแผ่นพับ
งานแผ่นพับ
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
การเขียน 1
การเขียน  1การเขียน  1
การเขียน 1
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 

ภาษาพูด ภาษาเขียน

  • 4. ภาษาพูด บางทีเรียกว่า “ ภาษาปาก ” หรือภาษาเฉพาะกลุ่ม เช่น ภาษากลุ่มวัยรุ่น ภาษากลุ่มมอเตอร์ไซค์รับจ้าง ภาษาพูดไม่เคร่งครัดในหลักภาษา บางครั้งฟังแล้วไม่สุภาพ มักใช้พูดระหว่างผู้ที่สนิทสนม หรือผู้ที่ได้รับการศึกษาน้อย ในภาษาเขียนบันเทิงคดีหรือเรื่องสั้น ผู้แต่งนำภาษาปากไปใช้เป็นภาษาพูดของตัวละครเพื่อความเหมาะสมกับฐานะตัวละคร ภาษาพูด
  • 5. ภาษาเขียน มีลักษณะเคร่งครัดในหลักภาษา มีทั้งระดับเคร่งครัดมาก การใช้ภาษาเขียนจะใช้ภาษาระดับกึ่งทางการ และระดับทางการ ในวรรณกรรมมีการใช้ภาษาเขียน ๓ แบบคือ ๑ ) ภาษาเขียนแบบจินตนาการ เช่น ภาษาการประพันธ์ทั้งร้อยแก้ว และร้อยกรอง เป็นต้น ๒ ) ภาษาเขียนแบบแสดงข้อคิดเห็น เช่น การเขียนบทความ สารคดี เป็นต้น ๓ ) ภาษาเขียนแบบประชาสัมพันธ์ เช่น การเขียนคำขวัญ หรือคำโฆษณา เป็นต้น ภาษาเขียน
  • 6. ๑ ) ภาษาพูดเป็นภาษาเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะวัย มีการเปลี่ยนแปลงคำพูดอยู่เสมอ ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน วัยโจ๋ วัยรุ่น เซ็ง เบื่อหน่าย เจ๋ง เยี่ยมมาก แห้ว ผิดหวัง มั่วนิ่ม ทำไม่จริงและปิดบัง กิ๊ก เพื่อนสนิทฉันชู้สาว
  • 7. ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๒ ) ภาษาพูดมักเป็นคำไทยแท้ คือ เป็นภาษาชาวบ้าน เข้าใจง่าย แต่ภาษาเขียนมักใช้ภาษาบาลีสันสกฤต เป็นภาษาแบบแผน หรือกึ่งแบบแผน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ในหลวง พระมหากษัตริย์ เกือก ร้องเท้า ผัวเมีย สามีภรรยา โดนสวด ถูกด่า ค่อยยังชั่ว อาการดีขึ้น โรงหนัง โรงภาพยนตร์
  • 8. ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๓ ) ภาษาพูดมักเปลี่ยนแปลงเสียงสระและเสียงพยัญชนะ รวมทั้งนิยมตัดคำให้สั้นลง แต่ภาษาเขียนคงเคร่งครัดตามรูปคำเดิม ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน เริ่ด เลิศ ใช่ม่ะ ใช่ไหม มหาลัย มหาวิทยาลัย ใช่ป่ะ ใช่หรือเปล่า สิบล้อ รถบรรทุกสิบล้อ หมอสู สูตินารีแพทย์
  • 9. ตัวอย่างเปรียบเทียบภาษาพูด-ภาษาเขียน ๔ ) ภาษาพูด ยืมคำภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษ และมักตัดคำให้สั้นลง รวมทั้งภาษาจีน เป็นต้น ภาษาเขียนใช้คำแปลภาษาไทย หรือการทับศัพท์ ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน เว่อร์ ( over) เกินควร แอ๊บ ( abnormal) ผิดปกติ จอย (enjoy) สนุก เพลิดเพลิน ซี (xerox) ถ่ายสำเนาเอกสาร บ๊วย ( ภาษาจีน ) สุดท้าย ติ๊ด อาร์ตติ๊ด (artist) ศิลปิน
  • 10. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๑ . ภาษาเขียนไม่ใช้ถ้อยคำหลายคำที่เราใช้ในภาษาพูดเท่านั้น เช่น เยอะแยะ โอ้โฮ จมไปเลยแย่ ฯลฯ ๒ . ภาษาเขียนมีสำนวนเปรียบเทียบหรือคำสแลงที่ยังไม่เป็นที่ยอมรับในภาษาเช่น ชักดาบ พลิกล็อค โดดร่ม ฯลฯ ๓ . ภาษาเขียนมีการเรียบเรียงถ้อยคำที่สละสลวยชัดเจน ไม่ซ้ำคำหรือซ้ำความโดยไม่จำเป็น ในภาษาพูดอาจจะใช้ซ้ำคำหรือซ้ำความได้ เช่น การพูดกลับไปกลับมา เป็นการย้ำคำหรือเน้นข้อความนั้นๆ
  • 11. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ภาษาเขียน เมื่อ เขียน เสร็จเรียบร้อยแล้ว ผู้เขียนไม่มีโอกาสแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ แต่ถ้าเป็นภาษาพูด ผู้พูดมีโอกาสชี้แจงแก้ไขในตอนท้ายได้ นอกจากนี้ยังมีข้อแตกต่างระหว่างภาษาพูดและภาษาเขียนอีกหลายประการ
  • 12. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๑ ภาษาเขียนใช้คำภาษามาตรฐาน หรือภาษาแบบแผน ซึ่งนิยมใช้เฉพาะในวงราชการหรือในข้อเขียนที่เป็นวิชาการทั้งหลายมากกว่าภาษาพูด เช่น ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด สุนัข หมา เงิน ตัง ( สตางค์ ) ปวดศีรษะ ปวดหัว รับประทาน กิน , ทาน แพทย์ หมอ เพลิงไหม้ ไฟไหม้
  • 13. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๒ ภาษาพูดมักจะออกเสียงไม่ตรงกับภาษาเขียน คือ เขียนอย่างหนึ่งเวลาออกเสียงจะเพี้ยนเสียงไปเล็กน้อย ส่วนมากจะเป็นเสียงสระ เช่น ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ฉัน ชั้น เขา เค้า ไหม มั้ย เท่าไร เท่าไหร่ หรือ เร้อะ แมลงวัน แมงวัน
  • 14. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๓ ภาษาพูดสามารถแสดงอารมณ์ของผู้พูดได้ดีกว่าภาษาเขียน คือ มีการเน้นระดับเสียงของคำให้สูง - ต่ำ - สั้น - ยาว ได้ตามต้องการ เช่น ภาษาเขียน ภาษาพูด ภาษาเขียน ภาษาพูด ตาย ต๊าย บ้า บ๊า เปล่า ปล้าว ใช่ ช่าย ไป ไป๊ ( ป่ะ ) หรือ รึ ( เร้อะ )
  • 15. ภาษาพูด ภาษาเขียน ความแตกต่าง ระหว่าง ๔ . ๔ ภาษาพูดนิยมใช้คำช่วยพูดหรือคำลงท้าย เพื่อช่วยให้การพูดนั้นฟังสุภาพและไพเราะยิ่งขึ้น เช่น ไปไหนคะ ไปตลาดค่ะ รีบไปเลอะ ไม่เป็นไรหรอก นั่งนิ่งๆ ซิจ๊ะ ๔ . ๕ ภาษาพูดนิยมใช้คำซ้ำและคำซ้อนบางชนิด เพื่อเน้นความหมายของคำให้ชัดเจนยิ่งขึ้น เช่น คำซ้ำ ดี๊ดี เก๊าเก่า ไปเปย อ่านเอิ่น ผ้าห่มผ้าเหิ่ม กระจกกระเจิก อาหงอาหาร คำซ้อน มือไม้ ขาวจั้วะ ดำมิดหมี แข็งเป๊ก เดินเหิน ทองหยอง
  • 16. วันพรุ่งนี้พบกันเวลา หกโมงเช้า เขาจ้างช่างถ่ายภาพมาบันทึก วิดีโอ ในวันแต่งงาน เรื่อง กล้วยๆ อย่างนี้ใครก็ทำได้ อย่าลืมเปิด เว็บ หาความรู้ทางภาษาไทยเพิ่มเติม น้องซื้อ ม้วนเทป มาจากตลาด ๖ นาฬิกา วีดิทัศน์ แถบบันทึกเสียง เว็บไซต์ ง่ายมาก

Editor's Notes

  1. Power Point เรื่อง ภาษาพูด ภาษาเขียน รายวิชา ท ๒๑๑๐๑ ภาษาไทย