SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
ละครโบราณญี่ปุ่น

การละครของญีป ุ่น แบบโบราณมี 3 รูป แบบ
                   ่
    ละครโน - ละครโนเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุดในญี่ปุ่น ซึ่งพัฒนาขึ้นในศตวรรษ
ที่ 14 เคยเฟื่องฟูมากในหมู่ชนชั้นซามูไร และนักปราญช์ทั้งหลายในสมัยเอโดะ
เวทีละครโนมีลักษณะเรียบง่าย นักแสดงสวมหน้ากากและแต่งกายแบบโบราณที่
สวยหรู ใช้เสียงค่อนข้างเนิบและเปล่งออกมาในระดับเดียว เรียกว่าอุไต ( utai )
ซึ่งเป็นการผสมผสานกันระหว่างเสียงสวดมนต์ และการเล่านิทาน ทำาให้เสียงออก
มามีความแปลกเฉพาะตัว นอกจากนี้ในช่วงพักการแสดงของละครโน จะมีละคร
ชวนหัวที่เรียกว่า " เคียวเง็น " มาแสดงคั่น การแสดงคั่นนี้อาจะมีความเกี่ยวเนื่อง
บางส่วน กับเนื้อหาของการแสดงโนที่เล่นอยู่ หรือไม่เกี่ยวกันเลย โดยจุดประสงค์
ของเคียวเง็นก็เพื่อสร้างความสนุกสนานให้กับผู้ชม
    ละครคาบูกิ - ได้มีการพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 17 เป็นการแสดงซึ่งเต็มไปด้วย
ฉากตื่นเต้นเร้าใจและมากด้วยการต่อสู้ เครื่องแต่งกายวิจิตรงดงามและสีสดสวย
ฉากการต่อสู้ด้วยดาบ กาารรำาที่เร้าใจ การแสดงการเปลี่ยนชุดออย่างสวยงาม
และการใช้เทคนิคพิเศษ เช่น ฉากพายุหิมะ หรือฟ้าร้อง ซึ่งเป็นที่นิยมชมชอบ
    ละครบุนระกุ - เป็นละครหุ่นซึ่งเริ่มแสดงในศตวรรษที่ 16 ตัวหุ่นมีขนาดครึ่ง
หนึ่งของคนจริงและดูเหมือนจริงมาก หุ่นแต่ละตัวใช้คนชักสามคนที่เคลื่อนไหว
ไปมาบนเวทีด้วยกับหุ่นแม้ว่าศิลปะการละครทั้งสามแบบจะแตกต่างกันทว่ากลับมี
ความคล้ายคลึงกันหลายประการกล่าวคือ ทั้งละครโนและคาบูกินั้นตัวละคร
ทั้งหมดแสดงโดยนักแสดงชายหรือเด็กชาย การแสดงมักเป็นเรื่องคล้ายกัน ดนตรี
ประกอบก็เป็นส่วนสำาคัญของการแสดงละครทั้งสองแบบ คนร้องเป็นคนบรรยาย
ทุกตอนของการแสดงละครโนและละครคาบูกิ และบรรยายเรื่องของการแสดงหุ่น
บุนระกุ เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบด้วยกลอง ขลุ่ย ซามิเซน 3 สาย โค
โตะ 13 สาย รวมทั้งเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ
    ประเทศญี่ปุ่นยังดำารงประเพณีพื้นบ้านไว้ได้อย่างเหนียวแน่น เพลง เครื่อง
ดนตรี และการรำาพื้นบ้านยังคงเป็นที่นิยมแม้ในปัจจุบัน เครื่องดนตรีพื้นบ้าน
สามารถดึงผู้ชมจำานวนมากในงานเทศกาลต่างๆ




ประเทศญีป ุ่น
        ่

ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มีฝนตกเนื่องจากมีภูมิประเทศเป็น
เกาะ เสื้อผ้าที่สวมใส่จึงต้องให้ความอบอุ่น เรียกว่า “กิโมโน” ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาว
ถึงเท้า แต่ปัจจุบันแต่ง กายแบบสากลนิยมตะวันตก เนื่องจากกิโมโนมีราคาแพง
และไม่สะดวกต่อการทำางานประจำาวัน จึงแต่งเฉพาะโอกาสพิเศษวันฉลองครบรอบ
20 ปี ของหนุ่มสาว หรือในพิธีแต่งงาน มีผ้าคาดเอว ของสตรี เรียกว่า “โอบิ”
ทำาให้ดูไม่รุ่มร่าม มีสีตัดกับกิโมโน สวมถุงเท้า เรียกว่า “ทาบิ” รองเท้า เรียกว่า “โ
ซบิ”

ชุดกิโมโนในสมัยโบราณจริง ๆ จะสวมทับกันหลายชิ้น โดยเฉพาะตระกูลขุนนาง
จะสวม ถึง 12 ชิ้น แต่ปัจจุบันจะสวมทับกันเพียง 2 – 3 ชิ้น เท่านั้น

เครื่อ งแต่ง กาย นอกจากกิโ มโนแล้ว ยัง มีเ ครื่อ งแต่ง กายอื่น อีก เช่น

1. เสื้อแฮปปี้ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำา สำาหรับคนงานแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน

2. เสื้อฮาโอริ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำาเช่นกัน จะมีลวดลายเป็นสีขาวหรือเครื่องหมาย
นามสกุล

3. เสื้อฮะกามา เป็นเสื้อที่มีรูปร่างคล้ายกางเกงขากว้าง ใช้ในงานพิธี

4. ยูกาตะ (Yukata) เป็นกิโมโนชนิดหนึ่งทำาจากผ้าฝ้าย ใส่ได้ทั้งชายและหญิง สี
ไม่สด เป็นชุดที่ใส่อยู่กับบ้านหลังจากอาบนำ้าเสร็จแล้ว ต่อมาได้มีการนำาชุดยูกาตะ
มาใส่ในงานประเพณี และเทศกาลในฤดูร้อน ทำาให้มีลวดลายสีสันขึ้น ชุดผูหญิง   ้
จะมีสีสันมากกว่าชาย

5. โกโซเดะ (Kosode) เป็นชุดกิโมโนของผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว เป็นชุดกิโมโน
แขนยาว ธรรมดา “ฟูริโวเดะ” เป็นกิโมโนของหญิงสาวที่ยังไม่ได้แต่งงานมีแขน
ยาวกว้างเป็นพิเศษ




ปัจ จัย ที่ม ีอ ท ธิพ ลต่อ การละเล่น พืน เมือ ง
                ิ                      ้
         การละเล่นพื้นเมืองของไทยแบ่งออกเป็น 4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาค
เหนือ ภาคใต้ และภาคอีสาน แต่ละภาคจะมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างกัน
ออกไปทั้งรูปแบบของเพลงพื้นเมือง และการแสดงพื้นเมือง สิ่งเหล่านี้เกิดจาก
ปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปัจจัยสภาพทางภูมิศษสตร์ มีอิทธิพลต่อการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นของ
แต่ละภาค เนื่องจากในสมัยอดีตการคมนาคมติดต่อกับส่วนกลางยากลำาบาก ใน
ภูมิภาคที่อยู่ห่างไกลจึงมักจะรับวัฒนธรรมจากประเทศใกล้เคียงเข้ามาในสังคมนั้น
2. ประเพณี คำาว่า “ประเพณี” มาจากศัพท์บาลีสันสกฤตว่า “ปเวณิ ; ปรเวริ”
ได้แก่ ขนบธรรมเนียมหรือแบบแผน คนเราไม่ว่าชาติไหน ภาษาใด ย่อมต้องมี
ประเพณีเป็นของตนเอง คนในชาติจ้องเคารพนับถือ ถ้าไม่เคารพนับถือจะถูกตรา
หน้าว่าเป็นคนไม่มีชาติ ในเรื่องประเพณีของประชาชนทุกภูมิภาค ส่วนมากจะมี
ขึ้นในลักษณะท่คล้ายคลึงกันบ้าง และแตกต่างกันบ้างในบางประเพณี

3. ศาสนา เป็นสิ่งสำาคัญมากมากสิ่งหนึ่ง ที่ทำาให้เกิดการละเล่นพื้นเมืองแตกต่าง
กันออกไปในแต่ละท้องถิ่นหรือในแต่ละภูมิภาค สำาหรับประเทศไทยนับเป็น
ประเทศหนึ่งที่มีความเป็นประชาธิปไตยในเรื่องการนับถือศาสนา ทำาให้ประชาชน
มีอกาสในการเลือกนับถือศาสนาที่ตนเองชอบได้อย่างอิสระ ผลของการนับถือ
ศาสนานั้นมักมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเพณีความเชื่อ อันเป็นผลให้เกิดการละเล่น
พื้นเมืองแตกต่างกันไป

4. ความเชื่อ เป็นเรื่องที่มีความผูกพันในวิถีชีวิตของคนไทยมานาน ความเชื่อมีผล
ทำาให้เกิดรูปแบบของประเพณีต่างๆ อันเป็นผลต่อการละเล่นพื้นเมืองอย่างยิ่งใน
แต่ละท้องถิ่น โดยแต่ละท้องที่ก็จะแตกต่างกันออกไป

5. ค่านิยม เรื่องของค่านิยมเป็นสิ่งสำาคัญขั้นมูลฐานในการทำาความเข้าใจถึง
พฤติกรรมบุคคล เพราะพฤติกรรมหรือการแสดงออกต่างๆของบุคคล ย่อมขึ้นอยู่
กับลักษณะค่านิยมที่ผู้นั้นมีอยู่ ค่านิยมที่เรามักพบในแต่ละท้องถิ่นแต่ละภาคจะมี
ลักษณะดังนี้

     ค่านิยมเกี่ยวกับการศึกษา
     ค่านิยมเกี่ยวกับความมั่นคง
     ค่านิยมเกี่ยวกับการทำาบุญ
     ค่านิยมเกี่ยวกับความสนุกสนาน
     ค่านิยมเกี่ยวกับเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์
     ค่านิยมเกี่ยวกับการรักถิ่นฐานหรือรักญาติพี่น้อง
     ค่านิยมเกี่ยวกับความกตัญญูรู้คุณ




การละครของญีป ุ่น Zeami วิวัฒนาการ
            ่
(1363–1443), นักเขียนบทละครและนักวิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ได้สร้าง
คำาศัพท์ในเชิงวิพากษ์วิจารณ์ และสุนทรียศาสตร์เกี่ยวกับละครโนะ (Noh) (*):
อย่างเช่น yugen, monomane (imitation - การเลียนแบบ), ka หรือ hana
(flower – เบ่งบาน สุดยอด รุ่งเรืองถึงขีดสุด) คำากล่าวในเชิงอุปมาอุปมัยหรือ
อ้อมค้อมเพื่อถ่ายทอดศิลปะ และเพื่อนำาเสนอสุนทรียศาสต์แนวจารีตเกี่ยวกับกวี
นิพนธ์ญี่ปุ่น

 Chikamatsu Monzaemon (1653–1725), นักเขียนบทละครการแสดงหุ่น
กระบอก ผลงานต่างๆ ของเขาได้ถูกประยุกต์บนเวทีการแสดงละครคาบูกิ
(Kabuki) (**), มีการกล่าวถึงปัญหาลัทธิสัจนิยมในการละคร (Tsunoda). คาบู
กิ (Kabuki) (คล้ายคลึงละครเอเชียส่วนใหญ่) มีเป้าประสงค์ในการนำาเสนอความ
จริงในแบบละครออกมาอย่างชัดเจน (presentation of an explicitly
theatrical reality) ซึ่งต่างไปจากการละครในโลกตะวันตก ที่มีเป้าหมายการ
เป็นตัวแทนแสดงถึงเรื่องราวของชีวิตประจำาวัน




การร่ายรำา

ฟุจิมุซึหมะ/Fujimusume/ふじむすめ/ระบำาหญิงสาวกับดอกไม้

ฟุจิมุซิหมะ(Fujimusume/フジムスメ)ระบำาหญิงสาวกับดอกไม้ เป็นระบำาที่
มีชื่อเสียงชุดหนึ่งของญี่ปุ่น แสดงโดยหญิงสาวที่สวยงาม ร่ายรำาด้วยความคิด
คำานึงถึงชายคนรัก อยู่ท่ามกลางดงดอกไลแลคสีม่วงอ่อน kamigata-mai/かみ
がた-まい/คามิกาตะ-ไม เป็นการร่ายรำาตามแบบชาวเกียวโตและโอซาก้า

การร่ายรำาแบบญี่ปุ่นมีท่วงทำานอง ท่าทาง และลีลาที่พัฒนามาจากการร่ายรำา
ประกอบการสวดบูชา หรือการร่ายรำาแบบเวทมนต์เพื่อขับไล่และส่งวิญญาณไปสู่
สุคติ การเคลื่อนไหวมี 3 ลักษณะ คือ หมุนตัว เต้น และการเคลื่อนไหวร่ายกายใน
ชีวิตประจำาวัน การร่ายรำาของญี่ปุ่นดูได้จากละครโน่(noh/ノイ)เคียว
เกน(Kyogen/キョゲン)และ คาบูกิ(Kabuki/カブキ)

More Related Content

Similar to ละครโบราณญี่ปุ่น

ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมPUy Praputsron
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนpeter dontoom
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์bambookruble
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองพัน พัน
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลังchontee55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านJakkrit Supokam
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557Panomporn Chinchana
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือtonsocial
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6Panomporn Chinchana
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลอำนาจ ศรีทิม
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445CUPress
 

Similar to ละครโบราณญี่ปุ่น (20)

ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอมประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
ประวัตินาฏศิลป์วิชาคอม
 
หมอลำ
หมอลำหมอลำ
หมอลำ
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศนแบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
แบบการเรียนรู้ศิลปะ ม.ต้น กศน
 
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่นใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
ใบความรู้วรรณกรรมท้องถิ่น
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์งานนำเสนอรามเกียรติ์
งานนำเสนอรามเกียรติ์
 
การแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมืองการแสดงพื้นเมือง
การแสดงพื้นเมือง
 
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลังวรรณกรรมท้องถิ่น  ภูมิหลัง
วรรณกรรมท้องถิ่น ภูมิหลัง
 
นาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมืองนาฏศิลป์พื้นเมือง
นาฏศิลป์พื้นเมือง
 
Music drama
Music dramaMusic drama
Music drama
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
ดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้านดนตรีพื้นบ้าน
ดนตรีพื้นบ้าน
 
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
วิวัฒนาการของนาฏศิลป์และละครไทย ม.6 ปี2557
 
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
 
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทยประเภทของนาฏศิลป์ไทย
ประเภทของนาฏศิลป์ไทย
 
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ  ละครไทย  ละครสากล  ละครสร้างสรรค์  ม.4-6
วิวัฒนาการละครไทยในสมัยต่างๆ ละครไทย ละครสากล ละครสร้างสรรค์ ม.4-6
 
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากลวิวัฒนาการของดนตรีสากล
วิวัฒนาการของดนตรีสากล
 
9789740331445
97897403314459789740331445
9789740331445
 

ละครโบราณญี่ปุ่น

  • 1. ละครโบราณญี่ปุ่น การละครของญีป ุ่น แบบโบราณมี 3 รูป แบบ ่ ละครโน - ละครโนเป็นละครที่เก่าแก่ที่สุดในญี่ปุ่น ซึ่งพัฒนาขึ้นในศตวรรษ ที่ 14 เคยเฟื่องฟูมากในหมู่ชนชั้นซามูไร และนักปราญช์ทั้งหลายในสมัยเอโดะ เวทีละครโนมีลักษณะเรียบง่าย นักแสดงสวมหน้ากากและแต่งกายแบบโบราณที่ สวยหรู ใช้เสียงค่อนข้างเนิบและเปล่งออกมาในระดับเดียว เรียกว่าอุไต ( utai ) ซึ่งเป็นการผสมผสานกันระหว่างเสียงสวดมนต์ และการเล่านิทาน ทำาให้เสียงออก มามีความแปลกเฉพาะตัว นอกจากนี้ในช่วงพักการแสดงของละครโน จะมีละคร ชวนหัวที่เรียกว่า " เคียวเง็น " มาแสดงคั่น การแสดงคั่นนี้อาจะมีความเกี่ยวเนื่อง บางส่วน กับเนื้อหาของการแสดงโนที่เล่นอยู่ หรือไม่เกี่ยวกันเลย โดยจุดประสงค์ ของเคียวเง็นก็เพื่อสร้างความสนุกสนานให้กับผู้ชม ละครคาบูกิ - ได้มีการพัฒนาขึ้นในศตวรรษที่ 17 เป็นการแสดงซึ่งเต็มไปด้วย ฉากตื่นเต้นเร้าใจและมากด้วยการต่อสู้ เครื่องแต่งกายวิจิตรงดงามและสีสดสวย ฉากการต่อสู้ด้วยดาบ กาารรำาที่เร้าใจ การแสดงการเปลี่ยนชุดออย่างสวยงาม และการใช้เทคนิคพิเศษ เช่น ฉากพายุหิมะ หรือฟ้าร้อง ซึ่งเป็นที่นิยมชมชอบ ละครบุนระกุ - เป็นละครหุ่นซึ่งเริ่มแสดงในศตวรรษที่ 16 ตัวหุ่นมีขนาดครึ่ง หนึ่งของคนจริงและดูเหมือนจริงมาก หุ่นแต่ละตัวใช้คนชักสามคนที่เคลื่อนไหว ไปมาบนเวทีด้วยกับหุ่นแม้ว่าศิลปะการละครทั้งสามแบบจะแตกต่างกันทว่ากลับมี ความคล้ายคลึงกันหลายประการกล่าวคือ ทั้งละครโนและคาบูกินั้นตัวละคร ทั้งหมดแสดงโดยนักแสดงชายหรือเด็กชาย การแสดงมักเป็นเรื่องคล้ายกัน ดนตรี ประกอบก็เป็นส่วนสำาคัญของการแสดงละครทั้งสองแบบ คนร้องเป็นคนบรรยาย ทุกตอนของการแสดงละครโนและละครคาบูกิ และบรรยายเรื่องของการแสดงหุ่น บุนระกุ เครื่องดนตรีที่ใช้ประกอบด้วยกลอง ขลุ่ย ซามิเซน 3 สาย โค โตะ 13 สาย รวมทั้งเครื่องดนตรีชนิดอื่นๆ ประเทศญี่ปุ่นยังดำารงประเพณีพื้นบ้านไว้ได้อย่างเหนียวแน่น เพลง เครื่อง ดนตรี และการรำาพื้นบ้านยังคงเป็นที่นิยมแม้ในปัจจุบัน เครื่องดนตรีพื้นบ้าน สามารถดึงผู้ชมจำานวนมากในงานเทศกาลต่างๆ ประเทศญีป ุ่น ่ ประเทศญี่ปุ่นเป็นประเทศที่มีอากาศหนาวเย็น มีฝนตกเนื่องจากมีภูมิประเทศเป็น เกาะ เสื้อผ้าที่สวมใส่จึงต้องให้ความอบอุ่น เรียกว่า “กิโมโน” ซึ่งเป็นเสื้อคลุมยาว ถึงเท้า แต่ปัจจุบันแต่ง กายแบบสากลนิยมตะวันตก เนื่องจากกิโมโนมีราคาแพง
  • 2. และไม่สะดวกต่อการทำางานประจำาวัน จึงแต่งเฉพาะโอกาสพิเศษวันฉลองครบรอบ 20 ปี ของหนุ่มสาว หรือในพิธีแต่งงาน มีผ้าคาดเอว ของสตรี เรียกว่า “โอบิ” ทำาให้ดูไม่รุ่มร่าม มีสีตัดกับกิโมโน สวมถุงเท้า เรียกว่า “ทาบิ” รองเท้า เรียกว่า “โ ซบิ” ชุดกิโมโนในสมัยโบราณจริง ๆ จะสวมทับกันหลายชิ้น โดยเฉพาะตระกูลขุนนาง จะสวม ถึง 12 ชิ้น แต่ปัจจุบันจะสวมทับกันเพียง 2 – 3 ชิ้น เท่านั้น เครื่อ งแต่ง กาย นอกจากกิโ มโนแล้ว ยัง มีเ ครื่อ งแต่ง กายอื่น อีก เช่น 1. เสื้อแฮปปี้ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำา สำาหรับคนงานแต่ละท้องถิ่นไม่เหมือนกัน 2. เสื้อฮาโอริ เป็นเสื้อชิ้น นอกสีดำาเช่นกัน จะมีลวดลายเป็นสีขาวหรือเครื่องหมาย นามสกุล 3. เสื้อฮะกามา เป็นเสื้อที่มีรูปร่างคล้ายกางเกงขากว้าง ใช้ในงานพิธี 4. ยูกาตะ (Yukata) เป็นกิโมโนชนิดหนึ่งทำาจากผ้าฝ้าย ใส่ได้ทั้งชายและหญิง สี ไม่สด เป็นชุดที่ใส่อยู่กับบ้านหลังจากอาบนำ้าเสร็จแล้ว ต่อมาได้มีการนำาชุดยูกาตะ มาใส่ในงานประเพณี และเทศกาลในฤดูร้อน ทำาให้มีลวดลายสีสันขึ้น ชุดผูหญิง ้ จะมีสีสันมากกว่าชาย 5. โกโซเดะ (Kosode) เป็นชุดกิโมโนของผู้หญิงที่แต่งงานแล้ว เป็นชุดกิโมโน แขนยาว ธรรมดา “ฟูริโวเดะ” เป็นกิโมโนของหญิงสาวที่ยังไม่ได้แต่งงานมีแขน ยาวกว้างเป็นพิเศษ ปัจ จัย ที่ม ีอ ท ธิพ ลต่อ การละเล่น พืน เมือ ง ิ ้ การละเล่นพื้นเมืองของไทยแบ่งออกเป็น 4 ภาค ได้แก่ ภาคกลาง ภาค เหนือ ภาคใต้ และภาคอีสาน แต่ละภาคจะมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์ แตกต่างกัน ออกไปทั้งรูปแบบของเพลงพื้นเมือง และการแสดงพื้นเมือง สิ่งเหล่านี้เกิดจาก ปัจจัยต่างๆ ดังนี้ 1. ปัจจัยสภาพทางภูมิศษสตร์ มีอิทธิพลต่อการสืบทอดวัฒนธรรมท้องถิ่นของ แต่ละภาค เนื่องจากในสมัยอดีตการคมนาคมติดต่อกับส่วนกลางยากลำาบาก ใน ภูมิภาคที่อยู่ห่างไกลจึงมักจะรับวัฒนธรรมจากประเทศใกล้เคียงเข้ามาในสังคมนั้น
  • 3. 2. ประเพณี คำาว่า “ประเพณี” มาจากศัพท์บาลีสันสกฤตว่า “ปเวณิ ; ปรเวริ” ได้แก่ ขนบธรรมเนียมหรือแบบแผน คนเราไม่ว่าชาติไหน ภาษาใด ย่อมต้องมี ประเพณีเป็นของตนเอง คนในชาติจ้องเคารพนับถือ ถ้าไม่เคารพนับถือจะถูกตรา หน้าว่าเป็นคนไม่มีชาติ ในเรื่องประเพณีของประชาชนทุกภูมิภาค ส่วนมากจะมี ขึ้นในลักษณะท่คล้ายคลึงกันบ้าง และแตกต่างกันบ้างในบางประเพณี 3. ศาสนา เป็นสิ่งสำาคัญมากมากสิ่งหนึ่ง ที่ทำาให้เกิดการละเล่นพื้นเมืองแตกต่าง กันออกไปในแต่ละท้องถิ่นหรือในแต่ละภูมิภาค สำาหรับประเทศไทยนับเป็น ประเทศหนึ่งที่มีความเป็นประชาธิปไตยในเรื่องการนับถือศาสนา ทำาให้ประชาชน มีอกาสในการเลือกนับถือศาสนาที่ตนเองชอบได้อย่างอิสระ ผลของการนับถือ ศาสนานั้นมักมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับประเพณีความเชื่อ อันเป็นผลให้เกิดการละเล่น พื้นเมืองแตกต่างกันไป 4. ความเชื่อ เป็นเรื่องที่มีความผูกพันในวิถีชีวิตของคนไทยมานาน ความเชื่อมีผล ทำาให้เกิดรูปแบบของประเพณีต่างๆ อันเป็นผลต่อการละเล่นพื้นเมืองอย่างยิ่งใน แต่ละท้องถิ่น โดยแต่ละท้องที่ก็จะแตกต่างกันออกไป 5. ค่านิยม เรื่องของค่านิยมเป็นสิ่งสำาคัญขั้นมูลฐานในการทำาความเข้าใจถึง พฤติกรรมบุคคล เพราะพฤติกรรมหรือการแสดงออกต่างๆของบุคคล ย่อมขึ้นอยู่ กับลักษณะค่านิยมที่ผู้นั้นมีอยู่ ค่านิยมที่เรามักพบในแต่ละท้องถิ่นแต่ละภาคจะมี ลักษณะดังนี้  ค่านิยมเกี่ยวกับการศึกษา  ค่านิยมเกี่ยวกับความมั่นคง  ค่านิยมเกี่ยวกับการทำาบุญ  ค่านิยมเกี่ยวกับความสนุกสนาน  ค่านิยมเกี่ยวกับเรื่องสิ่งศักดิ์สิทธิ์  ค่านิยมเกี่ยวกับการรักถิ่นฐานหรือรักญาติพี่น้อง  ค่านิยมเกี่ยวกับความกตัญญูรู้คุณ การละครของญีป ุ่น Zeami วิวัฒนาการ ่
  • 4. (1363–1443), นักเขียนบทละครและนักวิจารณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าว ได้สร้าง คำาศัพท์ในเชิงวิพากษ์วิจารณ์ และสุนทรียศาสตร์เกี่ยวกับละครโนะ (Noh) (*): อย่างเช่น yugen, monomane (imitation - การเลียนแบบ), ka หรือ hana (flower – เบ่งบาน สุดยอด รุ่งเรืองถึงขีดสุด) คำากล่าวในเชิงอุปมาอุปมัยหรือ อ้อมค้อมเพื่อถ่ายทอดศิลปะ และเพื่อนำาเสนอสุนทรียศาสต์แนวจารีตเกี่ยวกับกวี นิพนธ์ญี่ปุ่น Chikamatsu Monzaemon (1653–1725), นักเขียนบทละครการแสดงหุ่น กระบอก ผลงานต่างๆ ของเขาได้ถูกประยุกต์บนเวทีการแสดงละครคาบูกิ (Kabuki) (**), มีการกล่าวถึงปัญหาลัทธิสัจนิยมในการละคร (Tsunoda). คาบู กิ (Kabuki) (คล้ายคลึงละครเอเชียส่วนใหญ่) มีเป้าประสงค์ในการนำาเสนอความ จริงในแบบละครออกมาอย่างชัดเจน (presentation of an explicitly theatrical reality) ซึ่งต่างไปจากการละครในโลกตะวันตก ที่มีเป้าหมายการ เป็นตัวแทนแสดงถึงเรื่องราวของชีวิตประจำาวัน การร่ายรำา ฟุจิมุซึหมะ/Fujimusume/ふじむすめ/ระบำาหญิงสาวกับดอกไม้ ฟุจิมุซิหมะ(Fujimusume/フジムスメ)ระบำาหญิงสาวกับดอกไม้ เป็นระบำาที่ มีชื่อเสียงชุดหนึ่งของญี่ปุ่น แสดงโดยหญิงสาวที่สวยงาม ร่ายรำาด้วยความคิด คำานึงถึงชายคนรัก อยู่ท่ามกลางดงดอกไลแลคสีม่วงอ่อน kamigata-mai/かみ がた-まい/คามิกาตะ-ไม เป็นการร่ายรำาตามแบบชาวเกียวโตและโอซาก้า การร่ายรำาแบบญี่ปุ่นมีท่วงทำานอง ท่าทาง และลีลาที่พัฒนามาจากการร่ายรำา ประกอบการสวดบูชา หรือการร่ายรำาแบบเวทมนต์เพื่อขับไล่และส่งวิญญาณไปสู่ สุคติ การเคลื่อนไหวมี 3 ลักษณะ คือ หมุนตัว เต้น และการเคลื่อนไหวร่ายกายใน ชีวิตประจำาวัน การร่ายรำาของญี่ปุ่นดูได้จากละครโน่(noh/ノイ)เคียว เกน(Kyogen/キョゲン)และ คาบูกิ(Kabuki/カブキ)