SlideShare a Scribd company logo
1 of 50
Download to read offline
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
จัดทาโดย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
นายสมศักดิ์ ทองปาน
ครูเชี่ยวชาญ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
จัดทาโดย
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ที่ปรึกษาโครงงาน
นายสมศักดิ์ ทองปาน
ครูเชี่ยวชาญ
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง)
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
ค
เกี่ยวกับโครงงาน
หัวข้อเรื่อง : แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ศิลปะ รายวิชา นาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101
ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ปรึกษาโครงงาน : นายสมศักดิ์ ทองปาน
สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
การติดต่อ : โทร. 038 029050
โทรสาร 038 029051
มือถือ 081 7813788
ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
ง
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้
ด้วยดี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากครูสมศักดิ์ ทองปาน ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้
สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ใน
ขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ
โอกาสนี้
คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา และครูพิชญา พลศิริที่ได้กรุณาให้
คาปรึกษา และคาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้การทาโครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น
ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้
ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกาลังใจ
และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด
สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัวชองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ได้
ช่วยเหลือให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบ
ผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
พฤศจิกายน 2563
จ
ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
ชื่อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ที่การศึกษา : นายสมศักดิ์ ทองปาน
บทคัดย่อ
โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้คณะผู้จัดทาเลือก
ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟของชาวสุโขทัยและประวัติความเป็นมาของ
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดนี้
ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1) เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ
เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2) เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน
เล่นไฟ และ 3) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการแสดงที่มีความยาวเนื้อเพลง
7 นาที 27 วินาที มีจุดประสงค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาเกี่ยวกับเอกลักษณ์และความสวยงามของ
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และประวัติของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ โดยมีการแบ่งการแสดงเป็น 4 ตอน
ได้แก่ ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทง
ประทีป ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายพระร่วงเจ้า และตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระ
ประทีป ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ได้ทาการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ในวันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน
พ.ศ.2563 เวลา 10.00 น. ถึง 12.30 น. ณ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี
นครินทร์ ระยอง และทาการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์แบบสุ่ม
จานวน 100 คนโดยลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 10 ข้อ มี
ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.76 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุด โดยด้านที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้าน
ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ รองลงมาคือ ด้านการแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความ
สร้างสรรค์, ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง และด้านการแต่งกายมีความ
เหมาะสมกับการแสดง
ฉ
สารบัญ
หน้า
เกี่ยวกับโครงงาน ก
กิตติกรรมประกาศ ข
บทคัดย่อ ค
สารบัญ ง
สารบัญรูปภาพ ฉ
สารบัญตาราง ช
สารบัญแผนภูมิ ซ
บทที่ 1 บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ 1
วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2
ขอบเขตของการศึกษา 2
นิยามศัพท์เฉพาะ 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ความหมายของความพึงพอใจ 4
ลักษณะความพึงพอใจ 5
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ 6
รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ 7
นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 7
ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย 8
ความสาคัญวันลอยกระทง 1
งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น 10
ประวัตินางนพมาศ 11
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
การแบ่งช่วงการแสดง 15
ประชากร 14
กลุ่มตัวอย่าง 14
ช
สารบัญ (ต่อ)
หน้า
บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน
เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 14
การเก็บรวบรวมข้อมูล 15
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 15
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
สัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้สื่อความหมาย 18
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 18
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล 23
อภิปรายผลการดาเนินงาน 24
บรรณานุกรม 25
ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน 27
ภาคผนวก ข แบบประเมินผลความพึงพอใจ 29
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ 31
ภาคผนวก จ แบบสอบถามที่ได้รับกลับมา 41
ซ
สารบัญรูปภาพ
หน้า
ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน
ภาพที่ 1-2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการดาเนินงาน 28
ภาพที่ 3-4 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 28
ภาพที่ 5-6 แจกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ชมการแสดง 28
ฌ
สารบัญตาราง
หน้า
บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน
ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับเพศผู้ตอบแบบสอบถาม 19
ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 19
ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนผู้ตอบแบบประเมินในระดับความใจ 5 ระดับ 19
ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลข้อมูล 21
ความพึงพอใจในการแสดง
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ตารางที่ 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 24
ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ
ตารางที่ 1 ข้อมูลผลสารวจระดับความพึงพอใจในการแสดงนาฏศิลป์รายบุคคล 32
กับความพึงพอใจรายบุคคล
ตารางที่ 2 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยว 36
กับความพึงพอใจรายบุคคล
ตารางที่ 3 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ร้อยละคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน 40
มาตรฐาน และการแปลผลข้อมูลความพึงพอใจของผู้ประเมิน
ญ
สารบัญแผนภูมิ
หน้า
บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ
แผนภูมิที่ 5.1 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 23
แผนภูมิที่ 5.2 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 23
บทที่ 1
บทนา
ความเป็นมาและความสาคัญ
นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน
พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ไว้ว่า “เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา”
ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือ
เรียกว่า ศิลปะของการร้องราทาเพลง นายจันทนา รังรักษ์ กล่าวไว้ว่า การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏศิลป์
ไทยเป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคน ๆ นั้นได้คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์ มีการสอดแทรกแนวคิด
ลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของมนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ
วิถีชีวิตของชาวไทยที่ผูกพันกับแม่น้ามาอย่างช้านาน เมื่อถึงฤดูน้าหลากในเดือน 12 คืนที่จันทร์เต็ม
ดวง น้าจะเต็มตลิ่งสองฝั่งแม่น้า สะท้อนแสงนวลของดวงจันทร์ที่ส่องประกายลงบนผิวน้า สร้างบรรยากาศที่
สวยงาม สดชื่น และเยือกเย็น ชาวสุโขทัยจึงเริ่มประเพณีการเผาเทียน ลอยประทีปลงไปในน้าเพื่อเป็นการขอ
ขมาพระแม่คงคาที่ให้มนุษย์ได้ใช้น้าเพื่ออุปโภค บริโภค ชาวบ้านยังเชื่อว่าการสะเดาะเคราะห์ด้วยการลอย
ความทุกข์โศกโรคภัยไปกับแม่น้า ถือเป็นการบูชาพระผู้เป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์และสักการะรอยพระพุทธ
บาท นอกจากความเชื่อเหล่านี้แล้ว ยังมีตานานประวัติศาสตร์ของนางนพมาศ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า
ผู้มีรูปลักษณ์และคุณสมบัติที่งดงามเยี่ยงสตรีในอุดมคติ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้ตาแหน่ง
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และได้สมญาว่า กวีหญิงคนแรกของไทย นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์กระทงทาจากใบตอง
เป็นรูปดอกดอกบัว พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้ และโคมลอยรูปดอกกระมุท ได้ถูกพระราชหทัย
พระร่วงเจ้าเป็นอย่างมาก จึงมีการนากระทงใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีปพร้อมกับจุดตะคัน
บูชาพระรัตนตรัย วางบนฐานระเบียงโบสถ์ เกิดเป็นแสงส่องสว่างระยิบระยับ และมีเล่นพลุอย่างสวยงาม
ตระการตา ด้วยความเชื่อมุ่งมั่นของชาวไทยนี้ ชาวสุโขทัยจึงจัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟสืบ
ทอดมาจนถึงปัจจุบัน จนกลายเป็นประเพณีระดับประเทศ สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก
ความเป็นอยู่ของชาวไทยนาไปสู่ความเชื่อซึ่งก่อให้เกิดประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวสุโขทัย ที่
เล่าขานถึงความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้คนในอดีต ผลงานฝีมืออันวิจิตรสะท้อนถึงความประณีตของช่างศิลป์
ในสมัยนั้น ทั้งการเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง การสร้างสรรค์กระทง และจุดตะคันส่องสว่าง บ่งบอกถึงความ
ละเอียดอ่อนของความเป็นไทยได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ด้วยเอกลักษณ์และความสวยงามของประเพณีนี้ ทาง
คณะผู้จัดทาจึงเลือกทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟและประวัติของท้าวศรี
จุฬาลักษณ์มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เพื่อเป็นการ
เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมไทยและทาการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับศิลปะแห่งการละครและ
การฟ้อนรา
12
วัตถุประสงค์ของการศึกษา
1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดง
นาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา
2. เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ
เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
3. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
ขอบเขตของการศึกษา
1. ขอบเขตด้านประชากร ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้น
ปีที่ 1-6 จานวน 1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน
เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช
กุมารี (แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563)
2. ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง หรือผู้ชมเพื่อประเมินผลความพึงพอใจในการแสดงคือ นักเรียนชั้น
มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 และคณะครูอาจารย์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระ
ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ของโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ตั้งแต่
วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2563
นิยามศัพท์เฉพาะ
1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงศิลปะแห่งการละครที่มีการประดิษฐ์
ดัดแปลง หรือ ปรับปรุงท่าราขึ้นใหม่ให้มีความสวยงามและถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์ไทย มีการใช้ท่าราที่ง่าย
ไม่ซับซ้อน จังหวะและเนื้อเพลงไม่ยาว และท่าราที่ไม่ซ้าท่ากันมาก
2. โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
3. ครู หมายถึง คณะผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบุคลากรทางศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
4. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง
5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่อการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด
ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
13
6. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ หมายถึง ประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์
และขอขมาต่อพระแม่คงคา มีการลอยกระพระประทีปหรือกระทอง มักนิยมทาโคมลอย และจุดพลุไฟเล่นกัน
ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย
7. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หมายถึง เรวดีนพมาศ หรือนางนพมาศ ผู้ได้ประดิษฐ์โคมรูปดอกบัว พาน
หมากสองชั้นรับแขกเมือง และพานดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย ใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธี
จองเปรียงลอยพระประทีป พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนังคัล เป็นต้น
8. ฉาก หมายถึง อุปกรณ์เสริมในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ และฉากกั้นประกอบเวทีละคร
เพื่อให้ดูสมจริงตามเนื้อเรื่องและการแสดง
9. นักแสดง หมายถึง บุคคลที่ราฟ้อนในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
10. สตาฟ หมายถึง Staff คณะผู้ทางานเบื้องหลังการแสดงราฟ้อน ทั้งฝ่ายผู้เตรียมฉากและอุปกรณ์
ฝ่ายช่างศิลป์ ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ และฝ่ายจัดทาผลการปฏิบัติงาน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้มีการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์
ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา
2. ได้ปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ
เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ
3. ได้ศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
การจัดทาโครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คณะผู้จัดทาได้
ทาการศึกษาค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน
และการแสดง ดังนี้
แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. ความหมายของความพึงพอใจ
ความพึงพอใจเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความสาเร็จของงานที่บรรลุเป้าหมายที่มี
ประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการได้รับการตอบสนองต่อแรงจูงใจหรือความต้องการของแต่ละบุคคลในแนวทาง
ที่เขาประสงค์ มีผู้ให้ความหมายคาว่า “ความพึงพอใจ” ไว้ดังนี้
สุภาลักษณ์ ชัยอนันต์ (2540 : 17) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจเป็น
ความรู้สึกส่วนตัวที่รู้สึกเป็นสุขหรือยินดีที่ได้รับความตอบสนองความต้องการในสิ่ง ที่ขาดหายไป หรือสิ่งที่ทา
ให้เกิดความไม่สมดุล ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออกของบุคคล ซึ่งมีผลต่อการเลือกที่
จะปฏิบัติในกิจกรรมใด ๆ นั้น
ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2541 : 17) กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจในการบริการสามารถจาแนก
เป็น 2 ความหมาย ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของผู้บริโภคหรือผู้รับบริการ (Customer
satisfaction) และความพึงพอใจในงาน (Job satisfaction) ของผู้ให้บริการ ดังนี้
1. ความหมายของความพึงพอใจของผู้บริการ ตามแนวคิดของนักการตลาดจะพบนิยามของความพึง
พอใจของผู้รับบริการเป็น 2 นัย คือ
1.1 ความหมายที่ยึดสถานการณ์การซื้อเป็นหลัก ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจเป็นผลที่เกิดขึ้น
เนื่องจากการประเมินสิ่งที่ได้รับภายหลังสถานการณ์การซื้อสถานการณ์หนึ่ง มักพบในงานวิจัยการตลาดที่เน้น
แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์
1.2 ความหมายที่ยึดประสบการณ์เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าเป็นหลัก ให้ความหมายว่า ความพึง
พอใจเป็นผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประเมินภาพรวมทั้งหมดของประสบการณ์หลาย ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับ
ผลิตภัณฑ์หรือบริการในระยะเวลาหนึ่ง หรืออีกนัยหนึ่งคือ ความพึงพอใจ หมายถึง การประเมินความสามารถ
ของการนาเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง
2. ความหมายของความพึงพอใจในงานของผู้บริการ ตามแนวคิดของนักจิตวิทยาองค์กรความพึง
พอใจในการทางานจะมีผลต่อความสาเร็จของงานเป็นเป้าหมายสูงสุดของความสาเร็จในการดาเนินงานบริการ
ขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดความรู้สึกที่ดีและประทับใจ ในการ
บริการที่ได้รับจนติดใจและกลับมาใช้บริการเป็นประจา การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าตลอดจน
5
ผู้ปฏิบัติงานถือเป็นเรื่องสาคัญ เพราะความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้จะนามาซึ่งความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน
ทางการตลาด เพื่อความก้าวหน้าและการเติบโตของธุรกิจบริการอย่างไม่หยุดยั้ง และส่งผลให้สังคมส่วนรวมมี
คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงกล่าวได้ว่า ความพึงพอใจมีความสาคัญต่อผู้ให้บริการและผู้รับบริการ
มณี โพธิเสน (2543 : 43) ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกยินดีหรือเจตคติที่ดีของ
บุคคลเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการของตน ทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีในสิ่งนั้น ๆ
อุทัยพรรณ สุดใจ (2544 : 7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ สิ่งใด
สิ่งหนึ่งโดยอาจจะเป็นไปในเชิงประเมินค่าว่า ความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นเป็นไปในทางบวกหรือ
ทางลบ
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 775) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ
หมายถึง ความพึงพอใจ ความชอบใจ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Satisfaction
จากที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น ผู้วัยจึงสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่เป็นการยอมรับ
ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับการปฏิบัติงาน ทั้งการให้บริการและการรับบริการในทุกสถานการณ์ ทุก
สถานที่
2. ลักษณะความพึงพอใจ
ลักษณะความพึงพอใจผู้วิจัยได้ศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและได้นามาเสนอลักษณะของ
ความพึงพอใจของนักวิชาการต่าง ๆ ดังนี้
สุรศักดิ์ นาถวิล (2544 : 10) ได้กล่าวว่า ลักษณะความพึงพอใจไว้ ดังนี้
2.1 ความพึงพอใจเป็นการแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกทางบวก ของบุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด
บุคคลจะรับรู้ความพึงพอใจ จาเป็นต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบตัวการตอบสนองความต้องการ
ของมนุษย์ ส่วนบุคคลด้วยการโต้ตอบกับบุคคลอื่นและสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันทาให้แต่ละคนมี
ประสบการณ์รับรู้ เรียนรู้ สิ่งที่ได้รับการตอบสนองแตกต่างกันไป และหากสิ่งที่ได้รับเป็นไปตามความต้องการก็
จะก่อให้เกิดความพึงพอใจ
2.2 ความพึงพอใจเกิดจากการประเมินความแตกต่าง ระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่ได้รับจริงใน
สถานการณ์ บริการก่อนที่ลูกค้าจะมาใช้บริการใดก็ตาม มักจะมีมาตรฐานของการบริการนั้นไว้ในใจอยู่ก่อน
เสมอแล้ว ซึ่งมีแหล่งอ้างอิงมาจากคุณค่าหรือเจตคติที่ยึดถือต่อบริการประสบการณ์ดั้งเดิมที่เคยใช้บริการ การ
บอกเล่าของผู้อื่น การรับทราบข้อมูล การรับประกันบริการจากโฆษณา การให้คามั่นสัญญาของผู้ให้บริการ
เหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐาน ที่ผู้ใช้บริการเหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ผู้รับบริการ ใช้เปรียบเทียบกับบริการที่ได้รับ
ในวงจร ของการให้บริการตลอดช่วงเวลาของความจริง สิ่งที่ผู้บริการได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริการที่ได้รับ
การบริการ คือ ความคาดหวังในสิ่งที่คิดว่าได้รับ (Expectations) นี้มีอิทธิพลต่อช่วงเวลาของการเผชิญความ
จริงหรือการพบปะระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการเป็นอย่างมาก เพราะผู้รับบริการจะประเมินเปรียบเทียบ
สิ่งที่ได้รับจริงในกระบวนการบริการที่เกิดขึ้น (Performance) กับความหวังเอาไว้หากสิ่งที่ได้รับเป็นไปตาม
6
ความคาดหวังถือว่าเป็นการยืนยันที่ถูกต้อง (Confirmation) กับความคาดหวังที่มีผู้รับริการย่อมเกิดความพึง
พอใจต่อการบริการดังกล่าว แต่ถ้าไม่เป็นไปตามคาดหวังอาจจะสูงหรือต่ากว่านับว่าเป็นการยืนยันที่
คลาดเคลื่อน (Disconfirmation) ความคาดหวังดังกล่าวทั้งนี้ช่วงความแตกต่าง (Discrimination) ที่เกิดขึ้นจะ
ชี้ให้เห็นระดับความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจมากน้อยได้ ถ้ายืนยันเบี่ยงเบนไปในทางบวกแสดงถึงความพึง
พอใจ ถ้าไปในทางลบแสดงถึงความไม่พอใจ
จากความหมายที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ลักษณะของความพึงพอใจเป็นการ
แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกทางบวกของบุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด บุคคลจะรับรู้ความพึงพอใจที่รู้สึกได้
ในขั้นสุดท้ายที่ได้รับผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์
3. การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์
เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา (2561: 159) กล่าวว่า นาฏศิลป์ไทยบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแต่
ละชาติแต่ละท้องถิ่นได้อย่างชัดเจนอีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ไทยมีรูปแบบการแสดงที่ชัดเจนนอกจากจะแสดงเพื่อ
ความบันเทิงแล้วในการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทสามารถสื่อความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมองเห็น
ถึงคุณค่าความงาม ภูมิปัญญาของผู้สร้างสรรค์เห็นความงามของลีลาท่าร าของนักแสดง ความไพเราะของ
เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง ความงามของเครื่องแต่งกายแต่ละประเภท
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จัดเป็นหนึ่งในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในด้าน
สุนทรียศาสตร์ความคิดริเริ่มในสิ่งแปลกใหม่จากประสบการณ์ การสั่งสมความรู้ การแก้ไขสถานการณ์การ
ประยุกต์ การสะท้อนสังคม การประยุกต์ปรับเปลี่ยนให้ทันกับสังคม วัฒนธรรมในโลกปัจจุบันกระบวนการ
สร้างสรรค์นาฏศิลป์เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาความงอกงามทางวัฒนธรรมอันหลากหลายให้เกิด
ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์จึงเป็นกลไกสาคัญในการผลิตผลงานด้าน
ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ทั้งนี้ผู้สร้างสรรค์จึงมีความจาเป็นในการเข้าใจกระบวนการออกแบบผลงาน ซึ่งเป็น
หนึ่งในการประมวลองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์สาหรับผู้เรียนในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ได้แก่ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ประเภทและลักษณะของ
นาฏศิลป์ รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ และคุณลักษณะผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ (ปิ่นเกศ วัชร
ปาณ, 2559: 1)
7
4. รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์
การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์นั้น สามารถสร้างสรรค์นาฏศิลป์ในลักษณะของการราหรือเต้นเป็นชุด
สั้น ๆ อย่างระบาเบ็ดเตล็ดหรือเรียกว่า นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ที่ต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์เดิม และนามา
สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ภายใต้ความคิดอย่างมีระบบในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จึงเป็นการคิดชุดการแสดง
ขึ้นมาใหม่ให้แตกต่างจากชุดที่มีอยู่เดิม ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์จากรูปแบบใดเป็นพื้นฐาน เช่น การนาเอา
12 เพลงไทยสากลมาประกอบกับจินตลีลาที่มีลักษณะมีพื้นฐานท่าราไทยแต่รูปแบบการใช้เท้า การใช้จังหวะ
ในการเคลื่อนไหวเป็นแบบการประยุกต์ท่าบัลเล่ต์
รูปแบบนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ดังกล่าวนี้ เป็นการสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วง 50 ปี และแพรหลายใน
ราวปีพ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ที่สถาบันการศึกษาหลายแห่งเริ่มมีภาควิชานาฏยศิลป์มีการวัดผลสัมฤทธิ์
ทางการด้านนาฏศิลป์ด้วยการประดิษฐ์นาฏศิลป์สร้างสรรค์ขึ้นใหม่
นอกจากนี้ยังพบว่า มีการประกวดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์ไทย (แบบดั้งเดิม)จากงาน
ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนดการแข่งขันประเภทนี้ยิ่งส่งผลให้
การประดิษฐ์นาฏศิลป์ใหม่ ๆ เพิ่มจานวนขึ้นอยางรวดเร็ว นับเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่เกิดขึ้น
จากภูมิปัญญานักนาฏยประดิษฐ์ทุกระดับการศึกษา เน้นย้าให้เห็นว่านาฏศิลป์ไทยยังคงสืบทอด มีการปรับตัว
ให้สอดคล้องกับสังคมทุกยุคทุกสมัย
จึงแบ่งรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ที่มักพบในการทาผลงานในวงการการศึกษาและ
นามาเป็นรูปแบบการสร้างสรรค์งานเพื่อใช้ในการวัดผลความรู้ด้านนาฏศิลป์ของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ใน
หลายสถาบันเพื่อการเป็นประโยชน์ในการทาผลงานไว้ดังนี้
1. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
2. นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์ประยุกต์
5. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ของงานศิลปหัตกรรมนักเรียนกิจกรรมนาฏศิลป์ไทย
ประยุกต์ได้ถูกยกออกจากกิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ไทย โดยได้บรรจุกิจกรรมนาฏศิลป์สร้างสรรค์เข้ามา
แทนที่จนกระทั่งถึงปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2554) (อรรจมาภรณ์ ชัยวิสุทธิ์, 2556: 2) ซึ่งในการให้คาจากัดความ
ของการแข่งขันประเภทนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในการประกวดนี้พบว่า มีการให้คาจากัดความแตกต่างกัน
ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 – 2558 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือการแสดงที่
นอกเหนือจากนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ เป็นการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่คิดประดิษฐ์ สร้างขึ้นใหม่ทั้งเพลง ดนตรี
เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล๎องตามกรอบแนวคิดที่กาหนด และไม่เกี่ยวข้องกับการแสดง
นาฏศิลป์พื้นเมือง และนาฏศิลป์สากล (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64, 2558: 8)
ในปี พ.ศ. 2559 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึงการแสดงนาฏศิลป์
ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่าราสอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่
8
กาหนดขึ้น ทั้งนี้จะแสดงออกมาในรูปแบบของระบาเบ็ดเตล็ด หรือการแสดงพื้นเมืองก็ได้ (ศิลปหัตถกรรม
นักเรียน ครั้งที่ 65, 2559: 8)
ในปี พ.ศ. 2560 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์
ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิด
ที่กาหนดขึ้น โดยผ่านทักษะกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นระบบแล้ว นาเสนอในรูปแบบของโครงงานและการ
แสดง 1 ชุด ซึ่งจะออกมาในรูปแบบของประเภทระบาเบ็ดเตล็ดหรือการแสดงพื้นเมืองในเชิงสร้างสรรค์
นาฎศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่เกิดขึ้นจากการนาเอานาฏศิลป์
พื้นบ้านทั้ง 4 ภาคของไทย และรวมถึงศิลปะการแสดงพื้นบ้านตามท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง
อย่างเห็นได้ชัด นามาสร้างสรรค์ให้เห็นถึงวิถีชีวิตท้องถิ่น หรือเรียกการสร้างสรรค์นี้ได้อีกอยางหนึ่งว่า
นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ซึ่งมีทั้งจากการประดิษฐ์โดยกรมศิลปากร นานาฏศิลป์พื้นบ้าน 4 ภาคที่กรม
ศิลปากรได้ศึกษาท่าราและนาท่ารามาปรับปรุงเผยแพรโดยทั่วไป จัดว่าเป็นนาฏศิลป์มาตรฐาน (แบบแผนตาม
แบบฉบับกรมศิลปากร) ส่วนท่าราแม่บทอีสาน โนราห์ภาคใต้ หรือ ฟ้อนเล็บตามคุ้มเจ้า เหล่านี้ขอยกเป็น
นาฏศิลป์พื้นเมืองดั้งเดิมจากนี้เมื่อมีผู้ผลิตนาฏศิลป์พื้นบ้านโดยใช้ท่าดั้งเดิมอยู่มากบ้าง น้อยบ้าง และนาเนื้อ
เรื่อง บทร้อง เนื้อหาใหม่มาสร้างสรรค์ท่าราโดยใช้วงดนตรีและเพลงพื้นเมืองตามท๎องถิ่นนั้น ๆ ให้จัดว่าเป็น
นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองสร้างสรรค
ปิ่นเกศ วัชรปาณ (2559: 14) ได้อธิบายไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ จึงมีลักษณะในเกณฑ์การ
ประกวดฯ ว่า มีรูปแบบที่สร้างสรรค์ท่ารา เพลง ดนตรี เครื่องแต่งกาย ในลีลาท่าราไทย ทั้งแบบ นาฏศิลป์ไทย
มาตรฐานหรือ แบบนาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมือง ในลักษณะการแสดงชุดสั้น ๆ หรือเรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ดที่
มีเนื้อหาใหม่ ภายใต้กรอบแนวคิดใหม่โดยมีผ่านกระบวนการกลุ่ม ที่มีเนื้อหาเชิงสร้างสรรค์
6. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย
ประเพณีลอยกระทงนั้นไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีลอยกระทงนี้ได้
สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า
“พิธีจองเปรียง” หรือ “การลอยพระประทีป” และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่น
ไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่สุดของกรุงสุโขทัย ทาให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่าง
แน่นอน
จังหวัดสุโขทัย ร่วมกับกรมศิลปากรและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้จัดงานประเพณีลอยกระทง
เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัยขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 เพื่อเป็นการฟื้นฟูประวัติศาสตร์ประเพณีลอยกระทง
และส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยใช้ชื่องานตามคาในหลักศิลาจารึกว่า “งานเผาเทียนเล่นไฟ” โดยกาหนดจัดขึ้น
ทุกปีในวันเพ็ญเดือน 12 (ขึ้น 15 ค่า เดือน 12) หรือประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี สาหรับในปีนี้มี
แนวคิดการจัดงานคือ “ลอยพระประทีปหลอมรวมใจ ร่วมอาลัยพ่อแห่งชาติ ถวายอภิวาทมหาวชิราลงกรณ”
เพื่อเป็นการถวายอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ
9
เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยในปีนี้ ภายในงานจะมีพิธีรับรุ่ง
อรุณแห่งความสุข ณ อุโบสถวัดตระพังเงิน, พิธีบวงสรวงบุรพกษัตริย์สุโขทัยทุกพระองค์ ณ บริเวณพระบรมรา
ชานุสาวรีย์พ่อขุนรามคาแหงมหาราช, การประกวดกระทงเล็ก โคมชักโคมแขวน พนมหมาก พนมดอกไม้,
ลานเทศน์ ลานธรรม (เทศน์มหาชาติ) ณ ลานโพธิ์ หลังวัดชนะสงคราม, การแสดงพลุ ตะไล ไฟพะเนียง ณ
บริเวณสระน้าวัดสระศรี (ตระพังตะกวน), การประกวดนางนพมาศ การประกวดร้องเพลงชิงถ้วยพระราชทาน
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ เวทีโรงละครกลางแจ้ง
ยังมีการจัดแสดงหมู่บ้านวิถีชีวิตไทยและตลาดปสาน ตลาดโบราณ สมัยกรุงสุโขทัยโดยเฉพาะการ
จาลองตลาดแลกเบี้ยสุโขทัยซึ่งจัดโดย ททท.สานักงานจังหวัดสุโขทัย โดยมีทั้งตลาดน้าและตลาดบนบก
บรรยากาศสวยงามย้อนอดีตเป็นอย่างยิ่งและการแสดงกีฬาพื้นบ้าน การแสดงทางวัฒนธรรมไทย เช่น การ
แสดงกระบี่กระบอง การสาธิตมวยคาดเชือก ณ บริเวณศาลาสี่หลัง, การแสดงดนตรีไทย ณ บริเวณวัดชนะ
สงคราม, การแสดงประกอบแสง เสียง ณ บริเวณวัดมหาธาตุ ซึ่งในปีนี้การแสดงประกอบแสง เสียง จัดการ
แสดงยิ่งใหญ่ตระการตากว่าทุก ๆ ปี เป็นการแสดงประกอบ แสง เสียง เรื่อง “ความรุ่งเรืองของนครสุโขทัย”
มีการนาช้างมาร่วมแสดงจานวน 3 เชือก เป็นฉากที่แสดงวีรกรรมของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเมื่อครั้งยังทรง
พระเยาว์ ช้างที่นามาแสดง 3 เชือกนั้น จะแสดงเป็นช้างของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ช้างของพ่อขุนรามคาแหง
มหาราช และช้างของขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด นอกจากนี้ยังมีการแสดงโขน ซึ่งเป็นมหรสพหลวง เป็นการแสดง
โขนของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เรื่อง “รามเกียรติ์” แสดง 5 คืน 5 ตอน ตอนการแสดงตานานท้าวศรีจุฬา
ลักษณ์โดยใช้การแสดงของขบวนเรือจาลองเหตุการณ์ในยุคกรุงสุโขทัย และกิจกรรมลอยกระทงของผู้ร่วมชม
งานในทุกค่าคืน
นอกจากนี้ ในงานยังมีประเพณี “ข้าวขวัญวันเล่นไฟ” ซึ่งเป็นการรับประทานอาหารร่วมกันของผู้มา
เยือนเมืองสุโขทัยในโอกาสงานประเพณีเผาเทียนเล่นไฟช่วงเวลาประมาณ 17.30 – 19.00 น. วัตถุประสงค์
สาคัญคือ เป็นการรักษาธรรมเนียมไทยในการเลี้ยงข้าวปลาอาหาร เพื่อสร้างความรักความเข้าใจ กระชับ
สัมพันธไมตรี ทาให้เกิดความสุขความเจริญตลอดทั้งปี บรรยากาศในงานมุ่งเน้นเอกลักษณ์ไทย ทั้งการแต่งกาย
แบบไทยๆ การนั่งล้อมวงบนเสื่อ การใช้โตกแทนโต๊ะอาหาร เลือกใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน ย้อนสู่ยุคสุโขทัยเป็น
ราชธานี พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นสุโขทัย และการบรรเลงดนตรีไทยตลอดรายการ
สาหรับกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากกิจกรรมการลอยกระทงและการแสดงที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยัง
สามารถชมขบวนแห่ เป็นขบวนแห่ประเพณีวัฒนธรรม 9 อาเภอ และขบวนของภาคเอกชน เป็นขบวนแห่นาง
นพมาศ กระทงใหญ่ และขบวนขององค์กรส่วนท้องถิ่น และในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 เป็นขบวนอัญเชิญไฟ
พระฤกษ์และพระประทีปพระราชทาน และนอกจากนี้ยังมีการแสดงการจัดจาหน่ายสินค้าสหกรณ์และสินค้า
OTOP เป็นต้น
7. ความสาคัญวันลอยกระทง
- เพื่อขอขมาต่อพระแม่คงคา และบูชาพระพุทธบาท ตามคติความเชื่อ
10
- เพื่อรักษาธรรมเนียมของไทยไม่ให้สูญหาย
- เพื่อรู้คุณค่าของน้า และแม่น้าลาคลอง อันเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับดารงชีวิต
คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป (ลอยกระทง) ดังคากล่าวดังต่อไปนี้
นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 จบ)
มะยัง อิมินา, ปะทีเปนะ อะสุกายะ, นัมมะทายะ, นะทิยา,ปุลิเน, ฐิตัง, มุนิโน, ปาทะวะลัญชัง อะภิ
ปูเชมะ อะยัง ปะทีเปนะ, มุนิโม, ปาทะวะลัญชัสสะ, บูชา, อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ,สุขายะ, สังวัตตะตุ
แปลว่า “ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอบูชา, ซึ่งรอยพระพุทธบาทที่ตั้งอยู่เหนือหาดทราย, ในแม่น้าชื่อ ขอจง
เป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ”
8. งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น
ภาคเหนือตอนบน มักนิยมทาโคมลอยที่เรียกว่า ลอยโคม หรือ ว่าวฮม หรือ ว่าวควัน ทาจากผ้าบาง
ๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศคล้ายกับบอลลูน ซึ่งชาวเหนือมักเรียกประเพณีนี้ว่า ยี่เป็ง หมายถึง
การทาบุญในวันเพ็ญเดือนยี่ (เป็นการนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย)
- จังหวัดเชียงใหม่ จะมีประเพณียี่เป็ง เชียงใหม่ ทุก ๆ ปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการคา
และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า
- จังหวัดตาก จะมีการลอยกระทงขนาดเล็กเรียงรายกันไปเป็นสาย เรียกว่า กระทงสาย
- จังหวัดสุโขทัย จะมีขบวนแห่โคมชัก โคมแขวน การเล่นพลุตะไล และไฟพะเนียง
ภาคอีสาน ในอดีตจะมีการเรียกประเพณีลอยกระทงว่า สิบสองเพ็ง หมายถึง วันเพ็ญเดือนสิบสอง ซึ่ง
จะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่
- จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นตัวแทนจัดงานลอยกระทงที่ใหญ่ที่สุดของภาคอีสาน มีชื่องานว่า สมมาน้าคืน
เพ็งเส็งประทีป มีความหมายตามภาษาถิ่นว่า การขอขมาพระแม่คงคาในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง ความพิเศษ
ของงานจะมีการแสดง แสง สี เสียง ตานานเมืองร้อยเอ็ด มีการตกแต่งบริเวณเกาะบึงพลาญชัยให้เป็นเกาะ
สวรรค์ มีขบวนกระทงอาเซียน มีการประกวดกระทงประทีปใหญ่ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีการประกวดกระทงอนุรักษ์ธรรมชาติ การประกวดขบวนแห่กระทง
ประทีป 12 หัวเมืองตามตานานเมืองร้อยเอ็ด การประกวดราวงสมมาน้าคืนเพ็งเส็งประทีป การประกวดธิดา
สาเกตนครและกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ จังหวัดร้อยเอ็ดยังได้รับโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ที่ทรงพระราชทานพระประทีปส่วนพระองค์ร่วมลงลอยในบึง
พลาญชัยทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542
- จังหวัดสกลนคร ในอดีต จะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วยที่มีลักษณะคล้ายกับการทาปราสาทผึ้ง
โบราณ โดยเรียกชื่องานว่า เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล
11
ภาคกลาง จะมีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด
- กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง จัดขึ้นที่วัดสระเกตุ มีลักษณะเป็นงานวัด มักจะเฉลิมฉลองราว
7 – 10 วันก่อนงานลอยกระทง และงานจะสิ้นสุดลงในช่วงหลังวันลอยกระทง
- จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะมีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ณ บริเวณ
อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานจะมีการแสดงแสง สี เสียงอย่างงดงามตระการตา
ภาคใต้ อย่างที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จะมีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้นในจังหวัดอื่น
ๆ ก็จะมีการจัดงานลอยกระทงด้วยเช่นกัน
9. ประวัตินางนพมาศ
นางนพมาศ หรือบ้างก็เรียกกันว่า เรวดี นพมาศ เกิดในรัชกาลพระยาเลอไท กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง
ราชวงศ์พระร่วง นางนพมาศ เป็นธิดาของพระศรีมโหสถกับนางเรวดี บิดาเป็นพราหมณ์ปุโรหิตในสมัยพระยา
เลอไท มีรูปสมบัติและคุณสมบัติที่งดงาม ได้รับการอบรมจากบิดา มีความรู้ทางอักษรศาสตร์ พุทธศาสนา
ศาสนาพราหมณ์ การช่างของสตรี ตลอดจนการขับร้องดนตรี สันนิษฐานว่า นางนพมาศ ได้ถวายตัวเข้ารับ
ราชการในสมัยพระยาลิไท ในยุคสุโขทัย และเป็นที่โปรดปรานจนได้เป็นสนมเอก ตาแหน่ง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์
ซึ่งกล่าวกันว่า นางนพมาศ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้สมญาว่า "กวีหญิงคนแรกของไทย"
ดังเช่นที่มีข้อความเขียนไว้ว่า
"ทั้งเป็นสตรี สติปัญญาก็น้อยกว่าบุรุษ แล้วก็ยังอ่อนหย่อนอายุ กาลังจะรักรูปและแต่งกาย ซึ่ง
อุตสาหะพากเพียร กล่าวเป็นทาเนียบไว้ ทั้งนี้เพื่อหวังจะให้สตรีอันมีประเภทเสมอด้วยตน พึงให้ทราบว่า
ข้าน้อยนพมาศ กระทาราชกิจในสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงมหานครสุโขทัย ตั้งจิตคิดสิ่งซึ่งเป็นการควรกับเหตุ
ถูกต้องพระราชอัชฌาสัยพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ปรากฏชื่อเสียงว่าเป็นสตรีนักปราชญ์ ฉลาดในวิชาช่างอยู่ชั่ว
กัลปาวสาน"
ทั้งนี้ นางนพมาศ ได้ทาคุณงามความดีเป็นที่โปรดปรานของพระร่วงในกาลต่อมา ที่สาคัญ ๆ มีอยู่ 3
ครั้ง ดังต่อไปนี้
ครั้งที่ 1 เข้าไปถวายตัวอยู่ในวังได้ห้าวัน ก็ถึงพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง)
นางได้คิดประดิษฐ์โคมลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) มีนกเกาะดอกไม้สีสวย ๆ ต่าง ๆ กัน เป็นที่โปรดปราน
ของพระร่วงมาก
ครั้งที่ 2 ในเดือนห้ามีพิธีคเชนทรัศวสนาน เป็นพิธีชุมนุมข้าราชการทุกหัวเมือง มีเจ้าประเทศราชขึ้น
เฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการด้วย ในพิธีนี้พระเจ้าแผ่นดินทรงรับแขกด้วยเครื่องหมากพลู นางนพมาศได้คิด
ประดิษฐ์พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้งดงาม พระร่วงทรงโปรดปรานและรับสั่งว่า ต่อไปผู้ใดจะทา
การมงคลก็ดี รับแขกก็ดี ให้ใช้พานหมากรูปดังนางนพมาศประดิษฐ์ขึ้น ซี่งเป็นต้นเหตุของพานขันหมากเวลา
แต่งงาน ซึ่งยังคงใช้จนถึงปัจจุบัน
12
ครั้งที่ 3 นางนพมาศ ได้ประดิษฐ์พนมดอกไม้ถวายพระร่วงเจ้าเพื่อใช้บูชาพระรัตนตรัย พระร่วงทรง
พอพระทัยในความคิดนั้น ตรัสว่าแต่นี้ต่อไปเวลามีพิธีเข้าพรรษาจะต้องบูชาด้วยพนมดอกไม้กอบัวนี้
นอกจากนี้ นางนพมาศ ยังได้เขียนตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ขึ้นเพื่อเป็นหลักประพฤติปฏิบัติตนในการ
เข้ารับราชการของนางสนมกานัลทั้งหลาย โดย ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นี้แต่งด้วยร้อยแก้วมีกลอนดอกสร้อย
แทรก ซึ่งมีการสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะภาษาที่ใช้แตกต่างจากภาษาที่ใช้ใน
วรรณคดีที่แต่งในยุคเดียวกันคือศิลาจารึกหลักที่ 1 และ ไตรภูมิพระร่วง โดยเนื้อเรื่องใน ตารับท้าวศรีจุฬา
ลักษณ์ กล่าวถึงประเพณีต่าง ๆ ของไทย เช่น การประดิษฐ์พานหมากสองชั้นรับแขกเมือง การประดิษฐ์โคม
ลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) เพื่อใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง) ซึ่งประเพณีนี้ได้
สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
การทาโครงงานเพื่อแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โดยวิธีการดาเนินงาน
ของการทาโครงงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การแบ่งช่วงการแสดง
การแสดงชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ใช้ผู้แสดงเป็นผู้หญิงตั้งแต่ 8-10 คน ผู้แสดงชายคู่กันตั้งแต่ 8-
10 คนเช่นเดียวกันและผู้แสดงคู่ชาย - หญิง 1 คู่แสดงเป็นท้าวศรีจุฬาลักษณ์และสมเด็จพระร่วงเจ้า การแสดง
แบ่งออกเป็น 4 ช่วงดังนี้
ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง
ใช้นักแสดงหญิง 9 คนสมมุติตนว่าเป็นท้าวศรีจุฬาลักษณ์ 1 คนเพิ่งเดินทางเข้ามาเพื่อถวายตัวรับใช้
เป็นสนมของสมเด็จพระร่วงเจ้าภายในพระราชวังหลวง พร้อมกับที่นักแสดงหญิงอีก 8 คนสมมุติตนเป็นนางใน
รับใช้อยู่ในวัง ชีวิตประจาวันในพระราชวังคือการทางานในเรือนของผู้หญิง ทั้งการเย็บปักถักร้อย การร้อยพวง
มาลา รวมถึงการเขียนกระดานฉนวน ซึ่งมาจากสมญาของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ว่า กวีหญิงคนแรกของไทย
ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทงประทีป
ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 9 คน โดยนักแสดงชาย 8 คน พร้อมถือมีดทาท่าทางตัดต้น
กล้วย ตัดท่อนกล้วย และตัดใบตองเพื่อเตรียมทากระทง จากนั้นนาส่งให้นักแสดงหญิงบนเวทีเพื่อรับไปทา
กระทงประทีปด้วยท่าทางที่อ่อนช้อยดังหญิงในวัง โดนมีท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ดูแลควบคุมการทากระทง
และสมเด็จพระร่วงเจ้าซึ่งออกมาเพื่อชมการทางานของบริวาร
ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายแด่พระร่วงเจ้า
ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 1 คน นากระทงประทีปรูปดอกกระมุทที่ท้าวศรีจุฬาลักษณ์
เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นออกมาถวายให้กับสมเด็จพระร่วงเจ้า ซึ่งสมเด็จพระร่วงทาท่าทางชื่นชอบและถูกพระ
ราชหฤทัยในกระทงนี้เป็นอย่างมาก
ตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป
ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 9 คน ตอนสุดท้ายเริ่มโดยการนากระทงประทีปออกมาเพื่อ
แห่ขบวนพร้อมกับนางนพมาศหรือก็คือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการเริ่มพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป
ในขณะนี้จะมีการลอยโคม และจุดพลุไฟเย็นซึ่งถือเป็นการกระทาตามชนบธรรมเนียมประเพณีที่ทามาตั้งแต่ใน
อดีต จากนั้นในช่วงสุดท้ายจึงมีการใช้เสลี่ยงแบกหามสมเด็จพระร่วงเจ้าออกมาเพื่อมารับกระทงประทีปจาก
ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ไปลอยกระทงลงแม่น้าต่อไป
14
2. ประชากร
ประชากรในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 จานวน
1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ
สมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
(แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563)
3. กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างผู้ประเมิน ที่ใช้ในการสารวจความพึงพอใจในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด
ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คือ คณะครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ
พระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเลือก
ตัวอย่างทาแบบสอบถามแบบสุ่มจานวน 100 คน
4. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้จัดทาสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อสารวจความพึง
พอใจของผู้ชมที่มีต่อการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่
ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของครู อาจารย์ และนักเรียนผู้ประเมิน ลักษณะ
แบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) มีจานวน 2 ข้อ
ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด
ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มี
จานวน 10 ข้อ ดังนี้
- การแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความสร้างสรรค์
- การแสดงมีความสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ
- ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง
- ผู้แสดงสามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้ดี
- การแต่งกายมีความเหมาะสมกับการแสดง
- ฉากและอุปกรณ์ต่าง ๆ มีความเหมาะสม
- ดนตรีประกอบการแสดงมีความเหมาะสม
- ความเหมาะสมของระยะเวลาในการแสดง
- การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้แสดง
- ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์

More Related Content

What's hot

หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
kand-2539
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
wangasom
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
chaipalat
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
KanlayaratKotaboot
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
พัน พัน
 

What's hot (20)

โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
หน้าปกโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถมโครงสร้างหลักสูตรประถม
โครงสร้างหลักสูตรประถม
 
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บทตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
ตัวอย่างการเขียนโครงงาน 5 บท
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วนชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้แบบเพื่อนคู่คิด เล่มที่ 4 โจทย์ปัญหาการบวกเศษส่วน
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.5
 
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิดโครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
โครงงานภาษาไทย เรื่อง คำไทยที่มักเขียนผิด
 
หัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบหัวกระดาษข้อสอบ
หัวกระดาษข้อสอบ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวกโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง สมุนไพรกำจัดปลวก
 
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียนแบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
แบบประเมินความพึงพอใจในการจัดกิจกรรมต่อต้านยาไอซ์ในโรงเรียน
 
หน่วย 1
หน่วย 1หน่วย 1
หน่วย 1
 
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
โครงงานวิชาไอเอส เรื่องความพึงพอใจในการใช้ห้องน้ำของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท...
 
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
แบบสอบถามความพึงพอใจที่มีต่อการจัดประชุมสัมมนาโครงการสภานักเรียน ประจำปี ๒๕๕๘
 
รายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอลรายงาน ฟุตซอล
รายงาน ฟุตซอล
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
โครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิโครงงานวุ้นกะทิ
โครงงานวุ้นกะทิ
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
คำศัพท์พื้นฐานชั้น ป.4
 

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล

More from ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล (9)

โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
โครงงานนาฏศิลป์ เรื่อง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
โครงงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง การวิเคราะห์ประเภทและบริการของที่พ...
 
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
รายงานภาษาอังกฤษเพื่อการท่องเที่ยว เรื่อง วัดป่าประดู่
 
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุดโครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
โครงงานอาชีพ เรื่อง ธูปหอมเปลือกมังคุด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวางโครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
โครงงานศิลปะ การเชิดหนังใหญ่วัดบ้านดอน เรื่อง รามเกียรติ์ ตอน พระรามตามกวาง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTMLโครงงานคอมพิวเตอร์  เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง เว็บไซต์ NIFTY HEALTH ด้วยภาษา HTML
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 

Recently uploaded

Recently uploaded (20)

General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual  Proper...
General Principles of Intellectual Property: Concepts of Intellectual Proper...
 
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
Sensory_Experience_and_Emotional_Resonance_in_Gabriel_Okaras_The_Piano_and_Th...
 
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptxInterdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
Interdisciplinary_Insights_Data_Collection_Methods.pptx
 
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & SystemsOSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
OSCM Unit 2_Operations Processes & Systems
 
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptxBasic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
Basic Civil Engineering first year Notes- Chapter 4 Building.pptx
 
Towards a code of practice for AI in AT.pptx
Towards a code of practice for AI in AT.pptxTowards a code of practice for AI in AT.pptx
Towards a code of practice for AI in AT.pptx
 
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docxPython Notes for mca i year students osmania university.docx
Python Notes for mca i year students osmania university.docx
 
Accessible Digital Futures project (20/03/2024)
Accessible Digital Futures project (20/03/2024)Accessible Digital Futures project (20/03/2024)
Accessible Digital Futures project (20/03/2024)
 
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
80 ĐỀ THI THỬ TUYỂN SINH TIẾNG ANH VÀO 10 SỞ GD – ĐT THÀNH PHỐ HỒ CHÍ MINH NĂ...
 
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
Mehran University Newsletter Vol-X, Issue-I, 2024
 
Single or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structureSingle or Multiple melodic lines structure
Single or Multiple melodic lines structure
 
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
NO1 Top Black Magic Specialist In Lahore Black magic In Pakistan Kala Ilam Ex...
 
Kodo Millet PPT made by Ghanshyam bairwa college of Agriculture kumher bhara...
Kodo Millet  PPT made by Ghanshyam bairwa college of Agriculture kumher bhara...Kodo Millet  PPT made by Ghanshyam bairwa college of Agriculture kumher bhara...
Kodo Millet PPT made by Ghanshyam bairwa college of Agriculture kumher bhara...
 
COMMUNICATING NEGATIVE NEWS - APPROACHES .pptx
COMMUNICATING NEGATIVE NEWS - APPROACHES .pptxCOMMUNICATING NEGATIVE NEWS - APPROACHES .pptx
COMMUNICATING NEGATIVE NEWS - APPROACHES .pptx
 
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdfUnit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
Unit 3 Emotional Intelligence and Spiritual Intelligence.pdf
 
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdfUGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
UGC NET Paper 1 Mathematical Reasoning & Aptitude.pdf
 
HMCS Max Bernays Pre-Deployment Brief (May 2024).pptx
HMCS Max Bernays Pre-Deployment Brief (May 2024).pptxHMCS Max Bernays Pre-Deployment Brief (May 2024).pptx
HMCS Max Bernays Pre-Deployment Brief (May 2024).pptx
 
Philosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactisticsPhilosophy of china and it's charactistics
Philosophy of china and it's charactistics
 
Graduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - EnglishGraduate Outcomes Presentation Slides - English
Graduate Outcomes Presentation Slides - English
 
Basic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health EducationBasic Intentional Injuries Health Education
Basic Intentional Injuries Health Education
 

แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตำนานท้าวศรีจุฬาลักษณ์

  • 1. แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ จัดทาโดย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ปรึกษาโครงงาน นายสมศักดิ์ ทองปาน ครูเชี่ยวชาญ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 2. แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ จัดทาโดย นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ปรึกษาโครงงาน นายสมศักดิ์ ทองปาน ครูเชี่ยวชาญ โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชานาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18 (ชลบุรี-ระยอง) สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
  • 3. ค เกี่ยวกับโครงงาน หัวข้อเรื่อง : แบบประเมินผลการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ : ศิลปะ รายวิชา นาฏศิลป์ รหัสวิชา ศ33101 ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ระดับชั้น : ชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ที่ปรึกษาโครงงาน : นายสมศักดิ์ ทองปาน สถานศึกษา : โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี การติดต่อ : โทร. 038 029050 โทรสาร 038 029051 มือถือ 081 7813788 ปีการศึกษา : ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563
  • 4. ง กิตติกรรมประกาศ โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้สาเร็จลุล่วงไปได้ ด้วยดี เนื่องจากคณะผู้จัดทาได้รับความช่วยเหลือเป็นอย่างดียิ่งจากครูสมศักดิ์ ทองปาน ที่ปรึกษาโครงงานที่ได้ สละเวลาให้คาแนะนา ข้อคิดเห็น และได้ถ่ายทอดวิชาความรู้เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ใน ขั้นตอนต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซึ้งและเป็นพระคุณอย่างยิ่ง จึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทาขอขอบพระคุณครูธัญญลักษณ์ เลิศมีศิลศรัทธา และครูพิชญา พลศิริที่ได้กรุณาให้ คาปรึกษา และคาแนะนาแก่คณะผู้จัดทา ซึ่งทาให้การทาโครงงานฉบับนี้สมบูรณ์มากยิ่งขึ้น ขอขอบพระคุณคณาจารย์ทุกท่านที่ได้ถ่ายทอดความรู้ในวิชาต่าง ๆ ซึ่งคณะผู้จัดทาได้นามาใช้ ประโยชน์ในโครงงานฉบับนี้ ขอขอบคุณพี่ ๆ เพื่อน ๆ น้อง ๆ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 สาหรับกาลังใจ และความช่วยเหลือที่มีให้มาตลอด สุดท้ายขอขอบพระคุณ บิดา มารดา และครอบครัวชองนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ที่ได้ ช่วยเหลือให้การส่งเสริม สนับสนุน และเป็นกาลังใจที่สาคัญยิ่ง ตลอดจนทาให้การทาโครงงานในครั้งนี้ประสบ ผลสาเร็จไปได้อย่างลุล่วง ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล พฤศจิกายน 2563
  • 5. จ ผู้จัดทา : นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ชื่อเรื่อง : โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ที่การศึกษา : นายสมศักดิ์ ทองปาน บทคัดย่อ โครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ฉบับนี้คณะผู้จัดทาเลือก ทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟของชาวสุโขทัยและประวัติความเป็นมาของ ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดนี้ ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการศึกษาคือ 1) เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ เกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2) เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์ วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความเป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และ 3) เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการแสดงที่มีความยาวเนื้อเพลง 7 นาที 27 วินาที มีจุดประสงค์การแสดงเพื่อถ่ายทอดเนื้อหาเกี่ยวกับเอกลักษณ์และความสวยงามของ ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ และประวัติของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ โดยมีการแบ่งการแสดงเป็น 4 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทง ประทีป ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายพระร่วงเจ้า และตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระ ประทีป ซึ่งนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4 ได้ทาการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ในวันศุกร์ที่ 6 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 เวลา 10.00 น. ถึง 12.30 น. ณ หอประชุมสุนทรเมธี โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรี นครินทร์ ระยอง และทาการประเมินผลความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์แบบสุ่ม จานวน 100 คนโดยลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) จานวน 10 ข้อ มี ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ที่ 4.76 ซึ่งจัดอยู่ในเกณฑ์พึงพอใจมากที่สุด โดยด้านที่ได้รับความพึงพอใจมากที่สุดคือ ด้าน ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ รองลงมาคือ ด้านการแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความ สร้างสรรค์, ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง และด้านการแต่งกายมีความ เหมาะสมกับการแสดง
  • 6. ฉ สารบัญ หน้า เกี่ยวกับโครงงาน ก กิตติกรรมประกาศ ข บทคัดย่อ ค สารบัญ ง สารบัญรูปภาพ ฉ สารบัญตาราง ช สารบัญแผนภูมิ ซ บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ 1 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 2 ขอบเขตของการศึกษา 2 นิยามศัพท์เฉพาะ 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ความหมายของความพึงพอใจ 4 ลักษณะความพึงพอใจ 5 การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ 6 รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ 7 นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 7 ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย 8 ความสาคัญวันลอยกระทง 1 งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น 10 ประวัตินางนพมาศ 11 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน การแบ่งช่วงการแสดง 15 ประชากร 14 กลุ่มตัวอย่าง 14
  • 7. ช สารบัญ (ต่อ) หน้า บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน 14 การเก็บรวบรวมข้อมูล 15 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล 15 บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน สัญลักษณ์และอักษรย่อที่ใช้สื่อความหมาย 18 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล 18 บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูล 23 อภิปรายผลการดาเนินงาน 24 บรรณานุกรม 25 ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน 27 ภาคผนวก ข แบบประเมินผลความพึงพอใจ 29 ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ 31 ภาคผนวก จ แบบสอบถามที่ได้รับกลับมา 41
  • 8. ซ สารบัญรูปภาพ หน้า ภาคผนวก ก รูปภาพประกอบการดาเนินงาน ภาพที่ 1-2 ประชากรและกลุ่มตัวอย่างในการดาเนินงาน 28 ภาพที่ 3-4 การประเมินผลความพึงพอใจของผู้ชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 28 ภาพที่ 5-6 แจกแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจของผู้ชมการแสดง 28
  • 9. ฌ สารบัญตาราง หน้า บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน ตารางที่ 4.1 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับเพศผู้ตอบแบบสอบถาม 19 ตารางที่ 4.2 แสดงจานวนและร้อยละเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 19 ตารางที่ 4.3 แสดงจานวนผู้ตอบแบบประเมินในระดับความใจ 5 ระดับ 19 ตารางที่ 4.4 แสดงค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการแปลผลข้อมูล 21 ความพึงพอใจในการแสดง บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ ตารางที่ 5.1 สรุปผลการประเมินความพึงพอใจ 24 ภาคผนวก ค วิเคราะห์ผลความพึงพอใจ ตารางที่ 1 ข้อมูลผลสารวจระดับความพึงพอใจในการแสดงนาฏศิลป์รายบุคคล 32 กับความพึงพอใจรายบุคคล ตารางที่ 2 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเกี่ยว 36 กับความพึงพอใจรายบุคคล ตารางที่ 3 ผลวิเคราะห์คะแนนรวม ร้อยละคะแนน ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน 40 มาตรฐาน และการแปลผลข้อมูลความพึงพอใจของผู้ประเมิน
  • 10. ญ สารบัญแผนภูมิ หน้า บทที่ 5 สรุปผลและข้อเสนอแนะ แผนภูมิที่ 5.1 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับเพศของผู้ตอบแบบสอบถาม 23 แผนภูมิที่ 5.2 สรุปผลข้อมูลเกี่ยวกับอาชีพของผู้ตอบแบบสอบถาม 23
  • 11. บทที่ 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคัญ นาฏศิลป์ไทย จัดเป็นมรดกทางวัฒนธรรมของชาติอย่างหนึ่ง ซึ่งพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช 2542 ได้ให้ความหมายของคาว่า “นาฏศิลป์” ไว้ว่า “เป็นศิลปะแห่งการละครหรือการฟ้อนรา” ศิลปะประเภทนี้ต้องอาศัยการบรรเลงดนตรี และการขับร้องเข้าร่วมด้วย เพื่อส่งเสริมให้เกิดคุณค่ายิ่งขึ้น หรือ เรียกว่า ศิลปะของการร้องราทาเพลง นายจันทนา รังรักษ์ กล่าวไว้ว่า การสร้างสรรค์หรือออกแบบนาฏศิลป์ ไทยเป็นสิ่งที่มนุษย์หรือศิลปินคน ๆ นั้นได้คิดค้นเพื่อให้เกิดความสวยงามมีเอกลักษณ์ มีการสอดแทรกแนวคิด ลักษณะความเป็นอยู่หรือความเชื่อของมนุษย์ที่ต้องออกแบบให้อยู่บนพื้นฐานของธรรมชาติอย่างมีศิลปะ วิถีชีวิตของชาวไทยที่ผูกพันกับแม่น้ามาอย่างช้านาน เมื่อถึงฤดูน้าหลากในเดือน 12 คืนที่จันทร์เต็ม ดวง น้าจะเต็มตลิ่งสองฝั่งแม่น้า สะท้อนแสงนวลของดวงจันทร์ที่ส่องประกายลงบนผิวน้า สร้างบรรยากาศที่ สวยงาม สดชื่น และเยือกเย็น ชาวสุโขทัยจึงเริ่มประเพณีการเผาเทียน ลอยประทีปลงไปในน้าเพื่อเป็นการขอ ขมาพระแม่คงคาที่ให้มนุษย์ได้ใช้น้าเพื่ออุปโภค บริโภค ชาวบ้านยังเชื่อว่าการสะเดาะเคราะห์ด้วยการลอย ความทุกข์โศกโรคภัยไปกับแม่น้า ถือเป็นการบูชาพระผู้เป็นเจ้าในศาสนาพราหมณ์และสักการะรอยพระพุทธ บาท นอกจากความเชื่อเหล่านี้แล้ว ยังมีตานานประวัติศาสตร์ของนางนพมาศ สนมเอกของสมเด็จพระร่วงเจ้า ผู้มีรูปลักษณ์และคุณสมบัติที่งดงามเยี่ยงสตรีในอุดมคติ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้ตาแหน่ง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ และได้สมญาว่า กวีหญิงคนแรกของไทย นางนพมาศได้คิดประดิษฐ์กระทงทาจากใบตอง เป็นรูปดอกดอกบัว พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้ และโคมลอยรูปดอกกระมุท ได้ถูกพระราชหทัย พระร่วงเจ้าเป็นอย่างมาก จึงมีการนากระทงใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีปพร้อมกับจุดตะคัน บูชาพระรัตนตรัย วางบนฐานระเบียงโบสถ์ เกิดเป็นแสงส่องสว่างระยิบระยับ และมีเล่นพลุอย่างสวยงาม ตระการตา ด้วยความเชื่อมุ่งมั่นของชาวไทยนี้ ชาวสุโขทัยจึงจัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟสืบ ทอดมาจนถึงปัจจุบัน จนกลายเป็นประเพณีระดับประเทศ สร้างชื่อเสียงให้ประเทศไทยเป็นที่รู้จักไปทั่วโลก ความเป็นอยู่ของชาวไทยนาไปสู่ความเชื่อซึ่งก่อให้เกิดประเพณีอันเป็นเอกลักษณ์ของชาวสุโขทัย ที่ เล่าขานถึงความเชื่อและวัฒนธรรมของผู้คนในอดีต ผลงานฝีมืออันวิจิตรสะท้อนถึงความประณีตของช่างศิลป์ ในสมัยนั้น ทั้งการเล่นพลุตะไล ไฟพะเนียง การสร้างสรรค์กระทง และจุดตะคันส่องสว่าง บ่งบอกถึงความ ละเอียดอ่อนของความเป็นไทยได้อย่างน่าอัศจรรย์ใจ ด้วยเอกลักษณ์และความสวยงามของประเพณีนี้ ทาง คณะผู้จัดทาจึงเลือกทาการศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟและประวัติของท้าวศรี จุฬาลักษณ์มาเป็นเนื้อเรื่องในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เพื่อเป็นการ เรียนรู้ศิลปวัฒนธรรมไทยและทาการเผยแพร่มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับศิลปะแห่งการละครและ การฟ้อนรา
  • 12. 12 วัตถุประสงค์ของการศึกษา 1. เพื่อเป็นการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดง นาฏศิลป์ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2. เพื่อปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ 3. เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง ขอบเขตของการศึกษา 1. ขอบเขตด้านประชากร ในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้น ปีที่ 1-6 จานวน 1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียน เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี (แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563) 2. ขอบเขตด้านกลุ่มตัวอย่าง หรือผู้ชมเพื่อประเมินผลความพึงพอใจในการแสดงคือ นักเรียนชั้น มัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 และคณะครูอาจารย์ โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระ ราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ขอบเขตด้านระยะเวลา ของโครงงานฉบับนี้ ดาเนินการในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 ตั้งแต่ วันที่ 7 สิงหาคม พ.ศ. 2563 ถึงวันที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ.2563 นิยามศัพท์เฉพาะ 1. การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงศิลปะแห่งการละครที่มีการประดิษฐ์ ดัดแปลง หรือ ปรับปรุงท่าราขึ้นใหม่ให้มีความสวยงามและถูกต้องตามหลักนาฏศิลป์ไทย มีการใช้ท่าราที่ง่าย ไม่ซับซ้อน จังหวะและเนื้อเพลงไม่ยาว และท่าราที่ไม่ซ้าท่ากันมาก 2. โรงเรียน หมายถึง โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 3. ครู หมายถึง คณะผู้บริหาร ครู อาจารย์ และบุคลากรทางศึกษา โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 4. นักเรียน หมายถึง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง 5. ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกชอบหรือไม่ชอบต่อการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6/4
  • 13. 13 6. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ หมายถึง ประเพณีที่จัดขึ้นเพื่อเป็นการสะเดาะเคราะห์ และขอขมาต่อพระแม่คงคา มีการลอยกระพระประทีปหรือกระทอง มักนิยมทาโคมลอย และจุดพลุไฟเล่นกัน ในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ตามปฏิทินจันทรคติไทย 7. ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หมายถึง เรวดีนพมาศ หรือนางนพมาศ ผู้ได้ประดิษฐ์โคมรูปดอกบัว พาน หมากสองชั้นรับแขกเมือง และพานดอกไม้บูชาพระรัตนตรัย ใช้ในพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธี จองเปรียงลอยพระประทีป พระราชพิธีคเชนทรัศวสนาน พระราชพิธีจรดพระนังคัล เป็นต้น 8. ฉาก หมายถึง อุปกรณ์เสริมในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ และฉากกั้นประกอบเวทีละคร เพื่อให้ดูสมจริงตามเนื้อเรื่องและการแสดง 9. นักแสดง หมายถึง บุคคลที่ราฟ้อนในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 10. สตาฟ หมายถึง Staff คณะผู้ทางานเบื้องหลังการแสดงราฟ้อน ทั้งฝ่ายผู้เตรียมฉากและอุปกรณ์ ฝ่ายช่างศิลป์ ฝ่ายโสตทัศนูปกรณ์ และฝ่ายจัดทาผลการปฏิบัติงาน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้มีการส่งเสริมและสืบสานการอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมของชาติเกี่ยวกับการแสดงนาฏศิลป์ ไทย ศิลปะแห่งการละครและการฟ้อนรา 2. ได้ปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย และสร้างพื้นฐานความเข้าใจเกี่ยวกับประวัติความ เป็นมาของประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ 3. ได้ศึกษาประวัติศาสตร์เกี่ยวกับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นางนพมาศในประเพณีลอยกระทง
  • 14. บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การจัดทาโครงงานการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คณะผู้จัดทาได้ ทาการศึกษาค้นคว้าแนวคิด เอกสารต่าง ๆ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดทาโครงงาน และการแสดง ดังนี้ แนวคิดและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. ความหมายของความพึงพอใจ ความพึงพอใจเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่มีผลต่อความสาเร็จของงานที่บรรลุเป้าหมายที่มี ประสิทธิภาพ อันเป็นผลจากการได้รับการตอบสนองต่อแรงจูงใจหรือความต้องการของแต่ละบุคคลในแนวทาง ที่เขาประสงค์ มีผู้ให้ความหมายคาว่า “ความพึงพอใจ” ไว้ดังนี้ สุภาลักษณ์ ชัยอนันต์ (2540 : 17) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจไว้ว่า ความพึงพอใจเป็น ความรู้สึกส่วนตัวที่รู้สึกเป็นสุขหรือยินดีที่ได้รับความตอบสนองความต้องการในสิ่ง ที่ขาดหายไป หรือสิ่งที่ทา ให้เกิดความไม่สมดุล ความพึงพอใจเป็นสิ่งที่กาหนดพฤติกรรมที่จะแสดงออกของบุคคล ซึ่งมีผลต่อการเลือกที่ จะปฏิบัติในกิจกรรมใด ๆ นั้น ศิริวรรณ เสรีรัตน์ (2541 : 17) กล่าวถึง ความหมายของความพึงพอใจในการบริการสามารถจาแนก เป็น 2 ความหมาย ในความหมายที่เกี่ยวข้องกับความพึงพอใจของผู้บริโภคหรือผู้รับบริการ (Customer satisfaction) และความพึงพอใจในงาน (Job satisfaction) ของผู้ให้บริการ ดังนี้ 1. ความหมายของความพึงพอใจของผู้บริการ ตามแนวคิดของนักการตลาดจะพบนิยามของความพึง พอใจของผู้รับบริการเป็น 2 นัย คือ 1.1 ความหมายที่ยึดสถานการณ์การซื้อเป็นหลัก ให้ความหมายว่า ความพึงพอใจเป็นผลที่เกิดขึ้น เนื่องจากการประเมินสิ่งที่ได้รับภายหลังสถานการณ์การซื้อสถานการณ์หนึ่ง มักพบในงานวิจัยการตลาดที่เน้น แนวคิดทางพฤติกรรมศาสตร์ 1.2 ความหมายที่ยึดประสบการณ์เกี่ยวกับเครื่องหมายการค้าเป็นหลัก ให้ความหมายว่า ความพึง พอใจเป็นผลที่เกิดขึ้นเนื่องจากการประเมินภาพรวมทั้งหมดของประสบการณ์หลาย ๆ อย่างที่เกี่ยวข้องกับ ผลิตภัณฑ์หรือบริการในระยะเวลาหนึ่ง หรืออีกนัยหนึ่งคือ ความพึงพอใจ หมายถึง การประเมินความสามารถ ของการนาเสนอผลิตภัณฑ์หรือบริการที่ตรงกับความต้องการของลูกค้าอย่างต่อเนื่อง 2. ความหมายของความพึงพอใจในงานของผู้บริการ ตามแนวคิดของนักจิตวิทยาองค์กรความพึง พอใจในการทางานจะมีผลต่อความสาเร็จของงานเป็นเป้าหมายสูงสุดของความสาเร็จในการดาเนินงานบริการ ขึ้นอยู่กับกลยุทธ์ การสร้างความพึงพอใจให้กับลูกค้าเพื่อให้ลูกค้าเกิดความรู้สึกที่ดีและประทับใจ ในการ บริการที่ได้รับจนติดใจและกลับมาใช้บริการเป็นประจา การศึกษาความพึงพอใจของลูกค้าตลอดจน
  • 15. 5 ผู้ปฏิบัติงานถือเป็นเรื่องสาคัญ เพราะความรู้ความเข้าใจในเรื่องนี้จะนามาซึ่งความได้เปรียบในเชิงการแข่งขัน ทางการตลาด เพื่อความก้าวหน้าและการเติบโตของธุรกิจบริการอย่างไม่หยุดยั้ง และส่งผลให้สังคมส่วนรวมมี คุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จึงกล่าวได้ว่า ความพึงพอใจมีความสาคัญต่อผู้ให้บริการและผู้รับบริการ มณี โพธิเสน (2543 : 43) ให้ความหมายไว้ว่า ความพึงพอใจเป็นความรู้สึกยินดีหรือเจตคติที่ดีของ บุคคลเมื่อได้รับการตอบสนองความต้องการของตน ทาให้เกิดความรู้สึกที่ดีในสิ่งนั้น ๆ อุทัยพรรณ สุดใจ (2544 : 7) ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกหรือทัศนคติของบุคคลที่มีต่อ สิ่งใด สิ่งหนึ่งโดยอาจจะเป็นไปในเชิงประเมินค่าว่า ความรู้สึกหรือทัศนคติต่อสิ่งหนึ่งสิ่งใดนั้นเป็นไปในทางบวกหรือ ทางลบ พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2542 (2546 : 775) ได้ให้ความหมายของความพึงพอใจ หมายถึง ความพึงพอใจ ความชอบใจ ซึ่งตรงกับภาษาอังกฤษว่า Satisfaction จากที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น ผู้วัยจึงสรุปได้ว่า ความพึงพอใจ หมายถึง ความรู้สึกที่เป็นการยอมรับ ความรู้สึกชอบ ความรู้สึกที่ยินดีกับการปฏิบัติงาน ทั้งการให้บริการและการรับบริการในทุกสถานการณ์ ทุก สถานที่ 2. ลักษณะความพึงพอใจ ลักษณะความพึงพอใจผู้วิจัยได้ศึกษาจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและได้นามาเสนอลักษณะของ ความพึงพอใจของนักวิชาการต่าง ๆ ดังนี้ สุรศักดิ์ นาถวิล (2544 : 10) ได้กล่าวว่า ลักษณะความพึงพอใจไว้ ดังนี้ 2.1 ความพึงพอใจเป็นการแสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกทางบวก ของบุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด บุคคลจะรับรู้ความพึงพอใจ จาเป็นต้องมีการปฏิสัมพันธ์กับสภาพแวดล้อมรอบตัวการตอบสนองความต้องการ ของมนุษย์ ส่วนบุคคลด้วยการโต้ตอบกับบุคคลอื่นและสิ่งต่าง ๆ ในชีวิตประจาวันทาให้แต่ละคนมี ประสบการณ์รับรู้ เรียนรู้ สิ่งที่ได้รับการตอบสนองแตกต่างกันไป และหากสิ่งที่ได้รับเป็นไปตามความต้องการก็ จะก่อให้เกิดความพึงพอใจ 2.2 ความพึงพอใจเกิดจากการประเมินความแตกต่าง ระหว่างสิ่งที่คาดหวังกับสิ่งที่ได้รับจริงใน สถานการณ์ บริการก่อนที่ลูกค้าจะมาใช้บริการใดก็ตาม มักจะมีมาตรฐานของการบริการนั้นไว้ในใจอยู่ก่อน เสมอแล้ว ซึ่งมีแหล่งอ้างอิงมาจากคุณค่าหรือเจตคติที่ยึดถือต่อบริการประสบการณ์ดั้งเดิมที่เคยใช้บริการ การ บอกเล่าของผู้อื่น การรับทราบข้อมูล การรับประกันบริการจากโฆษณา การให้คามั่นสัญญาของผู้ให้บริการ เหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐาน ที่ผู้ใช้บริการเหล่านี้เป็นปัจจัยพื้นฐานที่ผู้รับบริการ ใช้เปรียบเทียบกับบริการที่ได้รับ ในวงจร ของการให้บริการตลอดช่วงเวลาของความจริง สิ่งที่ผู้บริการได้รับความรู้เกี่ยวกับการบริการที่ได้รับ การบริการ คือ ความคาดหวังในสิ่งที่คิดว่าได้รับ (Expectations) นี้มีอิทธิพลต่อช่วงเวลาของการเผชิญความ จริงหรือการพบปะระหว่างผู้ให้บริการและผู้รับบริการเป็นอย่างมาก เพราะผู้รับบริการจะประเมินเปรียบเทียบ สิ่งที่ได้รับจริงในกระบวนการบริการที่เกิดขึ้น (Performance) กับความหวังเอาไว้หากสิ่งที่ได้รับเป็นไปตาม
  • 16. 6 ความคาดหวังถือว่าเป็นการยืนยันที่ถูกต้อง (Confirmation) กับความคาดหวังที่มีผู้รับริการย่อมเกิดความพึง พอใจต่อการบริการดังกล่าว แต่ถ้าไม่เป็นไปตามคาดหวังอาจจะสูงหรือต่ากว่านับว่าเป็นการยืนยันที่ คลาดเคลื่อน (Disconfirmation) ความคาดหวังดังกล่าวทั้งนี้ช่วงความแตกต่าง (Discrimination) ที่เกิดขึ้นจะ ชี้ให้เห็นระดับความพึงพอใจหรือไม่พึงพอใจมากน้อยได้ ถ้ายืนยันเบี่ยงเบนไปในทางบวกแสดงถึงความพึง พอใจ ถ้าไปในทางลบแสดงถึงความไม่พอใจ จากความหมายที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น ผู้วิจัยสรุปได้ว่า ลักษณะของความพึงพอใจเป็นการ แสดงออกทางอารมณ์และความรู้สึกทางบวกของบุคคลหรือสิ่งหนึ่งสิ่งใด บุคคลจะรับรู้ความพึงพอใจที่รู้สึกได้ ในขั้นสุดท้ายที่ได้รับผลสาเร็จตามวัตถุประสงค์ 3. การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ เยาวลักษณ์ ใจวิสุทธิ์หรรษา (2561: 159) กล่าวว่า นาฏศิลป์ไทยบ่งบอกความเป็นเอกลักษณ์ของแต่ ละชาติแต่ละท้องถิ่นได้อย่างชัดเจนอีกทางหนึ่งนาฏศิลป์ไทยมีรูปแบบการแสดงที่ชัดเจนนอกจากจะแสดงเพื่อ ความบันเทิงแล้วในการแสดงนาฏศิลป์ไทยแต่ละประเภทสามารถสื่อความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะและมองเห็น ถึงคุณค่าความงาม ภูมิปัญญาของผู้สร้างสรรค์เห็นความงามของลีลาท่าร าของนักแสดง ความไพเราะของ เพลงที่ใช้ประกอบการแสดง ความงามของเครื่องแต่งกายแต่ละประเภท การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จัดเป็นหนึ่งในการพัฒนาความสามารถของมนุษย์ในด้าน สุนทรียศาสตร์ความคิดริเริ่มในสิ่งแปลกใหม่จากประสบการณ์ การสั่งสมความรู้ การแก้ไขสถานการณ์การ ประยุกต์ การสะท้อนสังคม การประยุกต์ปรับเปลี่ยนให้ทันกับสังคม วัฒนธรรมในโลกปัจจุบันกระบวนการ สร้างสรรค์นาฏศิลป์เป็นองค์ประกอบสาคัญที่ช่วยพัฒนาความงอกงามทางวัฒนธรรมอันหลากหลายให้เกิด ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์จึงเป็นกลไกสาคัญในการผลิตผลงานด้าน ศิลปวัฒนธรรมของชาติ ทั้งนี้ผู้สร้างสรรค์จึงมีความจาเป็นในการเข้าใจกระบวนการออกแบบผลงาน ซึ่งเป็น หนึ่งในการประมวลองค์ความรู้ด้านนาฏศิลป์สาหรับผู้เรียนในบทนี้ผู้เขียนจะกล่าวถึง ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ได้แก่ความหมายของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ ประเภทและลักษณะของ นาฏศิลป์ รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ และคุณลักษณะผู้สร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ (ปิ่นเกศ วัชร ปาณ, 2559: 1)
  • 17. 7 4. รูปแบบการนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ การสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์นั้น สามารถสร้างสรรค์นาฏศิลป์ในลักษณะของการราหรือเต้นเป็นชุด สั้น ๆ อย่างระบาเบ็ดเตล็ดหรือเรียกว่า นาฏศิลป์สร้างสรรค์ ที่ต้องอาศัยความรู้ ประสบการณ์เดิม และนามา สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ภายใต้ความคิดอย่างมีระบบในการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ จึงเป็นการคิดชุดการแสดง ขึ้นมาใหม่ให้แตกต่างจากชุดที่มีอยู่เดิม ไม่ว่าจะเป็นการสร้างสรรค์จากรูปแบบใดเป็นพื้นฐาน เช่น การนาเอา 12 เพลงไทยสากลมาประกอบกับจินตลีลาที่มีลักษณะมีพื้นฐานท่าราไทยแต่รูปแบบการใช้เท้า การใช้จังหวะ ในการเคลื่อนไหวเป็นแบบการประยุกต์ท่าบัลเล่ต์ รูปแบบนาเสนอผลงานนาฏศิลป์ดังกล่าวนี้ เป็นการสร้างสรรค์ที่เกิดขึ้นในช่วง 50 ปี และแพรหลายใน ราวปีพ.ศ. 2533 จนถึงปัจจุบัน ที่สถาบันการศึกษาหลายแห่งเริ่มมีภาควิชานาฏยศิลป์มีการวัดผลสัมฤทธิ์ ทางการด้านนาฏศิลป์ด้วยการประดิษฐ์นาฏศิลป์สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ นอกจากนี้ยังพบว่า มีการประกวดนาฏศิลป์สร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์ไทย (แบบดั้งเดิม)จากงาน ศิลปหัตถกรรมนักเรียนของสานักคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่กาหนดการแข่งขันประเภทนี้ยิ่งส่งผลให้ การประดิษฐ์นาฏศิลป์ใหม่ ๆ เพิ่มจานวนขึ้นอยางรวดเร็ว นับเป็นปรากฎการณ์ทางวัฒนธรรมของชาติที่เกิดขึ้น จากภูมิปัญญานักนาฏยประดิษฐ์ทุกระดับการศึกษา เน้นย้าให้เห็นว่านาฏศิลป์ไทยยังคงสืบทอด มีการปรับตัว ให้สอดคล้องกับสังคมทุกยุคทุกสมัย จึงแบ่งรูปแบบของการสร้างสรรค์ผลงานนาฏศิลป์ที่มักพบในการทาผลงานในวงการการศึกษาและ นามาเป็นรูปแบบการสร้างสรรค์งานเพื่อใช้ในการวัดผลความรู้ด้านนาฏศิลป์ของนักศึกษาสาขาวิชานาฏศิลป์ใน หลายสถาบันเพื่อการเป็นประโยชน์ในการทาผลงานไว้ดังนี้ 1. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ 2. นาฏศิลป์ร่วมสมัย หรือนาฏศิลป์ประยุกต์ 5. นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ตั้งแต่ปีการศึกษา 2553 ของงานศิลปหัตกรรมนักเรียนกิจกรรมนาฏศิลป์ไทย ประยุกต์ได้ถูกยกออกจากกิจกรรมการแข่งขันนาฏศิลป์ไทย โดยได้บรรจุกิจกรรมนาฏศิลป์สร้างสรรค์เข้ามา แทนที่จนกระทั่งถึงปัจจุบัน (ปีการศึกษา 2554) (อรรจมาภรณ์ ชัยวิสุทธิ์, 2556: 2) ซึ่งในการให้คาจากัดความ ของการแข่งขันประเภทนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ในการประกวดนี้พบว่า มีการให้คาจากัดความแตกต่างกัน ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2552 – 2558 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ คือการแสดงที่ นอกเหนือจากนาฏศิลป์ไทยอนุรักษ์ เป็นการแสดงนาฏศิลป์ไทยที่คิดประดิษฐ์ สร้างขึ้นใหม่ทั้งเพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล๎องตามกรอบแนวคิดที่กาหนด และไม่เกี่ยวข้องกับการแสดง นาฏศิลป์พื้นเมือง และนาฏศิลป์สากล (ศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 64, 2558: 8) ในปี พ.ศ. 2559 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึงการแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่าราสอดคล้องตามกรอบแนวคิดที่
  • 18. 8 กาหนดขึ้น ทั้งนี้จะแสดงออกมาในรูปแบบของระบาเบ็ดเตล็ด หรือการแสดงพื้นเมืองก็ได้ (ศิลปหัตถกรรม นักเรียน ครั้งที่ 65, 2559: 8) ในปี พ.ศ. 2560 กาหนดเกณฑ์การแข่งขันไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ หมายถึง การแสดงนาฏศิลป์ ไทยที่สร้างสรรค์ขึ้นใหม่ทั้งท่ารา เพลง ดนตรี เนื้อหา การแต่งกาย และลีลาท่ารา สอดคล้องตามกรอบแนวคิด ที่กาหนดขึ้น โดยผ่านทักษะกระบวนการกลุ่มอย่างเป็นระบบแล้ว นาเสนอในรูปแบบของโครงงานและการ แสดง 1 ชุด ซึ่งจะออกมาในรูปแบบของประเภทระบาเบ็ดเตล็ดหรือการแสดงพื้นเมืองในเชิงสร้างสรรค์ นาฎศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทนาฏศิลป์พื้นเมือง เป็นการแสดงที่เกิดขึ้นจากการนาเอานาฏศิลป์ พื้นบ้านทั้ง 4 ภาคของไทย และรวมถึงศิลปะการแสดงพื้นบ้านตามท้องถิ่นต่าง ๆ ที่มีเอกลักษณ์เป็นของตัวเอง อย่างเห็นได้ชัด นามาสร้างสรรค์ให้เห็นถึงวิถีชีวิตท้องถิ่น หรือเรียกการสร้างสรรค์นี้ได้อีกอยางหนึ่งว่า นาฏศิลป์พื้นเมืองสร้างสรรค์ ซึ่งมีทั้งจากการประดิษฐ์โดยกรมศิลปากร นานาฏศิลป์พื้นบ้าน 4 ภาคที่กรม ศิลปากรได้ศึกษาท่าราและนาท่ารามาปรับปรุงเผยแพรโดยทั่วไป จัดว่าเป็นนาฏศิลป์มาตรฐาน (แบบแผนตาม แบบฉบับกรมศิลปากร) ส่วนท่าราแม่บทอีสาน โนราห์ภาคใต้ หรือ ฟ้อนเล็บตามคุ้มเจ้า เหล่านี้ขอยกเป็น นาฏศิลป์พื้นเมืองดั้งเดิมจากนี้เมื่อมีผู้ผลิตนาฏศิลป์พื้นบ้านโดยใช้ท่าดั้งเดิมอยู่มากบ้าง น้อยบ้าง และนาเนื้อ เรื่อง บทร้อง เนื้อหาใหม่มาสร้างสรรค์ท่าราโดยใช้วงดนตรีและเพลงพื้นเมืองตามท๎องถิ่นนั้น ๆ ให้จัดว่าเป็น นาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมืองสร้างสรรค ปิ่นเกศ วัชรปาณ (2559: 14) ได้อธิบายไว้ว่า นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ จึงมีลักษณะในเกณฑ์การ ประกวดฯ ว่า มีรูปแบบที่สร้างสรรค์ท่ารา เพลง ดนตรี เครื่องแต่งกาย ในลีลาท่าราไทย ทั้งแบบ นาฏศิลป์ไทย มาตรฐานหรือ แบบนาฏศิลป์ไทยประเภทพื้นเมือง ในลักษณะการแสดงชุดสั้น ๆ หรือเรียกว่า ระบาเบ็ดเตล็ดที่ มีเนื้อหาใหม่ ภายใต้กรอบแนวคิดใหม่โดยมีผ่านกระบวนการกลุ่ม ที่มีเนื้อหาเชิงสร้างสรรค์ 6. ประเพณีลอยกระทง เผาเทียนเล่นไฟ สุโขทัย ประเพณีลอยกระทงนั้นไม่มีหลักฐานระบุแน่ชัดว่าเริ่มตั้งแต่เมื่อใด แต่เชื่อว่าประเพณีลอยกระทงนี้ได้ สืบต่อกันมายาวนานตั้งแต่สมัยสุโขทัย โดยในรัชสมัยพ่อขุนรามคาแหงมหาราช เรียกประเพณีลอยกระทงนี้ว่า “พิธีจองเปรียง” หรือ “การลอยพระประทีป” และมีหลักฐานจากศิลาจารึกหลักที่ 1 กล่าวถึงงานเผาเทียนเล่น ไฟว่าเป็นงานรื่นเริงที่ใหญ่สุดของกรุงสุโขทัย ทาให้เชื่อกันว่างานดังกล่าวน่าจะเป็นงานลอยกระทงอย่าง แน่นอน จังหวัดสุโขทัย ร่วมกับกรมศิลปากรและการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้จัดงานประเพณีลอยกระทง เผาเทียน เล่นไฟ จังหวัดสุโขทัยขึ้น ตั้งแต่ปี พ.ศ.2520 เพื่อเป็นการฟื้นฟูประวัติศาสตร์ประเพณีลอยกระทง และส่งเสริมการท่องเที่ยว โดยใช้ชื่องานตามคาในหลักศิลาจารึกว่า “งานเผาเทียนเล่นไฟ” โดยกาหนดจัดขึ้น ทุกปีในวันเพ็ญเดือน 12 (ขึ้น 15 ค่า เดือน 12) หรือประมาณเดือนพฤศจิกายนของทุกปี สาหรับในปีนี้มี แนวคิดการจัดงานคือ “ลอยพระประทีปหลอมรวมใจ ร่วมอาลัยพ่อแห่งชาติ ถวายอภิวาทมหาวชิราลงกรณ” เพื่อเป็นการถวายอาลัย พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช บรมนาถบพิตร และ
  • 19. 9 เทิดพระเกียรติสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมหาวชิราลงกรณ บดินทรเทพยวรางกูร โดยในปีนี้ ภายในงานจะมีพิธีรับรุ่ง อรุณแห่งความสุข ณ อุโบสถวัดตระพังเงิน, พิธีบวงสรวงบุรพกษัตริย์สุโขทัยทุกพระองค์ ณ บริเวณพระบรมรา ชานุสาวรีย์พ่อขุนรามคาแหงมหาราช, การประกวดกระทงเล็ก โคมชักโคมแขวน พนมหมาก พนมดอกไม้, ลานเทศน์ ลานธรรม (เทศน์มหาชาติ) ณ ลานโพธิ์ หลังวัดชนะสงคราม, การแสดงพลุ ตะไล ไฟพะเนียง ณ บริเวณสระน้าวัดสระศรี (ตระพังตะกวน), การประกวดนางนพมาศ การประกวดร้องเพลงชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ณ เวทีโรงละครกลางแจ้ง ยังมีการจัดแสดงหมู่บ้านวิถีชีวิตไทยและตลาดปสาน ตลาดโบราณ สมัยกรุงสุโขทัยโดยเฉพาะการ จาลองตลาดแลกเบี้ยสุโขทัยซึ่งจัดโดย ททท.สานักงานจังหวัดสุโขทัย โดยมีทั้งตลาดน้าและตลาดบนบก บรรยากาศสวยงามย้อนอดีตเป็นอย่างยิ่งและการแสดงกีฬาพื้นบ้าน การแสดงทางวัฒนธรรมไทย เช่น การ แสดงกระบี่กระบอง การสาธิตมวยคาดเชือก ณ บริเวณศาลาสี่หลัง, การแสดงดนตรีไทย ณ บริเวณวัดชนะ สงคราม, การแสดงประกอบแสง เสียง ณ บริเวณวัดมหาธาตุ ซึ่งในปีนี้การแสดงประกอบแสง เสียง จัดการ แสดงยิ่งใหญ่ตระการตากว่าทุก ๆ ปี เป็นการแสดงประกอบ แสง เสียง เรื่อง “ความรุ่งเรืองของนครสุโขทัย” มีการนาช้างมาร่วมแสดงจานวน 3 เชือก เป็นฉากที่แสดงวีรกรรมของพ่อขุนรามคาแหงมหาราชเมื่อครั้งยังทรง พระเยาว์ ช้างที่นามาแสดง 3 เชือกนั้น จะแสดงเป็นช้างของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ ช้างของพ่อขุนรามคาแหง มหาราช และช้างของขุนสามชนเจ้าเมืองฉอด นอกจากนี้ยังมีการแสดงโขน ซึ่งเป็นมหรสพหลวง เป็นการแสดง โขนของสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ เรื่อง “รามเกียรติ์” แสดง 5 คืน 5 ตอน ตอนการแสดงตานานท้าวศรีจุฬา ลักษณ์โดยใช้การแสดงของขบวนเรือจาลองเหตุการณ์ในยุคกรุงสุโขทัย และกิจกรรมลอยกระทงของผู้ร่วมชม งานในทุกค่าคืน นอกจากนี้ ในงานยังมีประเพณี “ข้าวขวัญวันเล่นไฟ” ซึ่งเป็นการรับประทานอาหารร่วมกันของผู้มา เยือนเมืองสุโขทัยในโอกาสงานประเพณีเผาเทียนเล่นไฟช่วงเวลาประมาณ 17.30 – 19.00 น. วัตถุประสงค์ สาคัญคือ เป็นการรักษาธรรมเนียมไทยในการเลี้ยงข้าวปลาอาหาร เพื่อสร้างความรักความเข้าใจ กระชับ สัมพันธไมตรี ทาให้เกิดความสุขความเจริญตลอดทั้งปี บรรยากาศในงานมุ่งเน้นเอกลักษณ์ไทย ทั้งการแต่งกาย แบบไทยๆ การนั่งล้อมวงบนเสื่อ การใช้โตกแทนโต๊ะอาหาร เลือกใช้เมนูอาหารพื้นบ้าน ย้อนสู่ยุคสุโขทัยเป็น ราชธานี พร้อมชมการแสดงศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่นสุโขทัย และการบรรเลงดนตรีไทยตลอดรายการ สาหรับกิจกรรมอื่นที่นอกเหนือจากกิจกรรมการลอยกระทงและการแสดงที่กล่าวมาข้างต้นแล้ว ยัง สามารถชมขบวนแห่ เป็นขบวนแห่ประเพณีวัฒนธรรม 9 อาเภอ และขบวนของภาคเอกชน เป็นขบวนแห่นาง นพมาศ กระทงใหญ่ และขบวนขององค์กรส่วนท้องถิ่น และในวันที่ 3 พฤศจิกายน 2560 เป็นขบวนอัญเชิญไฟ พระฤกษ์และพระประทีปพระราชทาน และนอกจากนี้ยังมีการแสดงการจัดจาหน่ายสินค้าสหกรณ์และสินค้า OTOP เป็นต้น 7. ความสาคัญวันลอยกระทง - เพื่อขอขมาต่อพระแม่คงคา และบูชาพระพุทธบาท ตามคติความเชื่อ
  • 20. 10 - เพื่อรักษาธรรมเนียมของไทยไม่ให้สูญหาย - เพื่อรู้คุณค่าของน้า และแม่น้าลาคลอง อันเป็นสิ่งจาเป็นสาหรับดารงชีวิต คาถวายกระทงสาหรับลอยประทีป (ลอยกระทง) ดังคากล่าวดังต่อไปนี้ นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ (3 จบ) มะยัง อิมินา, ปะทีเปนะ อะสุกายะ, นัมมะทายะ, นะทิยา,ปุลิเน, ฐิตัง, มุนิโน, ปาทะวะลัญชัง อะภิ ปูเชมะ อะยัง ปะทีเปนะ, มุนิโม, ปาทะวะลัญชัสสะ, บูชา, อัมหากัง, ทีฆะรัตตัง, หิตายะ,สุขายะ, สังวัตตะตุ แปลว่า “ข้าพเจ้าทั้งหลาย, ขอบูชา, ซึ่งรอยพระพุทธบาทที่ตั้งอยู่เหนือหาดทราย, ในแม่น้าชื่อ ขอจง เป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข, แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย, สิ้นกาลนานเทอญ” 8. งานลอยกระทงตามประเพณีของท้องถิ่น ภาคเหนือตอนบน มักนิยมทาโคมลอยที่เรียกว่า ลอยโคม หรือ ว่าวฮม หรือ ว่าวควัน ทาจากผ้าบาง ๆ แล้วสุมควันข้างใต้ให้ลอยขึ้นไปในอากาศคล้ายกับบอลลูน ซึ่งชาวเหนือมักเรียกประเพณีนี้ว่า ยี่เป็ง หมายถึง การทาบุญในวันเพ็ญเดือนยี่ (เป็นการนับวันตามแบบล้านนา ตรงกับวันเพ็ญเดือนสิบสองในแบบไทย) - จังหวัดเชียงใหม่ จะมีประเพณียี่เป็ง เชียงใหม่ ทุก ๆ ปีจะมีการจัดงานขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ตระการคา และมีการปล่อยโคมลอยขึ้นเต็มท้องฟ้า - จังหวัดตาก จะมีการลอยกระทงขนาดเล็กเรียงรายกันไปเป็นสาย เรียกว่า กระทงสาย - จังหวัดสุโขทัย จะมีขบวนแห่โคมชัก โคมแขวน การเล่นพลุตะไล และไฟพะเนียง ภาคอีสาน ในอดีตจะมีการเรียกประเพณีลอยกระทงว่า สิบสองเพ็ง หมายถึง วันเพ็ญเดือนสิบสอง ซึ่ง จะมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันไปตามแต่ละพื้นที่ - จังหวัดร้อยเอ็ด เป็นตัวแทนจัดงานลอยกระทงที่ใหญ่ที่สุดของภาคอีสาน มีชื่องานว่า สมมาน้าคืน เพ็งเส็งประทีป มีความหมายตามภาษาถิ่นว่า การขอขมาพระแม่คงคาในคืนวันเพ็ญเดือนสิบสอง ความพิเศษ ของงานจะมีการแสดง แสง สี เสียง ตานานเมืองร้อยเอ็ด มีการตกแต่งบริเวณเกาะบึงพลาญชัยให้เป็นเกาะ สวรรค์ มีขบวนกระทงอาเซียน มีการประกวดกระทงประทีปใหญ่ชิงถ้วยพระราชทาน สมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี มีการประกวดกระทงอนุรักษ์ธรรมชาติ การประกวดขบวนแห่กระทง ประทีป 12 หัวเมืองตามตานานเมืองร้อยเอ็ด การประกวดราวงสมมาน้าคืนเพ็งเส็งประทีป การประกวดธิดา สาเกตนครและกิจกรรมอื่น ๆ อีกมากมาย นอกจากนี้ จังหวัดร้อยเอ็ดยังได้รับโปรดเกล้าฯ จากพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ฯ ที่ทรงพระราชทานพระประทีปส่วนพระองค์ร่วมลงลอยในบึง พลาญชัยทุกปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2542 - จังหวัดสกลนคร ในอดีต จะมีการลอยกระทงจากกาบกล้วยที่มีลักษณะคล้ายกับการทาปราสาทผึ้ง โบราณ โดยเรียกชื่องานว่า เทศกาลลอยพระประทีปพระราชทาน สิบสองเพ็งไทสกล
  • 21. 11 ภาคกลาง จะมีการจัดประเพณีลอยกระทงขึ้นทั่วทุกจังหวัด - กรุงเทพมหานคร จะมีงานภูเขาทอง จัดขึ้นที่วัดสระเกตุ มีลักษณะเป็นงานวัด มักจะเฉลิมฉลองราว 7 – 10 วันก่อนงานลอยกระทง และงานจะสิ้นสุดลงในช่วงหลังวันลอยกระทง - จังหวัดพระนครศรีอยุธยา จะมีการจัดงานประเพณีลอยกระทงกรุงเก่าขึ้นอย่างยิ่งใหญ่ ณ บริเวณ อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา ภายในงานจะมีการแสดงแสง สี เสียงอย่างงดงามตระการตา ภาคใต้ อย่างที่อาเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา จะมีการจัดงานอย่างยิ่งใหญ่ นอกจากนั้นในจังหวัดอื่น ๆ ก็จะมีการจัดงานลอยกระทงด้วยเช่นกัน 9. ประวัตินางนพมาศ นางนพมาศ หรือบ้างก็เรียกกันว่า เรวดี นพมาศ เกิดในรัชกาลพระยาเลอไท กษัตริย์องค์ที่ 4 แห่ง ราชวงศ์พระร่วง นางนพมาศ เป็นธิดาของพระศรีมโหสถกับนางเรวดี บิดาเป็นพราหมณ์ปุโรหิตในสมัยพระยา เลอไท มีรูปสมบัติและคุณสมบัติที่งดงาม ได้รับการอบรมจากบิดา มีความรู้ทางอักษรศาสตร์ พุทธศาสนา ศาสนาพราหมณ์ การช่างของสตรี ตลอดจนการขับร้องดนตรี สันนิษฐานว่า นางนพมาศ ได้ถวายตัวเข้ารับ ราชการในสมัยพระยาลิไท ในยุคสุโขทัย และเป็นที่โปรดปรานจนได้เป็นสนมเอก ตาแหน่ง ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งกล่าวกันว่า นางนพมาศ เป็นบุคคลที่ฉลาดถ่อมตัวเป็นอย่างยิ่ง จนได้สมญาว่า "กวีหญิงคนแรกของไทย" ดังเช่นที่มีข้อความเขียนไว้ว่า "ทั้งเป็นสตรี สติปัญญาก็น้อยกว่าบุรุษ แล้วก็ยังอ่อนหย่อนอายุ กาลังจะรักรูปและแต่งกาย ซึ่ง อุตสาหะพากเพียร กล่าวเป็นทาเนียบไว้ ทั้งนี้เพื่อหวังจะให้สตรีอันมีประเภทเสมอด้วยตน พึงให้ทราบว่า ข้าน้อยนพมาศ กระทาราชกิจในสมเด็จพระร่วงเจ้ากรุงมหานครสุโขทัย ตั้งจิตคิดสิ่งซึ่งเป็นการควรกับเหตุ ถูกต้องพระราชอัชฌาสัยพระเจ้าอยู่หัว ก็ได้ปรากฏชื่อเสียงว่าเป็นสตรีนักปราชญ์ ฉลาดในวิชาช่างอยู่ชั่ว กัลปาวสาน" ทั้งนี้ นางนพมาศ ได้ทาคุณงามความดีเป็นที่โปรดปรานของพระร่วงในกาลต่อมา ที่สาคัญ ๆ มีอยู่ 3 ครั้ง ดังต่อไปนี้ ครั้งที่ 1 เข้าไปถวายตัวอยู่ในวังได้ห้าวัน ก็ถึงพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง) นางได้คิดประดิษฐ์โคมลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) มีนกเกาะดอกไม้สีสวย ๆ ต่าง ๆ กัน เป็นที่โปรดปราน ของพระร่วงมาก ครั้งที่ 2 ในเดือนห้ามีพิธีคเชนทรัศวสนาน เป็นพิธีชุมนุมข้าราชการทุกหัวเมือง มีเจ้าประเทศราชขึ้น เฝ้าถวายเครื่องราชบรรณาการด้วย ในพิธีนี้พระเจ้าแผ่นดินทรงรับแขกด้วยเครื่องหมากพลู นางนพมาศได้คิด ประดิษฐ์พานหมากสองชั้นร้อยกรองด้วยดอกไม้งดงาม พระร่วงทรงโปรดปรานและรับสั่งว่า ต่อไปผู้ใดจะทา การมงคลก็ดี รับแขกก็ดี ให้ใช้พานหมากรูปดังนางนพมาศประดิษฐ์ขึ้น ซี่งเป็นต้นเหตุของพานขันหมากเวลา แต่งงาน ซึ่งยังคงใช้จนถึงปัจจุบัน
  • 22. 12 ครั้งที่ 3 นางนพมาศ ได้ประดิษฐ์พนมดอกไม้ถวายพระร่วงเจ้าเพื่อใช้บูชาพระรัตนตรัย พระร่วงทรง พอพระทัยในความคิดนั้น ตรัสว่าแต่นี้ต่อไปเวลามีพิธีเข้าพรรษาจะต้องบูชาด้วยพนมดอกไม้กอบัวนี้ นอกจากนี้ นางนพมาศ ยังได้เขียนตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ขึ้นเพื่อเป็นหลักประพฤติปฏิบัติตนในการ เข้ารับราชการของนางสนมกานัลทั้งหลาย โดย ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ นี้แต่งด้วยร้อยแก้วมีกลอนดอกสร้อย แทรก ซึ่งมีการสันนิษฐานว่าแต่งขึ้นใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ เพราะภาษาที่ใช้แตกต่างจากภาษาที่ใช้ใน วรรณคดีที่แต่งในยุคเดียวกันคือศิลาจารึกหลักที่ 1 และ ไตรภูมิพระร่วง โดยเนื้อเรื่องใน ตารับท้าวศรีจุฬา ลักษณ์ กล่าวถึงประเพณีต่าง ๆ ของไทย เช่น การประดิษฐ์พานหมากสองชั้นรับแขกเมือง การประดิษฐ์โคม ลอยรูปดอกกระมุท (ดอกบัว) เพื่อใช้ในพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป (ลอยกระทง) ซึ่งประเพณีนี้ได้ สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน
  • 23. บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน การทาโครงงานเพื่อแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์โดยวิธีการดาเนินงาน ของการทาโครงงานฉบับนี้ คณะผู้จัดทาได้ดาเนินงานตามขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การแบ่งช่วงการแสดง การแสดงชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ใช้ผู้แสดงเป็นผู้หญิงตั้งแต่ 8-10 คน ผู้แสดงชายคู่กันตั้งแต่ 8- 10 คนเช่นเดียวกันและผู้แสดงคู่ชาย - หญิง 1 คู่แสดงเป็นท้าวศรีจุฬาลักษณ์และสมเด็จพระร่วงเจ้า การแสดง แบ่งออกเป็น 4 ช่วงดังนี้ ตอนที่ 1 นางเรวดีนพมาศถวายตัวเข้าอยู่ในวัง ใช้นักแสดงหญิง 9 คนสมมุติตนว่าเป็นท้าวศรีจุฬาลักษณ์ 1 คนเพิ่งเดินทางเข้ามาเพื่อถวายตัวรับใช้ เป็นสนมของสมเด็จพระร่วงเจ้าภายในพระราชวังหลวง พร้อมกับที่นักแสดงหญิงอีก 8 คนสมมุติตนเป็นนางใน รับใช้อยู่ในวัง ชีวิตประจาวันในพระราชวังคือการทางานในเรือนของผู้หญิง ทั้งการเย็บปักถักร้อย การร้อยพวง มาลา รวมถึงการเขียนกระดานฉนวน ซึ่งมาจากสมญาของท้าวศรีจุฬาลักษณ์ว่า กวีหญิงคนแรกของไทย ตอนที่ 2 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์และนางในประดิษฐ์กระทงประทีป ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 9 คน โดยนักแสดงชาย 8 คน พร้อมถือมีดทาท่าทางตัดต้น กล้วย ตัดท่อนกล้วย และตัดใบตองเพื่อเตรียมทากระทง จากนั้นนาส่งให้นักแสดงหญิงบนเวทีเพื่อรับไปทา กระทงประทีปด้วยท่าทางที่อ่อนช้อยดังหญิงในวัง โดนมีท้าวศรีจุฬาลักษณ์เป็นผู้ดูแลควบคุมการทากระทง และสมเด็จพระร่วงเจ้าซึ่งออกมาเพื่อชมการทางานของบริวาร ตอนที่ 3 ท้าวศรีจุฬาลักษณ์นากระทงถวายแด่พระร่วงเจ้า ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 1 คน นากระทงประทีปรูปดอกกระมุทที่ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นผู้ประดิษฐ์คิดค้นขึ้นออกมาถวายให้กับสมเด็จพระร่วงเจ้า ซึ่งสมเด็จพระร่วงทาท่าทางชื่นชอบและถูกพระ ราชหฤทัยในกระทงนี้เป็นอย่างมาก ตอนที่ 4 พระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป ใช้นักแสดงหญิง 9 คน และนักแสดงชาย 9 คน ตอนสุดท้ายเริ่มโดยการนากระทงประทีปออกมาเพื่อ แห่ขบวนพร้อมกับนางนพมาศหรือก็คือท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เป็นการเริ่มพระราชพิธีจองเปรียงลอยพระประทีป ในขณะนี้จะมีการลอยโคม และจุดพลุไฟเย็นซึ่งถือเป็นการกระทาตามชนบธรรมเนียมประเพณีที่ทามาตั้งแต่ใน อดีต จากนั้นในช่วงสุดท้ายจึงมีการใช้เสลี่ยงแบกหามสมเด็จพระร่วงเจ้าออกมาเพื่อมารับกระทงประทีปจาก ท้าวศรีจุฬาลักษณ์ไปลอยกระทงลงแม่น้าต่อไป
  • 24. 14 2. ประชากร ประชากรในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ครั้งนี้คือ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 จานวน 1025 คนและคณะครูอาจารย์ จานวน 57 คน ในภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติ สมเด็จพระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี (แหล่งข้อมูล: swry.ac.th, ข้อมูลวันที่ 2 กรกฎาคม 2563) 3. กลุ่มตัวอย่าง กลุ่มตัวอย่างผู้ประเมิน ที่ใช้ในการสารวจความพึงพอใจในการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ คือ คณะครูและนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ชั้นปีที่ 1-6 โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จ พระศรีนครินทร์ ระยอง ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โดยเลือก ตัวอย่างทาแบบสอบถามแบบสุ่มจานวน 100 คน 4. เครื่องมือที่ใช้ในการประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ เป็นแบบสอบถามที่ผู้จัดทาสร้างและพัฒนาขึ้นเพื่อสารวจความพึง พอใจของผู้ชมที่มีต่อการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ซึ่งประกอบด้วย 3 ตอน ได้แก่ ตอนที่ 1 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับข้อมูลทั่วไปของครู อาจารย์ และนักเรียนผู้ประเมิน ลักษณะ แบบสอบถามเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) มีจานวน 2 ข้อ ตอนที่ 2 เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจของผู้รับชมการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ ชุด ตานานท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) 5 ระดับ มี จานวน 10 ข้อ ดังนี้ - การแสดงมีเนื้อหาที่น่าสนใจ มีความสร้างสรรค์ - การแสดงมีความสนุกสนาน ไม่น่าเบื่อ - ความงดงามและลีลาในการแสดง จังหวะถูกต้องพร้อมเพรียง - ผู้แสดงสามารถถ่ายทอดอารมณ์ได้ดี - การแต่งกายมีความเหมาะสมกับการแสดง - ฉากและอุปกรณ์ต่าง ๆ มีความเหมาะสม - ดนตรีประกอบการแสดงมีความเหมาะสม - ความเหมาะสมของระยะเวลาในการแสดง - การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้แสดง - ภาพรวมของการแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์