SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
๑
สังคีตวิทยา
บทที่ 1
ประวัติของดนตรีสากล
การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว
สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่งจะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age
คือระหว่างศตวรรษที่ 5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ (Pitch and
Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้
แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตามธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่าปาก เป่าเขา
และเปล่งเสียงร้องตามเรื่อง
การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุขความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ
ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาลให้ตนมีความสุขความสบาย
โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์
เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการมาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน
เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระเจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง
ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่
12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลายเสียงขึ้นมา
ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทาง
วัฒนธรรมของชาติตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก ในการศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความเข้าใจ
และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึงจาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรีสากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400
บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า เพียงอย่างเดียว
โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ในปลายยุค
และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600
บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ในโบสถ์
โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด
ทาให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ออร์แกน
ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750
๒
เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลงอย่างมาก
จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตาคอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น
เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดงละครเพลงหรือโอเปรา (Opera)
แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี การกาหนดที่แน่นอน
นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่างมาก
4. ยุคคลาสสิก (The ClassicalEra) ค.ศ. 1750-1820
เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนดแน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ
วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวงออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ
เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องเป่าลมทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา
ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมาจนถึงปัจจุบัน
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ในยุคนี้เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับการพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการและเทคนิคต่าง ๆ
ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้
หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และเพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี
ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน
รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น
ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่องอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย
ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก
ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ การประพันธ์เพลงมากกว่า
และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง
แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวงดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย
ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น
บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ
1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400
บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ในพิธีกรรม
เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า
เนื้อหาของเพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ
ภาษาละติน ในระยะแรก
เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตราจังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไ
ปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน
๓
เป็นเพลงร้องสองแนว และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง
ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป
2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ. 1400 -1600
ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานองที่เหมือนกันรูปแบบการประพั
นธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับดนตรีคฤหัสถ์ (ดนตรีประชาชนทั่วไป)
เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็นเพลงร้องประกอบดนตรี
3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750
บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง
เนื่องจากเครื่องดนตรีมีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ
ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะ
คอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชันระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี
ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four
Season ของ วิวัลดี และยุคนี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ
4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820
เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการประพันธ์เพลง การผสมวง
หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา
คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออเคสต้า
ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น นอกจากนี้ละครร้องหรือโอเปรา (Opera)
ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป
5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900
ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทา
ให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม
อ่อนหวานในขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออเคสต้ามีการเพิ่มขนาดของวงให้ให
ญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี
ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้นแนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ
บทเพลงที่นิยมในยุคนี้คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน
6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน
ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น
และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง
มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู
เริ่มมีการทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย
๔
ถือได้ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน
ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก
นับว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก
บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้นได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ ตามหลักวิชาการดนตรี
ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน
ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคมประกอบการสวดมนต์
เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืมจึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง
เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง
โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด
เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือศาสนา
ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด
บทที่ 2
ธรรมชาติและองค์ประกอบของดนตรีสากล
ธรรมชาติของดนตรี
ดนตรี คืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอด ความรู้สึกของศิลปิน
เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้น
เป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้ว่าดนตรีคือเสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสม กลมกลืนกันโดยมีทานอง
จังหวะ และเสียงประสานประกอบเข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรี มีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง
ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียง
ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความงดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์ลงไปในทานอง (Melody)
ส่วนเสียงอื่น ๆ (Noise) ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้นเป็นเสียงที่ ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์
เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด เป็นต้น
ผู้รู้ทางดนตรีหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของดนตรีไว้ หลายลักษณะแต่จะขอกล่าวโดยสังเขป ดังนี้
1.ดนตรีเกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ เช่น
เมื่อเกิดความพอใจสนุกสนานก็จะเปล่งเสียงออกมา ปรบมือ กระทืบเท้า ใช้ไม้เคาะ
นานเข้าก็จะหาวิธีทา ให้เกิดเสียงแปลก ๆโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย
ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีในชุดแรก ๆ จึงมีไม่กี่เสียง จังหวะก็ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน
๕
2. ดนตรีเป็นเรื่องของศิลปะที่เกี่ยวกับเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมนุษย์
อาจเลียนเสียงมาจากธรรมชาติ
แล้วนาเสียงนั้นมาเรียบเรียงให้เป็นระเบียบและที่สาคัญดนตรีต้องมีอารมณ์ในการที่จะสื่อไปยังผู้ฟัง
3. ดนตรีมีธรรมชาติที่แตกต่างไปจากศิลปะแขนงอื่น ๆ เช่น ดนตรีเป็นสื่อ
ทางอารมณ์ที่สัมผัสได้ด้วยหู ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม
ดนตรีเป็นเรื่องของสุนทรียศาสตร์ว่าด้วยความไพเราะและดนตรีเป็นเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ์
เป็นต้น
องค์ประกอบของดนตรีสากล
ดนตรีไม่ว่าจะเป็นของชาติใด ภาษาใด ล้วนมีพื้นฐานมาจากส่วนต่าง ๆ
เหล่านี้ทั้งสิ้นความแตกต่างในรายละเอียดของแต่ละส่วนแต่ละวัฒนธรรมนั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง
แต่การที่จะแตกต่างกันอย่างไรนั้น กรอบวัฒนธรรมของแต่ละสังคมจะเป็นปัจจัย
ที่กาหนดให้ตรงตามรสนิยมของแต่ละวัฒนธรรมจนเป็นผลให้สามารถแยกแยะดนตรีของชาติหนึ่งแตกต่างจากดน
ตรีของอีกชาติหนึ่งอย่างไร
องค์ประกอบของดนตรีสากล ประกอบด้วย
1. เสียง (Tone)
คีตกวีผู้สร้างสรรค์ดนตรี เป็นผู้ใช้เสียงในการสร้างสรรค์ผลิตงานศิลปะ เพื่อรับใช้สังคม
ผู้สร้างสรรค์ดนตรีสามารถสร้างเสียงที่หลากหลายโดยอาศัยวิธีการผลิตเสียงเป็นปัจจัยกาหนด เช่น
การดีด การสี การตี การเป่า เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ
ส่วนเสียงอึกทึกหรือเสียงรบกวน (Noise) เกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่ไม่สม่าเสมอ
ลักษณะความแตกต่างของเสียงขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติสาคัญ 4 ประการ คือ ระดับเสียง
ความยาวของเสียง ความเข้มของเสียง และคุณภาพของเสียง
1.1 ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง ระดับความสูง-ต่าของเสียง
ซึ่งเกิดจากจานวนความถี่ของการสั่นสะเทือน กล่าวคือ ถ้าเสียงที่มีความถี่สูง ลักษณะการสั่นสะเทือนเร็ว
จะส่งผลให้มีระดับเสียงสูง แต่ถ้าหากเสียงมีความถี่ต่า
ลักษณะการสั่นสะเทือนช้าจะส่งผลให้มีระดับเสียงต่า
1.2 ความสั้น-ยาวของเสียง (Duration) หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวกับ ความยาว-สั้นของเสียง
ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญอย่างยิ่งของการกาหนดลีลา จังหวะ ในดนตรีตะวันตก การกาหนดความสั้น-
ยาวของเสียง สามารถแสดงให้เห็นได้จากลักษณะของตัวโน้ต เช่น โน้ตตัวกลม ตัวขาว และตัวดา
เป็นต้น
1.3 ความเข้มของเสียง (Intensity) ความเข้มของเสียงเกี่ยวข้องกับน้าหนักของความหนักเบาของเสียง
ความเข้มของเสียงจะเป็นคุณสมบัติที่ก่อประโยชน์ ในการเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบูรณ์
๖
1.4 คุณภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคุณภาพของแหล่งกาเนิดเสียง ที่แตกต่างกัน
ปัจจัยที่ทาให้คุณภาพของเสียงเกิดความแตกต่างกันนั้น เกิดจาก หลายสาเหตุ เช่น วิธีการผลิตเสียง
รูปทรงของแหล่งกาเนิดเสียงและวัสดุที่ใช้ทาแหล่งกาเนิดเสียง
ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดลักษณะคุณภาพของเสียง
ซึ่งเป็นหลักสาคัญให้ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียง (Tone Color)
ระหว่างเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งกับเครื่องหนึ่งได้อย่างชัดเจน
2. พื้นฐานจังหวะ (Element of Time)
จังหวะเป็นศิลปะของการจัดระเบียบเสียง ที่เกี่ยวข้องกับความช้าเร็ว ความหนักเบาและความสั้น-ยาว
องค์ประกอบเหล่านี้ หากนามาร้อยเรียง ปะติดปะต่อ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแล้ว
สามารถที่จะสร้างสรรค์ให้เกิดลีลาจังหวะ อันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา
อิทธิพลของจังหวะที่มีผลต่อผู้ฟังจะปรากฏพบในลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เช่น
ฟังเพลงแล้วแสดงอาการกระดิกนิ้ว ปรบมือร่วมไปด้วย
3. ทานอง (Melody)
ทานองเป็นการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวข้องกับความสูง-ต่า ความสั้น-ยาว และความดัง-เบา
คุณสมบัติเหล่านี้เมื่อนามาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ ความช้า-เร็ว
จะเป็นองค์ประกอบของดนตรีที่ผู้ฟังสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายที่สุด ในเชิงจิตวิทยา
ทานองจะกระตุ้นผู้ฟังในส่วนของสติปัญญา ทานองจะมีส่วนสาคัญ ในการสร้างความประทับใจ จดจา
และแยกแยะความแตกต่างระหว่างเพลงหนึ่ง กับอีกเพลงหนึ่ง
4. พื้นผิวของเสียง (Texture)
“พื้นผิว” เป็นคาที่ใช้อยู่ทั่วไปในวิชาการด้านวิจิตรศิลป
์ หมายถึง ลักษณะ พื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ เช่น
พื้นผิวของวัสดุที่มีลักษณะขรุขระ หรือเกลี้ยงเกลา ซึ่งอาจจะ ทาจากวัสดุที่ต่างกัน ในเชิงดนตรีนั้น
“พื้นผิว” หมายถึง ลักษณะหรือรูปแบบของเสียงทั้งที่ประสานสัมพันธ์และไม่ประสานสัมพันธ์
โดยอาจจะเป็นการนาเสียงมาบรรเลงซ้อนกันหรือพร้อมกัน ซึ่งอาจพบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน
ตามกระบวนการประพันธ์เพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหล่านั้น
จัดเป็นพื้นผิวตามนัยของดนตรีทั้งสิ้น ลักษณะรูปแบบพื้นผิวของเสียงมีอยู่หลายรูปแบบ ดังนี้
4.1 Monophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่มีแนวทานองเดียว ไม่มีเสียงประสาน
พื้นผิวเสียงในลักษณะนี้ถือเป็นรูปแบบการใช้แนวเสียงของดนตรีในยุคแรก ๆของดนตรีในทุกวัฒนธรรม
4.2 Polyphonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่ประกอบด้วย
แนวทานองตั้งแต่สองแนวทานองขึ้นไป โดยแต่ละแนวมีความเด่นและเป็นอิสระจากกัน
ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสานกลมกลืนไปด้วยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูปของ Polyphonic
Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท์ (Chant) ซึ่งมีพื้นผิวเสียง ในลักษณะของเพลงทานองเดียว
(Monophonic Texture) ภายหลังได้มีการเพิ่มแนว ขับร้องเข้าไปอีกหนึ่งแนว
๗
แนวที่เพิ่มเข้าไปใหม่นี้จะใช้ระยะขั้นคู่ 4 และคู่ 5 และดาเนินไปในทางเดียวกับเพลงชานท์เดิม
การดาเนินทานองในลักษณะนี้เรียกว่า “ออร์กานุ่ม” (Orgonum)
นับได้ว่าเป็นยุคเริ่มต้นของการประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 14
เป็นต้นมา แนวทานองประเภทนี้ได้มีการพัฒนาก้าวหน้าไปมาก ซึ่งเป็นระยะเวลาที่การสอดทานอง
(Counterpoint) ได้เข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการตกแต่งพื้นผิวของแนวทานองแบบ Polyphonic
Texture
4.3 Homophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียง
ที่ประสานด้วยแนวทานองแนวเดียวโดยมีกลุ่มเสียง (Chords) ทาหน้าที่สนับสนุน ในคีตนิพนธ์
ประเภทนี้แนวทานองมักจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงสูงที่สุดในบรรดากลุ่มเสียงด้วยกัน
ในบางโอกาสแนวทานองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงต่าได้เช่นกัน
ถึงแม้ว่าคีตนิพนธ์ประเภทนี้จะมีแนวทานองที่เด่นเพียงทานองเดียวก็ตาม แต่กลุ่มเสียง (Chords)
ที่ทาหน้าที่สนับสนุนนั้น มีความสาคัญที่ไม่น้อยไปกว่าแนวทานอง การเคลื่อนที่ของแนวทานอง
จะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่กลุ่มเสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวตั้ง
4.4Heterophonic Texture เป็นรูปแบบของแนวเสียงที่มีทานอง หลายทานอง
แต่ละแนวมีความสาคัญเท่ากันทุกแนว คาว่า Heteros เป็นภาษากรีก หมายถึงแตกต่างหลากหลาย
ลักษณะการผสมผสานของแนวทานองในลักษณะนี้เป็นรูปแบบการประสานเสียง
5. สีสันของเสียง (Tone Color)
“สีสันของเสียง” หมายถึง คุณลักษณะของเสียงที่กาเนิดจากแหล่งเสียงที่ แตกต่างกัน
แหล่งกาเนิดเสียงดังกล่าว เป็นได้ทั้งที่เป็นเสียงร้องของมนุษย์และ เครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ
ความแตกต่างของเสียงร้องมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเพศชายกับเพศหญิงหรือระหว่างเพศเดียวกัน
ซึ่งล้วนแล้วแต่มีพื้นฐานของความแตกต่างทางด้านสรีระ เช่น หลอดเสียงและกล่องเสียง เป็นต้น
ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายด้านสีสันของเสียง
ประกอบด้วยปัจจัยที่แตกต่างกันหลายประการ เช่น วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใช้ทา เครื่องดนตรี
รวมทั้งรูปทรงและขนาด ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลโดยตรงต่อสีสันของเสียงเครื่องดนตรี
ทาให้เกิดคุณลักษณะของเสียงที่แตกต่างกันออกไป
5.1 วิธีการบรรเลง อาศัยวิธีดีด สี ตี และเป่า
วิธีการผลิตเสียงดังกล่าวล้วนเป็นปัจจัยให้เครื่องดนตรีมีคุณลักษณะของเสียงที่ต่างกัน
5.2 วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี
วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีของแต่ละวัฒนธรรมจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมและยุคสมัย
วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีที่แตกต่างกัน
นับเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างในด้านสีสันของเสียง
๘
5.3 ขนาดและรูปทรง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่มีรูปทรงและขนาดที่
แตกต่างกันจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างกันในด้านสีสันของเสียงในลักษณะที่มีความสัมพัน
ธ์กัน
6. คีตลักษณ์ (Forms)
คีตลักษณ์หรือรูปแบบของเพลง เปรียบเสมือนกรอบที่หลอมรวมเอาจังหวะ ทานอง พื้นผิว
และสีสันของเสียงให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เพลงที่มีขนาด สั้น-ยาว วนกลับไปมา
ล้วนเป็นสาระสาคัญของคีตลักษณ์ทั้งสิ้น
การแบ่งประเภทของดนตรีตามหลักสากล
ดนตรีที่ขับร้องและบรรเลงอยู่ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้
1. ดนตรีพื้นเมืองหรือดนตรีพื้นบ้าน (FolkMusic)
ดนตรีพื้นบ้าน เป็นดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เครื่องดนตรีที่ใช้
ส่วนใหญ่เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ซึ่งอาจจะเป็นฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง โทน รามะนา กลองยาว
และอาจจะมีเครื่องดนตรีชนิดอื่นที่ใช้บรรเลงทานองประกอบด้วย ได้แก่ สะล้อซอ ซึง แคน เป็นต้น
มีท่วงทานองสั้น ๆ ซ้า ๆ วนไปวนมา โดยเปลี่ยนแต่เนื้อร้อง
ภาษาที่ใช้ในการขับร้องจะเป็นภาษาประจาถิ่น
2. ดนตรีแบบฉบับ (ClassicalMusic)
ดนตรีแบบฉบับเป็นดนตรีของชนชาติใดก็ตามที่ได้รับการพัฒนามาจนเป็นดนตรีชั้นสูง
เป็นดนตรีที่มีความโดดเด่นถึงขั้นเป็นแบบฉบับของชนชาตินั้นได้ เช่น ดนตรีไทย
ซึ่งเดิมเป็นดนตรีพื้นเมืองของภาคกลางที่ได้รับการพัฒนาและนาเข้าไปเล่นในราชสานัก
ต่อมาได้รับการปรับปรุงจากครูดนตรีหลายท่านจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นดนตรีชั้นสูงมีความไพเราะ
ดนตรีประเภทนี้นิยมเรียกทับศัพท์ว่า ดนตรีคลาสสิก
อาจารย์สุกรี เจริญสุข ได้อธิบายความหมายของดนตรีคลาสสิกไว้ว่า “ดนตรีคลาสสิก หมายถึง
ดนตรีที่มีความงาม ความไพเราะในเรื่องของเสียงโดยที่ ผู้ประพันธ์เพลงได้ประพันธ์ขึ้นอย่างวิจิตรพิสดาร
มุ่งในเรื่องของความไพเราะ มีคุณค่า ในความงามของศิลปะ
บรรเลงโดยนักดนตรีที่มีความสามารถที่ผ่านการฝึกมาโดยเฉพาะ
และมีความสามารถสูงพอที่จะถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของเพลงออกสู่ผู้ฟังได้
สาหรับผู้ฟังนั้นต้องอาศัยสมาธิหรือความตั้งใจที่จะฟัง”
3. ดนตรีสมัยนิยมหรือดนตรีชนนิยม (Popular Music)
ดนตรีสมัยนิยมเป็นดนตรีที่ได้รับความนิยมจากประชาชนทั่วไป เช่น ดนตรีไทยสากลทั้งเพลงลูกทุ่ง
ลูกกรุง และวงดนตรีทั้งหลายในปัจจุบัน ดนตรีประเภทนี้จะมีเพลงซึ่งได้รับความนิยมอยู่ระยะเวลาหนึ่ง
จากนั้นเพลงดังกล่าวก็จะเสื่อมความนิยมลง แล้วก็จะมีเพลงใหม่ ๆ
ที่ได้รับความนิยมเข้าแทนที่บทเพลงของดนตรีสมัยนิยมถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีที่ต่างกันบางเพลงนาทานองบ
๙
างตอนของเพลงพื้นบ้านหรือเพลงแบบฉบับมาใช้
บางเพลงนาทานองของเพลงต่างชาติมาแล้วแต่งคาร้องเป็นภาษาของชาติตนเองใส่ลงไปเป็นต้น

More Related Content

Similar to สังคีตวิทยา.docx

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์kruood
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีpeter dontoom
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมRuz' Glaow
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมอำนาจ ศรีทิม
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3Kruanchalee
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)Float Jo
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนpeter dontoom
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55อำนาจ ศรีทิม
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2bmbeam
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docpinglada1
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศTepasoon Songnaa
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศTepasoon Songnaa
 

Similar to สังคีตวิทยา.docx (20)

ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
ประวัติความเป็นมาของกีตาร์
 
บทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรีบทที่ 2 ดนตรี
บทที่ 2 ดนตรี
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
เอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยมเอกสารสังคีตนิยม
เอกสารสังคีตนิยม
 
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรมลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
ลักษณะเด่นของดนตรีในแต่ละวัฒนธรรม
 
ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3ดนตรี ม.3
ดนตรี ม.3
 
ยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทยยุคสมัยของดนตรีไทย
ยุคสมัยของดนตรีไทย
 
เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)เพลงคลาสสิค (Classical music)
เพลงคลาสสิค (Classical music)
 
บทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศนบทที่ 2 ดนตรีกศน
บทที่ 2 ดนตรีกศน
 
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
เครืองดนตรีพื้นเมือง ใบความรู้ ม.3 ปี 55
 
พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์พระเจนดุริยางค์
พระเจนดุริยางค์
 
ใบงานท 2
ใบงานท   2ใบงานท   2
ใบงานท 2
 
Generation
GenerationGeneration
Generation
 
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.docหน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางดนตรี.doc
 
นายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนานนายเอื้อ สุนทรสนาน
นายเอื้อ สุนทรสนาน
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
ลีลาศ
ลีลาศลีลาศ
ลีลาศ
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
 
มารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศมารยาทในการลีลาศ
มารยาทในการลีลาศ
 

More from pinglada1

Avicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdfAvicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdfpinglada1
 
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfpinglada1
 
Avicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdfAvicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdfpinglada1
 
avicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfavicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfpinglada1
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfpinglada1
 
08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdfpinglada1
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxpinglada1
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxpinglada1
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docpinglada1
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxpinglada1
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfpinglada1
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.docpinglada1
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxpinglada1
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxpinglada1
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...pinglada1
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxpinglada1
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docpinglada1
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docxpinglada1
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxpinglada1
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docpinglada1
 

More from pinglada1 (20)

Avicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdfAvicii_Heaven_WIP.pdf
Avicii_Heaven_WIP.pdf
 
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdfAvicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
Avicii_-_You_be_love_feat._billy_raffoul.pdf
 
Avicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdfAvicii_Medley.pdf
Avicii_Medley.pdf
 
avicii_levels.pdf
avicii_levels.pdfavicii_levels.pdf
avicii_levels.pdf
 
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdfAvicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
Avicii_-_X_You_D_Major_Piano_Duet.pdf
 
08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf08CHAPTER_4.pdf
08CHAPTER_4.pdf
 
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docxหนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
หนังสือ การจัดโต๊ะหมู่บูชา.docx
 
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docxเหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
เหนือ -เที่ยว ต.ค..docx
 
ละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.docละครพันทาง.doc
ละครพันทาง.doc
 
เหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docxเหนือ-เที่ยว1.docx
เหนือ-เที่ยว1.docx
 
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdfสารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
สารานุกรมเยาวชนไทย ตอนดนตรีไทย.pdf
 
ลิเก.doc
ลิเก.docลิเก.doc
ลิเก.doc
 
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docxวันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
วันสำคัญทางศาสนาพุทธ.docx
 
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docxสังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
สังคีตที่ยิ่งใหญ่.docx
 
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...โลกของดนตรีไทย  พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
โลกของดนตรีไทย พื้นที่เล็กๆที่รวบรวมความรู้เกี่ยวกับดนตรีไทยเพื่ออนุรักษ์เผย...
 
ศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docxศาสนาพุทธ.docx
ศาสนาพุทธ.docx
 
หอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.docหอเกียรติยศ.doc
หอเกียรติยศ.doc
 
ละครรำ.docx
ละครรำ.docxละครรำ.docx
ละครรำ.docx
 
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docxเรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
เรียนรู้เกี่ยวกับแผนภูมิ.docx
 
หุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.docหุ่นกระบอก.doc
หุ่นกระบอก.doc
 

สังคีตวิทยา.docx

  • 1. ๑ สังคีตวิทยา บทที่ 1 ประวัติของดนตรีสากล การสืบสาวเรื่องราวเกี่ยวกับความเป็นมาของดนตรีตั้งแต่สมัยโบราณมา นับว่าเป็นเรื่องยากที่จะให้ได้เรื่องราว สมัยของการรู้จักใช้อักษรหรือสัญลักษณ์อื่น ๆ พึ่งจะมีปรากฏและเริ่มนิยมใช้กันในสมัยเริ่มต้นของยุค Middle age คือระหว่างศตวรรษที่ 5-6 และการบันทึกมีเพียงเครื่องหมายแสดงเพียงระดับของเสียง และจังหวะ (Pitch and Time) ดนตรีเกิดขึ้นมาในโลกพร้อม ๆ กับมนุษย์เรานั่นเอง ในยุคแรก ๆ มนุษย์อาศัยอยู่ในป่าดง ในถ้า ในโพรงไม้ แต่ก็รู้จักการร้องราทาเพลงตามธรรมชาติ เช่นรู้จักปรบมือ เคาะหิน เคาะไม้ เป่าปาก เป่าเขา และเปล่งเสียงร้องตามเรื่อง การร้องราทาเพลงทาไปเพื่ออ้อนวอนพระเจ้าเพื่อช่วยให้ตนพ้นภัยบันดาลความสุขความอุดมสมบูรณ์ต่าง ๆ ให้แก่ตนหรือเป็นการบูชาแสดงความขอบคุณพระเจ้าที่บันดาลให้ตนมีความสุขความสบาย โลกได้ผ่านหลายยุคหลายสมัย ดนตรีได้วิวัฒนาการไปตามความเจริญและความคิดสร้างสรรค์ของมนุษย์ เครื่องดนตรีที่เคยใช้ในสมัยเริ่มแรกก็มีการวิวัฒนาการมาเป็นขั้น ๆ กลายเป็นเครื่องดนตรีที่เราเห็นอยู่ทุกวัน เพลงที่ร้องเพื่ออ้อนวอนพระเจ้า ก็กลายมาเป็นเพลงสวดทางศาสนาและเพลงร้อง ในระยะแรกดนตรีมีเพียงเสียงเดียวและแนวเดียวเท่านั้นเรียกว่า Melody ไม่มีการประสานเสียง จนถึงศตวรรษที่ 12 มนุษย์เราเริ่มรู้จักการใช้เสียงต่าง ๆ มาประสานกันอย่างง่าย ๆ เกิดเป็นดนตรีหลายเสียงขึ้นมา ดนตรีสากล มีประวัติความเป็นมาและวิวัฒนาการที่ยาวนาน แสดงถึงความเจริญรุ่งเรืองทาง วัฒนธรรมของชาติตะวันตกซึ่งเป็นที่นิยมและยอมรับกันทั่วโลก ในการศึกษาดนตรีสากล เพื่อความรู้ ความเข้าใจ และความซาบซึ้งในดนตรีตะวันตก จึงจาเป็นจะต้องศึกษาวิวัฒนาการของดนตรีสากลในด้านต่าง ๆ ดังนี้ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ.500-1400 บทเพลงส่วนใหญ่เป็นเพลงร้องที่ใช้ในโบสถ์เพื่อสรรเสริญพระเจ้า เพียงอย่างเดียว โดยบางครั้งอาจเป็นการร้องสอดประสานกันบ้างประมาณ 2-3 แนว ในปลายยุค และยังไม่พบการบรรเลงที่เป็นรูปแบบมาตรฐานอย่างเด่นชัด 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ.1400-1600 บทเพลงในยุคนี้เริ่มมีการผสมผสานระหว่างเพลงพื้นฐานกับเพลงที่ใช้ในโบสถ์ โดยการนาเอาเทคนิคการประพันธ์เพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้กับเพลงสวด ทาให้เกิดการนาเอาเครื่องดนตรีบางชนิดเข้ามาประกอบในเพลงสวดที่ใช้ในพิธีกรรมต่าง ๆ เช่น ออร์แกน ฮาร์ฟซิคอร์ด เป็นต้น 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ.1600-1750
  • 2. ๒ เครื่องดนตรีได้รับการพัฒนาจึงทาให้นักดนตรีมีความสามารถในการบรรเลงอย่างมาก จึงทาให้ยุคนี้มีประเภทการบรรเลงดนตรีที่หลากหลายมากขึ้น เช่น โซนาตาคอนแชร์โต โอเปรา เป็นต้น เริ่มมีการผสมวงออร์เคสตรา เพื่อใช้ประกอบการแสดงละครเพลงหรือโอเปรา (Opera) แต่ลักษณะการผสมวงของเครื่องดนตรียังไม่มี การกาหนดที่แน่นอน นอกจากนี้เครื่องดนตรีประเภทเครื่องสายยังได้รับการพัฒนาอย่างมาก 4. ยุคคลาสสิก (The ClassicalEra) ค.ศ. 1750-1820 เครื่องดนตรีมีวิวัฒนาการมาจนสมบูรณ์ที่สุด เริ่มมีการผสมวงที่กาหนดแน่นอนว่าเป็นวงเล็กหรือใหญ่ คือ วงแชมเบอร์มิวสิก และวงออร์เคสตราในการจัดวงออร์เคสตราใช้เครื่องดนตรีครบทุกประเภท คือ เครื่องสาย เครื่องเป่าลมไม้ เครื่องเป่าลมทองเหลือง และเครื่องตี วงออร์เคสตรา ในยุคนี้ถือได้ว่ามีรูปแบบที่ใช้เป็นแบบแผนมาจนถึงปัจจุบัน 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ในยุคนี้เปียโนเป็นเครื่องดนตรีที่ได้รับการพัฒนารูปร่างจนสามารถบรรเลงด้วยวิธีการและเทคนิคต่าง ๆ ที่หลากหลายได้เป็นอย่างดี ในส่วนของการผสมวงออร์เคสตรา ยังคงใช้ หลักการผสมวงออร์เคสตราตามยุคคลาสสิก และเพิ่มขนาดโดยการเพิ่มจานวนเครื่องดนตรีให้มี ความยิ่งใหญ่ขึ้น เพื่อให้อารมณ์ของบทเพลง มีความหลากหลายและสามารถสื่อถึงผู้ฟังได้อย่างเด่นชัด 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ.1900-ปัจจุบัน รูปแบบดนตรีมีการผสมผสานรูปแบบใหม่ขึ้น ซึ่งมีการนาเสียงจากเครื่องอิเล็กทรอนิกส์มาใช้เป็นเครื่องดนตรีด้วย ส่วนดนตรีในรูปแบบดนตรีคลาสสิกก็ยังคงใช้รูปแบบการผสมวงตามยุคคลาสสิก ซึ่งไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่จะเน้นที่รูปแบบ การประพันธ์เพลงมากกว่า และในยุคนี้เริ่มมีวงดนตรีผสมผสานรูปแบบใหม่ซึ่งเป็น รูปแบบวงดนตรีที่ผสมผสานระหว่าง แอฟริกาตะวันตก อเมริกาและยุโรป ที่เรียกว่าวงดนตรีแจ๊ส (Jazz) เครื่องดนตรีที่ใช้ในวงมักประกอบด้วย ทรัมเป็ต คลาริเน็ต ทรอมโบน ทูบา และกลองประเภทต่าง ๆ เป็นต้น บทเพลงสากลในยุคต่าง ๆ 1. ยุคกลาง (Middle Age) ค.ศ. 500-1400 บทเพลงที่ปรากฏในยุคนี้ คือ เพลงสวด (Chant) ซึ่งเป็นบทเพลงที่ใช้ในพิธีกรรม เป็นบทเพลงศักดิ์สิทธิ์ใช้เป็นสื่อกลางในการติดต่อกับพระผู้เป็นเจ้า เนื้อหาของเพลงจะเป็นการสวดอ้อนวอนต่อพระผู้เป็นเจ้า ภาษาที่ใช้ในบทเพลงร้องส่วนใหญ่ คือ ภาษาละติน ในระยะแรก เพลงสวดเป็นการร้องแนวเดียวไม่มีดนตรีประกอบไม่มีอัตราจังหวะและจะใช้เสียงเอื้อนในการทาทานองไ ปไม่มีกาหนดกฎเกณฑ์ที่ตายตัว ต่อมา ในระยะหลัง ๆ เริ่มพัฒนาการร้องให้มีแนวการร้องสองประสาน
  • 3. ๓ เป็นเพลงร้องสองแนว และเริ่มที่จะมีอัตราจังหวะที่แน่นอน จนกลายเป็นรูปแบบการร้องประสานเสียง ที่มากกว่า 2 แนวขึ้นไป 2. ยุคเรอเนสซองซ์หรือยุคฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance) ค.ศ. 1400 -1600 ดนตรียังคงเป็นลักษณะสอดประสานทานองโดยมีการล้อกันของแนวทานองที่เหมือนกันรูปแบบการประพั นธ์เพลงมีมากขึ้น ในยุคนี้ยังเน้นการร้องเป็นพิเศษสาหรับดนตรีคฤหัสถ์ (ดนตรีประชาชนทั่วไป) เริ่มมีการบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร ซึ่งมักเป็นเพลงร้องประกอบดนตรี 3. ยุคบาโรก (Baroque) ค.ศ. 1600-1750 บทเพลงบรรเลงมีความสาคัญเทียบเท่ากับบทเพลงร้อง เนื่องจากเครื่องดนตรีมีการพัฒนาทั้งรูปแบบและเสียง รูปแบบการประพันธ์เพลงในยุคนี้มีการพัฒนาและ ปรับปรุงจนมีลักษณะเด่นชัด โดยเฉพาะ คอนแชร์โต (Concerto) ตัวบทเพลงประชันระหว่างเครื่องดนตรีประเภทเดี่ยวกับวงดนตรี ซึ่งแสดงความสามารถของผู้บรรเลงได้เป็นอย่างดี บทเพลง Concerto ที่ได้รับความนิยมคือ The Four Season ของ วิวัลดี และยุคนี้เป็นจุดเริ่มต้นของบทเพลงบรรเลงประเภทต่าง ๆ 4. ยุคคลาสสิก (The Classic Era) ค.ศ. 1750-1820 เป็นยุคที่สาคัญมากของดนตรีตะวันตก เนื่องจากรูปแบบต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นการประพันธ์เพลง การผสมวง หรือบทเพลงบรรเลงมีความเป็นแบบแผนอย่างมาก รูปแบบการประพันธ์บทเพลงในยุคนี้ได้แก่ โซนาตา คอนแชร์โต ซิมโฟนี และการ ผสมวงได้แก่ วงแชมเบอร์มิวสิกและออเคสต้า ทุกอย่างล้วนจัดให้มีมาตรฐานทั้งสิ้น นอกจากนี้ละครร้องหรือโอเปรา (Opera) ก็ได้รับการพัฒนาจนได้รับความนิยมทั่วไป 5. ยุคโรแมนติก (The Romantic Era) ค.ศ. 1820-1900 ยุคนี้เป็นยุคที่นาหลักการของยุคคลาสสิกมาใช้ผสมผสานกับการใส่อารมณ์ความรู้สึกเข้าไปในบทเพลงทา ให้บทเพลงมีความไพเราะ สง่างาม อ่อนหวานในขณะหนึ่งก็สะเทือนอารมณ์ของผู้ฟังได้เช่นกันสาหรับวงออเคสต้ามีการเพิ่มขนาดของวงให้ให ญ่ขึ้น เพื่อความสมบูรณ์แบบของเสียงในวงดนตรี ยุคนี้ทานองของบทเพลงเน้นแนวทานองหลักและใช้การประสานเสียงเพื่อให้มีความไพเราะ บทเพลงที่นิยมในยุคนี้คือ ดนตรีบรรยายเรื่องราว คีตกวีที่สาคัญในยุคนี้คือ เบโธเฟน 6. ยุคศตวรรษที่ 20 ค.ศ. 1900-ปัจจุบัน ยุคนี้เป็นยุคเปลี่ยนแปลงดนตรีชาติตะวันตก มีการเน้นรูปแบบจังหวะมากขึ้น และบันไดเสียงเริ่มมีการใช้บันไดเสียง 12 เสียง หลักการในการประพันธ์บทเพลง มีความแตกต่างจากยุคก่อนนี้ เริ่มมีการประสานเสียงทาให้ฟังแล้วรู้สึกไม่สบายหู เริ่มมีการทดลองทฤษฎีแปลก ๆ ใหม่ ๆ ซึ่งทาให้กฎเกณฑ์ทางดนตรีมีความหลากหลาย
  • 4. ๔ ถือได้ว่ายุคนี้เป็นยุคการเปลี่ยนแปลง ซึ่งเป็นผลมาจากสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง มากมายตามที่ได้พบเห็นในปัจจุบัน ขนบธรรมเนียมประเพณีของแต่ละชาติ ศาสนา โดยเฉพาะดนตรีตะวันตก นับว่ามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับศาสนามาก บทเพลงที่เกี่ยวกับศาสนาหรือเรียกว่าเพลงวัดนั้นได้แต่งขึ้นอย่างถูกหลักเกณฑ์ ตามหลักวิชาการดนตรี ผู้แต่งเพลงวัดต้องมีความรู้ความสามารถสูง เพราะต้องแต่งขึ้นให้สามารถโน้มน้าวจิตใจผู้ฟังให้นิยมเลื่อมใสใน ศาสนามากขึ้น ดังนั้นบทเพลงสวดในศาสนาคริสต์จึงมีเสียงดนตรีประโคมประกอบการสวดมนต์ เมื่อมีบทเพลงเกี่ยวกับศาสนามากขึ้นเพื่อเป็นการป้องกันการลืมจึงได้มีผู้ประดิษฐ์สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนทานอง เมื่อประมาณ ค.ศ. 1000 สัญลักษณ์ดังกล่าว คือ ตัวโน้ต (Note) นั่นเอง โน้ตเพลงที่ใช้ในหลักวิชาดนตรีเบื้องต้นเป็นเสียงโด เร มี นั้น เป็นคาสวดในภาษาละติน จึงกล่าวได้ว่าวิชาดนตรีมีจุดกาเนิดมาจากวัดหรือศาสนา ซึ่งในยุโรปนั้นถือว่าเพลงเกี่ยวกับศาสนานั้นเป็นเพลงชั้นสูงสุด บทที่ 2 ธรรมชาติและองค์ประกอบของดนตรีสากล ธรรมชาติของดนตรี ดนตรี คืองานทางศิลปะที่มนุษย์สร้างขึ้นโดยอาศัยเสียงเป็นสื่อถ่ายทอด ความรู้สึกของศิลปิน เสียงดนตรีเป็นเสียงที่มีความงามที่ถูกนามาเรียบเรียงขึ้น เป็นบทเพลงอย่างมีศิลปะหรืออาจกล่าวได้ว่าดนตรีคือเสียงที่นามาเรียบเรียงให้ผสม กลมกลืนกันโดยมีทานอง จังหวะ และเสียงประสานประกอบเข้าด้วยกันตามหลักวิชาดนตรี มีจุดประสงค์เพื่อให้มีความไพเราะน่าฟัง ความแตกต่างระหว่างเสียงดนตรีกับเสียงอื่น ๆ คือ เสียงดนตรีเป็นเสียง ที่ประดิษฐ์ขึ้นโดยอาศัยความงดงามของเสียง ศิลปินผู้ประดิษฐ์เสียงได้สอดใส่อารมณ์ลงไปในทานอง (Melody) ส่วนเสียงอื่น ๆ (Noise) ที่ไม่ใช่เสียงดนตรีนั้นเป็นเสียงที่ ขาดคุณสมบัติทางศิลปะ เช่น เสียงแตรรถยนต์ เสียงจ้อกแจ้กจอแจในตลาด เป็นต้น ผู้รู้ทางดนตรีหลายท่านได้เสนอแนวคิดเกี่ยวกับธรรมชาติของดนตรีไว้ หลายลักษณะแต่จะขอกล่าวโดยสังเขป ดังนี้ 1.ดนตรีเกิดจากการแสดงออกทางอารมณ์ของมนุษย์ เช่น เมื่อเกิดความพอใจสนุกสนานก็จะเปล่งเสียงออกมา ปรบมือ กระทืบเท้า ใช้ไม้เคาะ นานเข้าก็จะหาวิธีทา ให้เกิดเสียงแปลก ๆโดยใช้เครื่องมือต่าง ๆ เข้าช่วย ด้วยเหตุนี้เครื่องดนตรีในชุดแรก ๆ จึงมีไม่กี่เสียง จังหวะก็ง่าย ๆ ไม่ซับซ้อน
  • 5. ๕ 2. ดนตรีเป็นเรื่องของศิลปะที่เกี่ยวกับเสียงที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยมนุษย์ อาจเลียนเสียงมาจากธรรมชาติ แล้วนาเสียงนั้นมาเรียบเรียงให้เป็นระเบียบและที่สาคัญดนตรีต้องมีอารมณ์ในการที่จะสื่อไปยังผู้ฟัง 3. ดนตรีมีธรรมชาติที่แตกต่างไปจากศิลปะแขนงอื่น ๆ เช่น ดนตรีเป็นสื่อ ทางอารมณ์ที่สัมผัสได้ด้วยหู ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรม ดนตรีเป็นเรื่องของสุนทรียศาสตร์ว่าด้วยความไพเราะและดนตรีเป็นเรื่องของการแสดงออกทางอารมณ์ เป็นต้น องค์ประกอบของดนตรีสากล ดนตรีไม่ว่าจะเป็นของชาติใด ภาษาใด ล้วนมีพื้นฐานมาจากส่วนต่าง ๆ เหล่านี้ทั้งสิ้นความแตกต่างในรายละเอียดของแต่ละส่วนแต่ละวัฒนธรรมนั้น เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจริง แต่การที่จะแตกต่างกันอย่างไรนั้น กรอบวัฒนธรรมของแต่ละสังคมจะเป็นปัจจัย ที่กาหนดให้ตรงตามรสนิยมของแต่ละวัฒนธรรมจนเป็นผลให้สามารถแยกแยะดนตรีของชาติหนึ่งแตกต่างจากดน ตรีของอีกชาติหนึ่งอย่างไร องค์ประกอบของดนตรีสากล ประกอบด้วย 1. เสียง (Tone) คีตกวีผู้สร้างสรรค์ดนตรี เป็นผู้ใช้เสียงในการสร้างสรรค์ผลิตงานศิลปะ เพื่อรับใช้สังคม ผู้สร้างสรรค์ดนตรีสามารถสร้างเสียงที่หลากหลายโดยอาศัยวิธีการผลิตเสียงเป็นปัจจัยกาหนด เช่น การดีด การสี การตี การเป่า เสียงเกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่เป็นไปอย่างสม่าเสมอ ส่วนเสียงอึกทึกหรือเสียงรบกวน (Noise) เกิดจากการสั่นสะเทือนของอากาศที่ไม่สม่าเสมอ ลักษณะความแตกต่างของเสียงขึ้นอยู่กับ คุณสมบัติสาคัญ 4 ประการ คือ ระดับเสียง ความยาวของเสียง ความเข้มของเสียง และคุณภาพของเสียง 1.1 ระดับเสียง (Pitch) หมายถึง ระดับความสูง-ต่าของเสียง ซึ่งเกิดจากจานวนความถี่ของการสั่นสะเทือน กล่าวคือ ถ้าเสียงที่มีความถี่สูง ลักษณะการสั่นสะเทือนเร็ว จะส่งผลให้มีระดับเสียงสูง แต่ถ้าหากเสียงมีความถี่ต่า ลักษณะการสั่นสะเทือนช้าจะส่งผลให้มีระดับเสียงต่า 1.2 ความสั้น-ยาวของเสียง (Duration) หมายถึง คุณสมบัติที่เกี่ยวกับ ความยาว-สั้นของเสียง ซึ่งเป็นคุณสมบัติที่สาคัญอย่างยิ่งของการกาหนดลีลา จังหวะ ในดนตรีตะวันตก การกาหนดความสั้น- ยาวของเสียง สามารถแสดงให้เห็นได้จากลักษณะของตัวโน้ต เช่น โน้ตตัวกลม ตัวขาว และตัวดา เป็นต้น 1.3 ความเข้มของเสียง (Intensity) ความเข้มของเสียงเกี่ยวข้องกับน้าหนักของความหนักเบาของเสียง ความเข้มของเสียงจะเป็นคุณสมบัติที่ก่อประโยชน์ ในการเกื้อหนุนเสียงให้มีลีลาจังหวะที่สมบูรณ์
  • 6. ๖ 1.4 คุณภาพของเสียง (Quality) เกิดจากคุณภาพของแหล่งกาเนิดเสียง ที่แตกต่างกัน ปัจจัยที่ทาให้คุณภาพของเสียงเกิดความแตกต่างกันนั้น เกิดจาก หลายสาเหตุ เช่น วิธีการผลิตเสียง รูปทรงของแหล่งกาเนิดเสียงและวัสดุที่ใช้ทาแหล่งกาเนิดเสียง ปัจจัยเหล่านี้ก่อให้เกิดลักษณะคุณภาพของเสียง ซึ่งเป็นหลักสาคัญให้ผู้ฟังสามารถแยกแยะสีสันของเสียง (Tone Color) ระหว่างเครื่องดนตรีเครื่องหนึ่งกับเครื่องหนึ่งได้อย่างชัดเจน 2. พื้นฐานจังหวะ (Element of Time) จังหวะเป็นศิลปะของการจัดระเบียบเสียง ที่เกี่ยวข้องกับความช้าเร็ว ความหนักเบาและความสั้น-ยาว องค์ประกอบเหล่านี้ หากนามาร้อยเรียง ปะติดปะต่อ เข้าด้วยกันตามหลักวิชาการเชิงดนตรีแล้ว สามารถที่จะสร้างสรรค์ให้เกิดลีลาจังหวะ อันหลากหลาย ในเชิงจิตวิทยา อิทธิพลของจังหวะที่มีผลต่อผู้ฟังจะปรากฏพบในลักษณะของการตอบสนองเชิงกายภาพ เช่น ฟังเพลงแล้วแสดงอาการกระดิกนิ้ว ปรบมือร่วมไปด้วย 3. ทานอง (Melody) ทานองเป็นการจัดระเบียบของเสียงที่เกี่ยวข้องกับความสูง-ต่า ความสั้น-ยาว และความดัง-เบา คุณสมบัติเหล่านี้เมื่อนามาปฏิบัติอย่างต่อเนื่องบนพื้นฐานของ ความช้า-เร็ว จะเป็นองค์ประกอบของดนตรีที่ผู้ฟังสามารถทาความเข้าใจได้ง่ายที่สุด ในเชิงจิตวิทยา ทานองจะกระตุ้นผู้ฟังในส่วนของสติปัญญา ทานองจะมีส่วนสาคัญ ในการสร้างความประทับใจ จดจา และแยกแยะความแตกต่างระหว่างเพลงหนึ่ง กับอีกเพลงหนึ่ง 4. พื้นผิวของเสียง (Texture) “พื้นผิว” เป็นคาที่ใช้อยู่ทั่วไปในวิชาการด้านวิจิตรศิลป ์ หมายถึง ลักษณะ พื้นผิวของสิ่งต่าง ๆ เช่น พื้นผิวของวัสดุที่มีลักษณะขรุขระ หรือเกลี้ยงเกลา ซึ่งอาจจะ ทาจากวัสดุที่ต่างกัน ในเชิงดนตรีนั้น “พื้นผิว” หมายถึง ลักษณะหรือรูปแบบของเสียงทั้งที่ประสานสัมพันธ์และไม่ประสานสัมพันธ์ โดยอาจจะเป็นการนาเสียงมาบรรเลงซ้อนกันหรือพร้อมกัน ซึ่งอาจพบทั้งในแนวตั้งและแนวนอน ตามกระบวนการประพันธ์เพลง ผลรวมของเสียงหรือแนวทั้งหมดเหล่านั้น จัดเป็นพื้นผิวตามนัยของดนตรีทั้งสิ้น ลักษณะรูปแบบพื้นผิวของเสียงมีอยู่หลายรูปแบบ ดังนี้ 4.1 Monophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่มีแนวทานองเดียว ไม่มีเสียงประสาน พื้นผิวเสียงในลักษณะนี้ถือเป็นรูปแบบการใช้แนวเสียงของดนตรีในยุคแรก ๆของดนตรีในทุกวัฒนธรรม 4.2 Polyphonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียงที่ประกอบด้วย แนวทานองตั้งแต่สองแนวทานองขึ้นไป โดยแต่ละแนวมีความเด่นและเป็นอิสระจากกัน ในขณะที่ทุกแนวสามารถประสานกลมกลืนไปด้วยกัน ลักษณะแนวเสียงประสานในรูปของ Polyphonic Texture มีวิวัฒนาการมาจากเพลงชานท์ (Chant) ซึ่งมีพื้นผิวเสียง ในลักษณะของเพลงทานองเดียว (Monophonic Texture) ภายหลังได้มีการเพิ่มแนว ขับร้องเข้าไปอีกหนึ่งแนว
  • 7. ๗ แนวที่เพิ่มเข้าไปใหม่นี้จะใช้ระยะขั้นคู่ 4 และคู่ 5 และดาเนินไปในทางเดียวกับเพลงชานท์เดิม การดาเนินทานองในลักษณะนี้เรียกว่า “ออร์กานุ่ม” (Orgonum) นับได้ว่าเป็นยุคเริ่มต้นของการประสานเสียงแบบ Polyphonic Texture หลังจากคริสต์ศตวรรษที่ 14 เป็นต้นมา แนวทานองประเภทนี้ได้มีการพัฒนาก้าวหน้าไปมาก ซึ่งเป็นระยะเวลาที่การสอดทานอง (Counterpoint) ได้เข้าไปมีบทบาทเพิ่มมากขึ้นในการตกแต่งพื้นผิวของแนวทานองแบบ Polyphonic Texture 4.3 Homophonic Texture เป็นลักษณะพื้นผิวของเสียง ที่ประสานด้วยแนวทานองแนวเดียวโดยมีกลุ่มเสียง (Chords) ทาหน้าที่สนับสนุน ในคีตนิพนธ์ ประเภทนี้แนวทานองมักจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงสูงที่สุดในบรรดากลุ่มเสียงด้วยกัน ในบางโอกาสแนวทานองอาจจะเคลื่อนที่ในระดับเสียงต่าได้เช่นกัน ถึงแม้ว่าคีตนิพนธ์ประเภทนี้จะมีแนวทานองที่เด่นเพียงทานองเดียวก็ตาม แต่กลุ่มเสียง (Chords) ที่ทาหน้าที่สนับสนุนนั้น มีความสาคัญที่ไม่น้อยไปกว่าแนวทานอง การเคลื่อนที่ของแนวทานอง จะเคลื่อนไปในแนวนอน ในขณะที่กลุ่มเสียงสนับสนุนจะเคลื่อนไปในแนวตั้ง 4.4Heterophonic Texture เป็นรูปแบบของแนวเสียงที่มีทานอง หลายทานอง แต่ละแนวมีความสาคัญเท่ากันทุกแนว คาว่า Heteros เป็นภาษากรีก หมายถึงแตกต่างหลากหลาย ลักษณะการผสมผสานของแนวทานองในลักษณะนี้เป็นรูปแบบการประสานเสียง 5. สีสันของเสียง (Tone Color) “สีสันของเสียง” หมายถึง คุณลักษณะของเสียงที่กาเนิดจากแหล่งเสียงที่ แตกต่างกัน แหล่งกาเนิดเสียงดังกล่าว เป็นได้ทั้งที่เป็นเสียงร้องของมนุษย์และ เครื่องดนตรีชนิดต่าง ๆ ความแตกต่างของเสียงร้องมนุษย์ ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเพศชายกับเพศหญิงหรือระหว่างเพศเดียวกัน ซึ่งล้วนแล้วแต่มีพื้นฐานของความแตกต่างทางด้านสรีระ เช่น หลอดเสียงและกล่องเสียง เป็นต้น ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับเครื่องดนตรีนั้น ความหลากหลายด้านสีสันของเสียง ประกอบด้วยปัจจัยที่แตกต่างกันหลายประการ เช่น วิธีการบรรเลง วัสดุที่ใช้ทา เครื่องดนตรี รวมทั้งรูปทรงและขนาด ปัจจัยเหล่านี้ล้วนส่งผลโดยตรงต่อสีสันของเสียงเครื่องดนตรี ทาให้เกิดคุณลักษณะของเสียงที่แตกต่างกันออกไป 5.1 วิธีการบรรเลง อาศัยวิธีดีด สี ตี และเป่า วิธีการผลิตเสียงดังกล่าวล้วนเป็นปัจจัยให้เครื่องดนตรีมีคุณลักษณะของเสียงที่ต่างกัน 5.2 วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรี วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีของแต่ละวัฒนธรรมจะแตกต่างกันไปตามสภาพแวดล้อมของสังคมและยุคสมัย วัสดุที่ใช้ทาเครื่องดนตรีที่แตกต่างกัน นับเป็นปัจจัยที่สาคัญประการหนึ่งที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างในด้านสีสันของเสียง
  • 8. ๘ 5.3 ขนาดและรูปทรง ลักษณะของเครื่องดนตรีที่มีรูปทรงและขนาดที่ แตกต่างกันจะเป็นปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดความแตกต่างกันในด้านสีสันของเสียงในลักษณะที่มีความสัมพัน ธ์กัน 6. คีตลักษณ์ (Forms) คีตลักษณ์หรือรูปแบบของเพลง เปรียบเสมือนกรอบที่หลอมรวมเอาจังหวะ ทานอง พื้นผิว และสีสันของเสียงให้เคลื่อนที่ไปในทิศทางเดียวกัน เพลงที่มีขนาด สั้น-ยาว วนกลับไปมา ล้วนเป็นสาระสาคัญของคีตลักษณ์ทั้งสิ้น การแบ่งประเภทของดนตรีตามหลักสากล ดนตรีที่ขับร้องและบรรเลงอยู่ในปัจจุบัน อาจแบ่งได้เป็น 3 ประเภทใหญ่ ๆ ดังนี้ 1. ดนตรีพื้นเมืองหรือดนตรีพื้นบ้าน (FolkMusic) ดนตรีพื้นบ้าน เป็นดนตรีที่มีอยู่ตามท้องถิ่นต่าง ๆ เครื่องดนตรีที่ใช้ ส่วนใหญ่เป็นเครื่องดนตรีประเภทเครื่องตี ซึ่งอาจจะเป็นฉิ่ง ฉาบ กรับ โหม่ง โทน รามะนา กลองยาว และอาจจะมีเครื่องดนตรีชนิดอื่นที่ใช้บรรเลงทานองประกอบด้วย ได้แก่ สะล้อซอ ซึง แคน เป็นต้น มีท่วงทานองสั้น ๆ ซ้า ๆ วนไปวนมา โดยเปลี่ยนแต่เนื้อร้อง ภาษาที่ใช้ในการขับร้องจะเป็นภาษาประจาถิ่น 2. ดนตรีแบบฉบับ (ClassicalMusic) ดนตรีแบบฉบับเป็นดนตรีของชนชาติใดก็ตามที่ได้รับการพัฒนามาจนเป็นดนตรีชั้นสูง เป็นดนตรีที่มีความโดดเด่นถึงขั้นเป็นแบบฉบับของชนชาตินั้นได้ เช่น ดนตรีไทย ซึ่งเดิมเป็นดนตรีพื้นเมืองของภาคกลางที่ได้รับการพัฒนาและนาเข้าไปเล่นในราชสานัก ต่อมาได้รับการปรับปรุงจากครูดนตรีหลายท่านจนเป็นที่ยอมรับว่าเป็นดนตรีชั้นสูงมีความไพเราะ ดนตรีประเภทนี้นิยมเรียกทับศัพท์ว่า ดนตรีคลาสสิก อาจารย์สุกรี เจริญสุข ได้อธิบายความหมายของดนตรีคลาสสิกไว้ว่า “ดนตรีคลาสสิก หมายถึง ดนตรีที่มีความงาม ความไพเราะในเรื่องของเสียงโดยที่ ผู้ประพันธ์เพลงได้ประพันธ์ขึ้นอย่างวิจิตรพิสดาร มุ่งในเรื่องของความไพเราะ มีคุณค่า ในความงามของศิลปะ บรรเลงโดยนักดนตรีที่มีความสามารถที่ผ่านการฝึกมาโดยเฉพาะ และมีความสามารถสูงพอที่จะถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของเพลงออกสู่ผู้ฟังได้ สาหรับผู้ฟังนั้นต้องอาศัยสมาธิหรือความตั้งใจที่จะฟัง” 3. ดนตรีสมัยนิยมหรือดนตรีชนนิยม (Popular Music) ดนตรีสมัยนิยมเป็นดนตรีที่ได้รับความนิยมจากประชาชนทั่วไป เช่น ดนตรีไทยสากลทั้งเพลงลูกทุ่ง ลูกกรุง และวงดนตรีทั้งหลายในปัจจุบัน ดนตรีประเภทนี้จะมีเพลงซึ่งได้รับความนิยมอยู่ระยะเวลาหนึ่ง จากนั้นเพลงดังกล่าวก็จะเสื่อมความนิยมลง แล้วก็จะมีเพลงใหม่ ๆ ที่ได้รับความนิยมเข้าแทนที่บทเพลงของดนตรีสมัยนิยมถูกสร้างขึ้นด้วยวิธีที่ต่างกันบางเพลงนาทานองบ