SlideShare a Scribd company logo
1 of 62
Download to read offline
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
สำานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
๑๔ กรกฎาคม ๒๕๕๑
สารบัญ
หน้า
1
คำานำา
ทำาไมต้องเรียนศิลปะ ๑
เรียนรู้อะไรในศิลปะ ๑
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒
คุณภาพผู้เรียน ๓
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๗
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ ๗
สาระที่ ๒ ดนตรี ๑๘
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ ๓๐
อภิธานศัพท์ ๔๑
คณะผู้จัดทำา ๔๗
2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
ทำาไมต้องเรียนศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้
ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ
ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ
ชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำาไปสู่
การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง
อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้
เรียนรู้อะไรในศิลปะ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ
เข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของ
ศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง
ๆ ประกอบด้วยสาระสำาคัญ คือ
• ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศน
ธาตุ สร้างและนำาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก
จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้
เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม
เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
• ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออก
ทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตประจำาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และ
วัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี
ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความ
รู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี
กับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
• นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์
แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์
เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหว
ในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำาวัน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม
ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด
ต่องานศิลปะอย่างอิสระ
ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทย และสากล
สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่าง
สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำาวัน
มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี
ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาไทยและสากล
สาระที่ ๓ นาฏศิลป์
มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่าง
สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า
2
นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำาวัน
มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์
ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้อง
ถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล
คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำาแนกทัศนธาตุของ
สิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐาน
การใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูป
ร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้น งานโครงสร้าง
เคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว
เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถ
แสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง
• รู้และเข้าใจความสำาคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำาวัน
ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
• รู้และเข้าใจแหล่งกำาเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาท
หน้าที่ ความหมาย ความสำาคัญของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถ
ท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย
ให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและ
3
เคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของ
ตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจำาวัน
• รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ
เห็นความสำาคัญ และประโยชน์ของดนตรีต่อการ
ดำาเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น
• สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดง
ท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาท
ในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์
ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำาวัน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดง
ที่เหมาะสมกับวัย
• รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่น
ชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถ
เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการดำารงชีวิต
ของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ไทยตลอด
จนความสำาคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้
จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖
• รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสง
เงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด
อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน
ความสมดุล นำ้าหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะ
สมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานสื่อ
ผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้งสามารถ
สร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด
จินตนาการเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถ
เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์
ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัด
องค์ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพิ่มในงานปั้น การ
สื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น
4
ตลอดจน รู้และเข้าใจคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของ
คนในสังคม
• รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและ
สังคม อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และ
วัฒนธรรมที่มีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และ
บทบาทหน้าที่ รู้ถึงการเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของ
ทำานองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยค
และอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง ร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสด
อย่างง่าย ใช้และเก็บรักษา เครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน
เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่น
ดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอด
ความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทาง
นาฏศิลป์และ การเล่าเรื่อง
• รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี
วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่องราวดนตรี
ในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คุณค่าดนตรีที่มา
จากวัฒนธรรมต่างกัน เห็นความสำาคัญในการอนุรักษ์
• รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า
นาฏยศัพท์พื้นฐาน สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์
และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบ
เครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความ
สัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจำา
วัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึก
ของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์
• รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และ
การละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยใน
แต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี
เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
• รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิค
ที่หลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ
เพื่อสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์
5
รูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น
สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำาหนดขึ้นอย่างเหมาะสม
สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนำาเสนอ
ข้อมูลและมีความรู้ ทักษะที่จำาเป็นด้านอาชีพที่เกี่ยวข้องกันกับงาน
ทัศนศิลป์
• รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศน
ศิลป์ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างาน
ทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์
ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ
• รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ
อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้น
เทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์
บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มี
เครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูป
แบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรีกับ
ศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มี
ต่อบทเพลง สามารถนำาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้อย่างมีเหตุผล มี
ทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึง
อาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจ
บันเทิง เข้าใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม
• รู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรี
แต่ละวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำาให้งานดนตรีได้
รับการยอมรับ
• รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ
แปลความและสื่อสาร ผ่านการแสดง รวมทั้งพัฒนารูปแบบ
การแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ
การแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เรื่ององค์
ประกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจัดการแสดง นำาแนวคิดของ
การแสดงไปปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน
• รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผล
ต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้น
บ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ
ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทั้งสามารถ
ออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการ
6
แสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ ความสำาคัญ บทบาทของ
นาฏศิลป์ และละครในชีวิตประจำาวัน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖
• รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการ
สื่อความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และ
เนื้อหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์
และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหา
และแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปินทั้งไทยและ
สากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์
งานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและ
วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ด้วยหลักทฤษฎีวิจารณ์ศิลปะ
• วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและ
รูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทาง
วัฒนธรรมภูมิปัญญาระหว่างประเทศที่มีผลต่อการสร้างสรรค์
งานทัศนศิลป์ในสังคม
• รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และ
จำาแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เข้าใจ
อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์
และความรู้สึกที่ได้รับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน
เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทักษะใน
การร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค
การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สำาหรับประเมิน
คุณภาพการประพันธ์ การเล่นดนตรีของตนเอง
และผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม สามารถนำาดนตรีไประยุกต์ใช้ในงานอื่น
ๆ
• วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและ
สากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนว
ความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม
ของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมใน
การส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรี
7
• มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มใน
การแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่ สร้างสรรค์ละครสั้นใน
รูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และ
ละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแต่ง
กาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง
วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การ
ประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการ
เคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจำาวัน และนำามาประยุกต์
ใช้ในการแสดง
• เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย
และบทบาทของบุคคลสำาคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการ
ละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบ
การนำาการแสดงไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการ
อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ
ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๑
๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูป
ร่าง ลักษณะ และ
ขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบ
ตัว ใน
ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์
สร้างขึ้น
• รูปร่าง ลักษณะ และขนาด
ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวใน
ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้าง
ขึ้น
๒. บอกความรู้สึกที่มีต่อ
ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
รอบตัว
• ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมรอบตัว เช่น
รู้สึกประทับใจกับความงาม
ของบริเวณรอบอาคารเรียน
หรือรู้สึกถึง ความ
8
ไม่เป็นระเบียบ ของสภาพ
ภายในห้องเรียน
๓. มีทักษะพื้นฐานใน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง
งานทัศนศิลป์
• การใช้วัสดุ อุปกรณ์ เช่น ดิน
เหนียว ดิน
นำ้ามัน ดินสอ พู่กัน กระดาษ สี
เทียน สีนำ้า ดินสอสีสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๔. สร้างงานทัศนศิลป์
โดยการทดลองใช้สี ด้วย
เทคนิคง่าย ๆ
• การทดลองสีด้วยการใช้สีนำ้า
สีโปสเตอร์ สีเทียน
และสีจากธรรมชาติที่หาได้ใน
ท้องถิ่น
๕. วาดภาพระบายสี
ภาพธรรมชาติ
ตามความรู้สึกของตนเอง
• การวาดภาพระบายสีตาม
ความรู้สึก ของ
ตนเอง
ป.
๒
๑. บรรยายรูปร่าง รูปทรง
ที่พบในธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม
• รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม เช่น รูปกลม รี
สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ
กระบอก
๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู่ใน
สิ่งแวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น
สี รูปร่าง และรูปทรง
• เส้น สี รูปร่าง รูปทรงในสิ่ง
แวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์ประเภทต่าง ๆ เช่น งาน
วาด งานปั้น และงาน
พิมพ์ภาพ
๓. สร้างงานทัศนศิลป์
ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่
เน้นเส้น รูปร่าง
• เส้น รูปร่างในงานทัศนศิลป์
ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด
งานปั้น และงานพิมพ์ภาพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๒
๔. มีทักษะพื้นฐานใน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์
สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ
• การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงาน
ทัศนศิลป์ ๓ มิติ
๕. สร้างภาพปะติดโดย
การตัดหรือ ฉีก
กระดาษ
• ภาพปะติดจากกระดาษ
๖. วาดภาพเพื่อถ่ายทอด • การวาดภาพถ่ายทอดเรื่อง
9
เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว
ของตนเองและเพื่อนบ้าน
ราว
๗. เลือกงานทัศนศิลป์
และบรรยายถึงสิ่งที่มอง
เห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่อง
ราว
• เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศน
ศิลป์
๘. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์เป็นรูปแบบงาน
โครงสร้างเคลื่อนไหว
• งานโครงสร้างเคลื่อนไหว
ป.
๓
๑. บรรยาย รูปร่าง รูป
ทรงในธรรมชาติสิ่ง
แวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์
• รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ที่
ใช้สร้างผลงาน
เมื่อชมงานทัศนศิลป์
• วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างงาน
ทัศนศิลป์ประเภทงานวาด งาน
ปั้น งานพิมพ์ภาพ
๓. จำาแนกทัศนธาตุของ
สิ่งต่าง ๆ ใน
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง
เส้น สี รูปร่าง รูปทรง
และพื้นผิว
• เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว
ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
๔. วาดภาพ ระบายสี
สิ่งของรอบตัว
• การวาดภาพระบายสี สิ่งของ
รอบตัว ด้วยสี
เทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์
๕. มีทักษะพื้นฐาน ใน
การใช้วัสดุอุปกรณ์
สร้างสรรค์งานปั้น
• การใช้วัสดุอุปกรณ์ในงาน
ปั้น
๖. วาดภาพถ่ายทอด
ความคิดความรู้สึกจาก
เหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้
เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และ
พื้นผิว
• การใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง
สี และพื้นผิว
วาดภาพถ่ายทอดความคิด
ความรู้สึก
๗. บรรยายเหตุผลและ
วิธีการในการสร้างงาน
• วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิควิธีการ
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
10
ทัศนศิลป์ โดยเน้นถึง
เทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๓
๘. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่ง
ที่ควรปรับปรุงในงานทัศน
ศิลป์ของตนเอง
• การแสดงความคิดเห็นใน
งานทัศนศิลป์ของตนเอง
๙. ระบุ และจัดกลุ่มของ
ภาพตามทัศนธาตุที่เน้นใน
งานทัศนศิลป์นั้น ๆ
• การจัดกลุ่มของภาพตาม
ทัศนธาตุ
๑๐. บรรยายลักษณะรูป
ร่าง รูปทรง ใน
งานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ
ที่มีในบ้านและโรงเรียน
• รูปร่าง รูปทรง ในงาน
ออกแบบ
ป.
๔
๑. เปรียบเทียบรูป
ลักษณะของรูปร่าง รูปทรง
ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
• รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
๒. อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น
และสีวรรณะเย็นที่มีต่อ
อารมณ์ของมนุษย์
• อิทธิพลของสี วรรณะอุ่น
และวรรณะเย็น
๓. จำาแนกทัศนธาตุของ
สิ่งต่าง ๆ ใน
ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่อง
เส้น สี รูปร่าง รูปทรงพื้น
ผิว และพื้นที่ว่าง
• เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว
และพื้นที่ว่าง
ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ
งานทัศนศิลป์
๔. มีทักษะพื้นฐานใน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์
สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ
• การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง
งานพิมพ์ภาพ
๕. มีทักษะพื้นฐานใน
การใช้วัสดุ อุปกรณ์
• การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการ
วาดภาพระบายสี
11
สร้างสรรค์งานวาดภาพ
ระบายสี
๖. บรรยายลักษณะของ
ภาพโดยเน้น เรื่องการจัด
ระยะ ความลึก นำ้าหนักและ
แสงเงาในภาพ
• การจัดระยะความลึก นำ้า
หนักและแสงเงา
ในการวาดภาพ
๗. วาดภาพระบายสี
โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสี
วรรณะเย็น ถ่ายทอดความ
รู้สึกและจินตนาการ
• การใช้สีวรรณะอุ่นและใช้สี
วรรณะเย็น วาดภาพถ่ายทอด
ความรู้สึกและจินตนาการ
๘. เปรียบเทียบความคิด
ความรู้สึก ที่
ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์
ของตนเองและบุคคลอื่น
• ความเหมือนและความแตก
ต่างในงานทัศนศิลป์ความคิด
ความรู้สึกที่ถ่ายทอดในงาน
ทัศนศิลป์
๙. เลือกใช้วรรณะสีเพื่อ
ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
• การเลือกใช้วรรณะสีเพื่อ
ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๕
๑. บรรยายเกี่ยวกับ
จังหวะตำาแหน่ง
ของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏใน
สิ่งแวดล้อม และงานทัศน
ศิลป์
• จังหวะ ตำาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ
ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์
๒. เปรียบเทียบความ
แตกต่างระหว่างงานทัศน
ศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการที่ต่าง
กัน
• ความแตกต่างระหว่างงาน
ทัศนศิลป์
๓. วาดภาพ โดยใช้
เทคนิคของแสงเงา นำ้า
หนัก และวรรณะสี
• แสงเงา นำ้าหนัก และวรรณะ
สี
๔. สร้างสรรค์งานปั้น • การสร้างงานปั้นเพื่อ
12
จาก ดินนำ้ามัน หรือดิน
เหนียว โดยเน้นการ
ถ่ายทอดจินตนาการ
ถ่ายทอดจินตนาการด้วยการ
ใช้ดินนำ้ามันหรือดินเหนียว
๕. สร้างสรรค์งานพิมพ์
ภาพ โดยเน้น การจัดวาง
ตำาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ใน
ภาพ
• การจัดภาพในงานพิมพ์ภาพ
๖. ระบุปัญหาในการจัด
องค์ประกอบศิลป์
และการสื่อความหมายใน
งานทัศนศิลป์ของตนเอง
และบอกวิธีการปรับปรุง
งานให้ดีขึ้น
• การจัดองค์ประกอบศิลป์และ
การสื่อความหมาย ในงานทัศน
ศิลป์
๗. บรรยายประโยชน์
และคุณค่า ของ
งานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อ
ชีวิตของคน ใน
สังคม
• ประโยชน์และคุณค่าของ
งานทัศนศิลป์
ป.
๖
๑. ระบุสีคู่ตรงข้าม และ
อภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่
ตรงข้ามในการถ่ายทอด
ความคิดและอารมณ์
• วงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรง
ข้าม
๒. อธิบายหลักการจัด
ขนาดสัดส่วนความสมดุล
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
• หลักการจัดขนาด สัดส่วน
ความสมดุล ในงาน
ทัศนศิลป์
๓. สร้างงานทัศนศิลป์
จากรูปแบบ ๒
มิติ เป็น๓ มิติ โดยใช้หลัก
การ ของแสง
เงาและนำ้าหนัก
• งานทัศนศิลป์รูปแบบ ๒ มิติ
และ ๓ มิติ
13
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๖
๔. สร้างสรรค์งานปั้น
โดยใช้หลักการเพิ่มและ
ลด
• การใช้หลักการเพิ่มและลด
ในการสร้างสรรค์งานปั้น
๕. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์โดยใช้หลักการ ของรูป
และพื้นที่ว่าง
• รูปและพื้นที่ว่างในงานทัศน
ศิลป์
๖. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์โดยใช้ สีคู่
ตรงข้ามหลักการจัดขนาด
สัดส่วน และความสมดุล
• การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์
โดยใช้ สีคู่ตรง
ข้าม หลักการจัดขนาด
สัดส่วนและความสมดุล
๗. สร้างงานทัศนศิลป์
เป็นแผนภาพ แผนผัง และ
ภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอด
ความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยว
กับเหตุการณ์ต่าง ๆ
• การสร้างงานทัศนศิลป์เป็น
แผนภาพ แผนผัง และภาพ
ประกอบ
ม.
๑
๑. บรรยายความแตก
ต่างและความคล้ายคลึงกัน
ของงานทัศนศิลป์
และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความ
รู้เรื่องทัศนธาตุ
• ความแตกต่างและความ
คล้ายคลึงกัน ของทัศน
ธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่ง
แวดล้อม
๒. ระบุ และบรรยาย
หลักการออกแบบงานทัศน
ศิลป์ โดยเน้นความเป็น
เอกภาพความกลมกลืน
และความสมดุล
• ความเป็นเอกภาพ ความ
กลมกลืน ความสมดุล
๓. วาดภาพทัศนียภาพ
แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้
เป็น ๓ มิติ
• หลักการวาดภาพแสดง
ทัศนียภาพ
๔. รวบรวมงานปั้นหรือ
สื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว
๓ มิติโดยเน้นความเป็น
เอกภาพ ความกลมกลืน
และการสื่อถึงเรื่องราวของ
งาน
• เอกภาพความกลมกลืนของ
เรื่องราวในงานปั้นหรืองานสื่อ
ผสม
14
๕. ออกแบบรูปภาพ
สัญลักษณ์
หรือกราฟิกอื่น ๆ ใน
การนำาเสนอความคิดและ
ข้อมูล
• การออกแบบรูปภาพ
สัญลักษณ์ หรือ
งานกราฟิก
๖. ประเมินงานทัศน
ศิลป์ และบรรยายถึงวิธี
การปรับปรุงงานของ
ตนเองและผู้อื่นโดยใช้
เกณฑ์ที่กำาหนดให้
• การประเมินงานทัศนศิลป์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๒
๑. อภิปรายเกี่ยวกับทัศน
ธาตุในด้านรูปแบบ และ
แนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่
เลือกมา
• รูปแบบของทัศนธาตุและ
แนวคิดในงานทัศนศิลป์
๒. บรรยายเกี่ยวกับ
ความเหมือนและความแตก
ต่างของรูปแบบการใช้
วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศน
ศิลป์ของศิลปิน
• ความเหมือนและความแตก
ต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ
อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์
ของศิลปิน
๓. วาดภาพด้วยเทคนิค
ที่หลากหลาย ใน
การสื่อความหมายและ
เรื่องราวต่าง ๆ
• เทคนิคในการวาดภาพสื่อ
ความหมาย
๔. สร้างเกณฑ์ในการ
ประเมิน
และวิจารณ์งานทัศนศิลป์
• การประเมินและวิจารณ์งาน
ทัศนศิลป์
๕. นำาผลการวิจารณ์ไป
ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา
งาน
• การพัฒนางานทัศนศิลป์
• การจัดทำาแฟ้มสะสมงาน
ทัศนศิลป์
๖. วาดภาพแสดง
บุคลิกลักษณะ
ของตัวละคร
• การวาดภาพถ่ายทอด
บุคลิกลักษณะ ของตัว
ละคร
๗. บรรยายวิธีการใช้ • งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา
15
งานทัศนศิลป์
ในการโฆษณาเพื่อโน้ม
น้าวใจ และนำา
เสนอตัวอย่างประกอบ
ม.
๓
๑. บรรยายสิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา
โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน
ธาตุ และหลักการออกแบบ
• ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ
ในสิ่งแวดล้อม
และงานทัศนศิลป์
๒. ระบุ และบรรยาย
เทคนิค วิธีการ ของศิลปิน
ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์
• เทคนิควิธีการของศิลปินใน
การสร้างงานทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห์ และ
บรรยายวิธีการใช้ ทัศน
ธาตุ และหลักการออกแบบ
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
ของตนเอง
ให้มีคุณภาพ
• วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลัก
การออกแบบในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๔. มีทักษะในการสร้าง
งานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓
ประเภท
• การสร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง
ไทยและสากล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๓
๕. มีทักษะในการผสม
ผสานวัสดุต่าง ๆ ในการ
สร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้
หลักการออกแบบ
• การใช้หลักการออกแบบใน
การสร้างงานสื่อผสม
๖. สร้างงานทัศนศิลป์
ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ
เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์
และจินตนาการ
• การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ ๒
มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอด
ประสบการณ์ และจินตนาการ
๗. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์สื่อความหมายเป็น
เรื่องราว โดยประยุกต์ใช้
ทัศนธาตุ และหลักการ
ออกแบบ
• การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ
หลักการออกแบบสร้างงาน
ทัศนศิลป์
16
๘. วิเคราะห์และ
อภิปรายรูปแบบ เนื้อหา
และคุณค่าในงานทัศน
ศิลป์ ของตนเอง
และผู้อื่น หรือของศิลปิน
• การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา
และคุณค่า ในงานทัศน
ศิลป์
๙. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์เพื่อบรรยาย
เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้
เทคนิค ที่
หลากหลาย
• การใช้เทคนิค วิธีการที่
หลากหลาย สร้าง
งานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความ
หมาย
๑๐. ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้อง
กับงานทัศนศิลป์และทักษะ
ที่จำาเป็นในการประกอบ
อาชีพนั้น ๆ
• การประกอบอาชีพทางทัศน
ศิลป์
๑๑. เลือกงานทัศนศิลป์
โดยใช้เกณฑ์ที่กำาหนดขึ้น
อย่างเหมาะสม และนำาไป
จัดนิทรรศการ
• การจัดนิทรรศการ
ม.
๔-
๖
๑. วิเคราะห์การใช้ทัศน
ธาตุ และหลักการออกแบบ
ในการสื่อความหมายใน
รูปแบบต่าง ๆ
• ทัศนธาตุและหลักการ
ออกแบบ
๒. บรรยายจุดประสงค์
และเนื้อหาของงานทัศน
ศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศน
ศิลป์
• ศัพท์ทางทัศนศิลป์
๓. วิเคราะห์การเลือก
ใช้วัสดุอุปกรณ์ และ
เทคนิคของศิลปินในการ
แสดงออกทางทัศนศิลป์
• วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิค
ของศิลปิน ในการ
แสดงออกทางทัศนศิลป์
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๔-
๖
๔. มีทักษะและเทคนิค
ในการใช้วัสดุอุปกรณ์
และกระบวนการที่สูงขึ้น
• เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์
กระบวนการในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์
17
ในการสร้างงานทัศนศิลป์
๕. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ
โดยเน้นหลักการออกแบบ
และการจัดองค์ประกอบ
ศิลป์
• หลักการออกแบบและการจัด
องค์ประกอบศิลป์ด้วย
เทคโนโลยี
๖. ออกแบบงานทัศน
ศิลป์ได้เหมาะกับโอกาส
และสถานที่
• การออกแบบงานทัศนศิลป์
๗. วิเคราะห์และอธิบาย
จุดมุ่งหมาย ของ
ศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ
อุปกรณ์ เทคนิคและ
เนื้อหา เพื่อสร้างสรรค์งาน
ทัศนศิลป์
• จุดมุ่งหมายของศิลปินในการ
เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค
และเนื้อหา ในการสร้างงาน
ทัศนศิลป์
๘. ประเมินและวิจารณ์
งานทัศนศิลป์ โดยใช้
ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
• ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ
๙. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์
เพื่อสะท้อนพัฒนาการและ
ความก้าวหน้าของตนเอง
• การจัดทำาแฟ้มสะสมงาน
ทัศนศิลป์
๑๐. สร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์ไทย สากล
โดยศึกษาจากแนวคิดและ
วิธีการ สร้างงาน
ของศิลปินที่ตนชื่นชอบ
• การสร้างงานทัศนศิลป์จาก
แนวคิดและวิธีการของศิลปิน
๑๑. วาดภาพ ระบายสี
เป็นภาพล้อเลียน
หรือภาพการ์ตูนเพื่อแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับ
สภาพสังคมในปัจจุบัน
• การวาดภาพล้อเลียนหรือ
ภาพการ์ตูน
18
สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์
มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์
ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า
งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้อง
ถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๑
๑. ระบุงานทัศนศิลป์ใน
ชีวิตประจำาวัน
• งานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำา
วัน
ป.
๒
๑. บอกความสำาคัญของ
งานทัศนศิลป์
ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน
• ความสำาคัญของงานทัศนศิลป์
ในชีวิต ประจำาวัน
๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน
ทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆ
ในท้องถิ่นโดยเน้นถึงวิธี
การสร้างงานและวัสดุ
อุปกรณ์ ที่ใช้
• งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ป.
๓
๑. เล่าถึงที่มาของงาน
ทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
• ที่มาของงานทัศนศิลป์ใน
ท้องถิ่น
๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุ
อุปกรณ์และวิธีการสร้าง
งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
• วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ
สร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น
ป.
๔
๑. ระบุ และอภิปรายเกี่ยว
กับงานทัศนศิลป์ ใน
เหตุการณ์ และงานเฉลิม
ฉลอง ของ
วัฒนธรรมในท้องถิ่น
• งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรม
ท้องถิ่น
๒. บรรยายเกี่ยวกับงาน
ทัศนศิลป์ ที่มา
จากวัฒนธรรมต่าง ๆ
• งานทัศนศิลป์จากวัฒนธรรม
ต่าง ๆ
ป.
๕
๑. ระบุ และบรรยาย
เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ
ของงานทัศนศิลป์ในแหล่ง
• ลักษณะรูปแบบของงานทัศน
ศิลป์
19
เรียนรู้หรือนิทรรศการ
ศิลปะ
๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน
ทัศนศิลป์ ที่
สะท้อนวัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญา
ในท้องถิ่น
• งานทัศนศิลป์ที่สะท้อน
วัฒนธรรมและ
ภูมิปัญญาในท้องถิ่น
ป.
๖
๑. บรรยายบทบาทของ
งานทัศนศิลป์ ที่
สะท้อนชีวิตและสังคม
• บทบาทของงานทัศนศิลป์ใน
ชีีวิต และสังคม
๒. อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของ
ความเชื่อความศรัทธาใน
ศาสนาที่มีผลต่องานทัศน
ศิลป์ในท้องถิ่น
• อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อ
งานทัศนศิลป์ ในท้อง
ถิ่น
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๖
๓. ระบุ และบรรยาย
อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน
ท้องถิ่นที่มีผลต่อการสร้าง
งานทัศนศิลป์ของบุคคล
• อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน
ท้องถิ่นที่มีผล ต่อการ
สร้างงานทัศนศิลป์
ม.
๑
๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยว
กับลักษณะ รูปแบบงานทัศน
ศิลป์ของชาติและของท้อง
ถิ่นตนเองจากอดีตจนถึง
ปัจจุบัน
• ลักษณะ รูปแบบงานทัศน
ศิลป์ของชาติและท้องถิ่น
๒. ระบุ และเปรียบเทียบ
งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง
ๆ ในประเทศไทย
• งานทัศนศิลป์ภาคต่าง ๆ
ในประเทศไทย
๓. เปรียบเทียบความ
แตกต่างของจุดประสงค์ใน
การสร้างสรรค์งานทัศน
ศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและ
สากล
• ความแตกต่างของงานทัศน
ศิลป์ ใน
วัฒนธรรมไทยและสากล
20
ม.
๒
๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยว
กับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สะท้อน
ถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน
• วัฒนธรรมที่สะท้อนในงาน
ทัศนศิลป์ปัจจุบัน
๒. บรรยายถึงการ
เปลี่ยนแปลงของ
งานทัศนศิลป์ของไทยใน
แต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึง
แนวคิดและเนื้อหาของงาน
• งานทัศนศิลป์ของไทยใน
แต่ละยุคสมัย
๓. เปรียบเทียบแนวคิด
ในการออกแบบงานทัศน
ศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรม
ไทยและสากล
• การออกแบบงานทัศนศิลป์
ในวัฒนธรรมไทยและสากล
ม.
๓
๑. ศึกษาและอภิปราย
เกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่
สะท้อนคุณค่าของ
วัฒนธรรม
• งานทัศนศิลป์กับการสะท้อน
คุณค่า ของ
วัฒนธรรม
๒. เปรียบเทียบความ
แตกต่างของ
งานทัศนศิลป์ในแต่ละยุค
สมัย ของ
วัฒนธรรมไทยและสากล
• ความแตกต่างของงานทัศน
ศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของ
วัฒนธรรมไทยและสากล
ม.
๔-
๖
๑. วิเคราะห์ และเปรียบ
เทียบงานทัศนศิลป์ในรูป
แบบตะวันออกและรูปแบบ
ตะวันตก
• งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวัน
ออกและตะวันตก
๒. ระบุงานทัศนศิลป์ของ
ศิลปินที่มีชื่อเสียง และ
บรรยายผลตอบรับของ
สังคม
• งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่
มีชื่อเสียง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๔-
๖
๓. อภิปรายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของวัฒนธรรม
ระหว่างประเทศที่มีผลต่อ
งานทัศนศิลป์ในสังคม
• อิทธิพลของวัฒนธรรม
ระหว่างประเทศ ที่มีผล
ต่องานทัศนศิลป์
21
สาระที่ ๒ ดนตรี
มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์
วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี
ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม
และประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำาวัน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๑
๑. รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ สามารถ
ก่อกำาเนิดเสียง
• การกำาเนิดของเสียง
- เสียงจากธรรมชาติ
22
ที่แตกต่างกัน - แหล่งกำาเนิดของเสียง
- สีสันของเสียง
๒. บอกลักษณะของเสียง
ดัง-เบา และความช้า- เร็ว
ของจังหวะ
• ระดับเสียงดัง-เบา
(Dynamic)
• อัตราความเร็วของ
จังหวะ Tempo
๓. ท่องบทกลอน ร้อง
เพลงง่าย ๆ
• การอ่านบทกลอนประกอบ
จังหวะ
• การร้องเพลงประกอบ
จังหวะ
๔. มีส่วนร่วมในกิจกรรม
ดนตรีอย่างสนุกสนาน
• กิจกรรมดนตรี
- การร้องเพลง
- การเคาะจังหวะ
- การเคลื่อนไหวประกอบ
บทเพลง
o ตามความดัง- เบา
ของบทเพลง
o ตามความช้าเร็ว
ของจังหวะ
๕. บอกความเกี่ยวข้อง
ของเพลงที่ใช้
ในชีวิตประจำาวัน
• เพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน
- เพลงกล่อมเด็ก
- บทเพลงประกอบการละ
เล่น
- เพลงสำาคัญ (เพลงชาติ
ไทย เพลง
สรรเสริญพระบารมี)
ป.
๒
๑. จำาแนกแหล่งกำาเนิด
ของเสียงที่ได้ยิน
• สีสันของเสียงเครื่องดนตรี
• สีสันของเสียงมนุษย์
๒. จำาแนกคุณสมบัติของ
เสียง สูง- ตำ่า , ดัง-
เบา ยาว-สั้น ของดนตรี
• การฝึกโสตประสาท การ
จำาแนกเสียง สูง-ตำ่า
ดัง-เบา ยาว-สั้น
23
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๒
๓. เคาะจังหวะหรือ
เคลื่อนไหวร่างกาย
ให้สอดคล้องกับเนื้อหาของ
เพลง
• การเคลื่อนไหวประกอบ
เนื้อหาในบทเพลง
• การเล่นเครื่องดนตรี
ประกอบเพลง
๔. ร้องเพลงง่าย ๆ ที่
เหมาะสมกับวัย
• การขับร้อง
๕. บอกความหมายและ
ความสำาคัญ ของ
เพลงที่ได้ยิน
• ความหมายและความ
สำาคัญของเพลง ที่
ได้ยิน
- เพลงปลุกใจ
- เพลงสอนใจ
ป.
๓
๑. ระบุรูปร่างลักษณะ
ของเครื่องดนตรี ที่
เห็นและได้ยินในชีวิตประจำา
วัน
• รูปร่างลักษณะของเครื่อง
ดนตรี
• เสียงของเครื่องดนตรี
๒. ใช้รูปภาพหรือ
สัญลักษณ์แทนเสียง และ
จังหวะเคาะ
• สัญลักษณ์แทนคุณสมบัติ
ของเสียง (สูง-ตำ่า ดัง-เบา
ยาว-สั้น)
• สัญลักษณ์แทนรูปแบบ
จังหวะ
๓. บอกบทบาทหน้าที่ของ
เพลงที่ได้ยิน
• บทบาทหน้าที่ของบทเพลง
สำาคัญ
- เพลงชาติ
- เพลงสรรเสริญพระ
บารมี
- เพลงประจำาโรงเรียน
๔. ขับร้องและบรรเลง
ดนตรีง่าย ๆ
• การขับร้องเดี่ยวและหมู่
• การบรรเลงเครื่องดนตรี
ประกอบเพลง
๕. เคลื่อนไหวท่าทาง
สอดคล้องกับอารมณ์ของ
เพลงที่ฟัง
• การเคลื่อนไหวตามอารมณ์
ของบทเพลง
๖. แสดงความคิดเห็น • การแสดงความคิดเห็นเกี่ยว
24
เกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับ
ร้องของตนเองและผู้อื่น
กับเสียงร้องและเสียงดนตรี
- คุณภาพเสียงร้อง
- คุณภาพเสียงดนตรี
๗. นำาดนตรีไปใช้ในชีวิต
ประจำาวันหรือโอกาสต่าง ๆ
ได้อย่างเหมาะสม
• การใช้ดนตรีในโอกาส
พิเศษ
- ดนตรีในงานรื่นเริง
- ดนตรีในการฉลองวัน
สำาคัญของชาติ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๔
๑. บอกประโยคเพลงอย่าง
ง่าย
• โครงสร้างของบทเพลง
- ความหมายของประโยค
เพลง
- การแบ่งประโยคเพลง
๒. จำาแนกประเภทของ
เครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่
ฟัง
• ประเภทของเครื่องดนตรี
• เสียงของเครื่องดนตรีแต่ละ
ประเภท
๓. ระบุทิศทางการ
เคลื่อนที่ขึ้น – ลงง่าย ๆ
ของทำานอง รูปแบบจังหวะ
และความเร็ว
ของจังหวะในเพลงที่ฟัง
• การเคลื่อนที่ขึ้น - ลงของ
ทำานอง
• รูปแบบจังหวะของทำานอง
จังหวะ
• รูปแบบจังหวะ
• ความช้า - เร็วของจังหวะ
๔. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี
ไทยและสากล
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
- กุญแจประจำาหลัก
- บรรทัดห้าเส้น
- โน้ตและเครื่องหมาย
หยุด
- เส้นกั้นห้อง
• โครงสร้างโน้ตเพลงไทย
- การแบ่งห้อง
- การแบ่งจังหวะ
25
๕. ร้องเพลงโดยใช้ช่วง
เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง
• การขับร้องเพลงในบันได
เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง
๖. ใช้และเก็บเครื่อง
ดนตรีอย่างถูกต้องและ
ปลอดภัย
• การใช้และการดูแลรักษา
เครื่องดนตรี ของตน
๗. ระบุว่าดนตรีสามารถ
ใช้ในการสื่อเรื่องราว
• ความหมายของเนื้อหาใน
บทเพลง
ป.
๕
๑. ระบุองค์ประกอบ
ดนตรีในเพลงที่ใช้ในการ
สื่ออารมณ์
• การสื่ออารมณ์ของบทเพลง
ด้วยองค์ประกอบดนตรี
- จังหวะกับอารมณ์ของ
บทเพลง
- ทำานองกับอารมณ์ของ
บทเพลง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๕
๒. จำาแนกลักษณะของ
เสียงขับร้องและเครื่องดนตรี
ที่อยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง
ๆ
• ลักษณะของเสียงนักร้อง
กลุ่มต่าง ๆ
• ลักษณะเสียงของวงดนตรี
ประเภทต่าง ๆ
๓. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี
ไทยและสากล ๕
ระดับเสียง
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
- บันไดเสียง ๕ เสียง
Pentatonic scale
- โน้ตเพลงในบันไดเสียง
๕ เสียง Pentatonic
scale
๔. ใช้เครื่องดนตรี
บรรเลงจังหวะ และทำานอง
• การบรรเลงเครื่องประกอบ
จังหวะ
• การบรรเลงทำานองด้วย
เครื่องดนตรี
๕. ร้องเพลงไทยหรือ
เพลงสากลหรือเพลง
ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย
• การร้องเพลงไทยในอัตรา
จังหวะสองชั้น
• การร้องเพลงสากล หรือ
26
ไทยสากล
• การร้องเพลงประสานเสียง
แบบ Canon
Round
๖. ด้นสดง่าย ๆ โดยใช้
ประโยคเพลง
แบบถามตอบ
• การสร้างสรรค์ประโยค
เพลงถาม-ตอบ
๗. ใช้ดนตรีร่วมกับ
กิจกรรมในการแสดงออก
ตามจินตนาการ
• การบรรเลงดนตรีประกอบ
กิจกรรมนาฏศิลป์
• การสร้างสรรค์เสียง
ประกอบการเล่าเรื่อง
ป.
๖
๑. บรรยายเพลงที่ฟัง
โดยอาศัยองค์ประกอบ
ดนตรี และศัพท์สังคีต
• องค์ประกอบดนตรีและ
ศัพท์สังคีต
๒. จำาแนกประเภทและ
บทบาทหน้าที่
เครื่องดนตรีไทยและเครื่อง
ดนตรีที่
มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
• เครื่องดนตรีไทยแต่ละภาค
• บทบาทและหน้าที่ของ
เครื่องดนตรี
• ประเภทของเครื่องดนตรี
สากล
๓. อ่าน เขียนโน้ตไทย
และโน้ตสากลทำานองง่าย ๆ
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
• โน้ตบทเพลงไทย อัตรา
จังหวะสองชั้น
• โน้ตบทเพลงสากลในบันได
เสียง C Major
๔. ใช้เครื่องดนตรี
บรรเลงประกอบ
การร้องเพลง ด้นสด ที่มี
จังหวะและทำานองง่าย ๆ
• การร้องเพลงประกอบ
ดนตรี
• การสร้างสรรค์รูปแบบ
จังหวะและทำานองด้วยเครื่อง
ดนตรี
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.
๖
๕. บรรยายความรู้สึกที่มี
ต่อดนตรี
• การบรรยายความรู้สึกและ
แสดงความคิดเห็นที่มีต่อ
บทเพลง๖. แสดงความคิดเห็น
27
เกี่ยวกับทำานอง จังหวะการ
ประสานเสียง และคุณภาพ
เสียงของเพลงที่ฟัง
- เนื้อหาในบทเพลง
- องค์ประกอบในบทเพลง
- คุณภาพเสียงใน
บทเพลง
ม.
๑
๑. อ่าน เขียน ร้องโน้ต
ไทย และโน้ตสากล
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
- โน้ตบทเพลงไทย อัตรา
จังหวะสองชั้น
- โน้ตสากล ในกุญแจ
ซอลและฟา ใน
บันไดเสียง C Major
๒. เปรียบเทียบเสียงร้อง
และเสียง ของ
เครื่องดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรม ที่
ต่างกัน
• เสียงร้องและเสียงของ
เครื่องดนตรี ใน
บทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ
- วิธีการขับร้อง
- เครื่องดนตรีที่ใช้
๓. ร้องเพลงและใช้
เครื่องดนตรีบรรเลง
ประกอบการร้องเพลงด้วย
บทเพลง ที่
หลากหลายรูปแบบ
• การร้องและการบรรเลง
เครื่องดนตรีประกอบการร้อง
- บทเพลงพื้นบ้าน
บทเพลงปลุกใจ
- บทเพลงไทยเดิม
- บทเพลงประสานเสียง
๒ แนว
- บทเพลงรูปแบบ ABA
- บทเพลงประกอบการ
เต้นรำา
๔. จัดประเภทของวง
ดนตรีไทยและ วง
ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม
ต่าง ๆ
• วงดนตรีพื้นเมือง
• วงดนตรีไทย
• วงดนตรีสากล
๕. แสดงความคิดเห็นที่มี
ต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มี
ความเร็วของจังหวะ
และความดัง - เบา แตกต่าง
กัน
• การถ่ายทอดอารมณ์ของ
บทเพลง
- จังหวะกับอารมณ์เพลง
- ความดัง-เบากับอารมณ์
เพลง
28
- ความแตกต่างของ
อารมณ์เพลง
๖. เปรียบเทียบอารมณ์
ความรู้สึกในการ ฟังดนตรี
แต่ละประเภท
๗. นำาเสนอตัวอย่างเพลง
ที่ตนเองชื่นชอบ และ
อภิปรายลักษณะเด่นที่
ทำาให้งานนั้นน่าชื่นชม
• การนำาเสนอบทเพลงที่ตน
สนใจ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๑
๘. ใช้เกณฑ์สำาหรับ
ประเมินคุณภาพ
งานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง
• การประเมินคุณภาพของ
บทเพลง
- คุณภาพด้านเนื้อหา
- คุณภาพด้านเสียง
- คุณภาพด้านองค์
ประกอบดนตรี
๙. ใช้และบำารุงรักษา
เครื่องดนตรี
อย่างระมัดระวังและรับผิด
ชอบ
• การใช้และบำารุงรักษาเครื่อง
ดนตรีของตน
ม.
๒
๑. เปรียบเทียบการใช้
องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก
วัฒนธรรมต่างกัน
• องค์ประกอบของดนตรีจาก
แหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ
๒. อ่าน เขียนร้องโน้ต
ไทย และโน้ตสากลที่มี
เครื่องหมายแปลงเสียง
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
- โน้ตจากเพลงไทยอัตรา
จังหวะสองชั้น
- โน้ตสากล (เครื่องหมาย
แปลงเสียง)
๓. ระบุปัจจัยสำาคัญที่มี
อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์
งานดนตรี
• ปัจจัยในการสร้างสรรค์
บทเพลง
- จินตนาการในการ
สร้างสรรค์บทเพลง
- การถ่ายทอดเรื่องราว
29
ความคิด
ในบทเพลง
๔. ร้องเพลง และเล่น
ดนตรีเดี่ยวและรวมวง
• เทคนิคการร้องและบรรเลง
ดนตรี
- การร้องและบรรเลง
เดี่ยว
- การร้องและบรรเลงเป็น
วง
๕. บรรยายอารมณ์ของ
เพลงและความรู้สึกที่มีต่อ
บทเพลงที่ฟัง
• การบรรยายอารมณ์และ
ความรู้สึกในบทเพลง
๖. ประเมิน พัฒนาการ
ทักษะทางดนตรีของตนเอง
หลังจากการฝึกปฏิบัติ
• การประเมินความสามารถ
ทางดนตรี
- ความถูกต้องในการ
บรรเลง
- ความแม่นยำาในการ
อ่านเครื่องหมายและ
สัญลักษณ์
- การควบคุมคุณภาพ
เสียงในการร้องและ
บรรเลง
๗. ระบุงานอาชีพต่าง ๆ
ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ
บทบาทของดนตรีในธุรกิจ
บันเทิง
• อาชีพทางด้านดนตรี
• บทบาทของดนตรีในธุรกิจ
บันเทิง
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.
๓
๑. เปรียบเทียบองค์
ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี
และงานศิลปะอื่น
• การเปรียบเทียบองค์
ประกอบในงานศิลปะ
- การใช้องค์ประกอบใน
การสร้างสรรค์งาน
ดนตรีและศิลปะแขนง
30
อื่น
- เทคนิคที่ใช้ในการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
และศิลปะแขนงอื่น
๒. ร้องเพลง เล่นดนตรี
เดี่ยว และรวมวง โดยเน้น
เทคนิคการร้อง การเล่น การ
แสดงออก และคุณภาพสียง
• เทคนิคและการแสดงออก
ในการขับร้องและบรรเลง
ดนตรีเดี่ยวและรวมวง
๓. แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะ
ง่าย ๆ
• อัตราจังหวะ ๒ และ ๔
๔
๔
• การประพันธ์เพลงในอัตรา
จังหวะ ๒ และ ๔
๔ ๔
๔. อธิบายเหตุผลในการ
เลือกใช้องค์ประกอบดนตรี
ในการสร้างสรรค์
งานดนตรีของตนเอง
• การเลือกใช้องค์ประกอบ
ในการสร้างสรรค์บทเพลง
- การเลือกจังหวะเพื่อ
สร้างสรรค์
บทเพลง
- การเรียบเรียงทำานอง
เพลง
๕. เปรียบเทียบความแตก
ต่างระหว่าง
งานดนตรีของตนเองและผู้
อื่น
• การเปรียบเทียบความแตก
ต่างของบทเพลง
- สำาเนียง
- อัตราจังหวะ
- รูปแบบบทเพลง
- การประสานเสียง
- เครื่องดนตรีที่บรรเลง
๖. อธิบายเกี่ยวกับ
อิทธิพลของดนตรี
ที่มีต่อบุคคลและสังคม
• อิทธิพลของดนตรี
- อิทธิพลของดนตรีต่อ
บุคคล
- อิทธิพลของดนตรีต่อ
สังคม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
31
ม.
๓
๗. นำาเสนอหรือจัดการ
แสดงดนตรี ที่
เหมาะสมโดยการบูรณาการ
กับสาระ การเรียนรู้อื่นใน
กลุ่มศิลปะ
• การจัดการแสดงดนตรีใน
วาระต่าง ๆ
- การเลือกวงดนตรี
- การเลือกบทเพลง
- การเลือกและจัดเตรียม
สถานที่
- การเตรียมบุคลากร
- การเตรียมอุปกรณ์
เครื่องมือ
- การจัดรายการแสดง
ม.
๔-
๖
๑. เปรียบเทียบรูปแบบ
ของบทเพลงและ วงดนตรี
แต่ละประเภท
• การจัดวงดนตรี
- การใช้เครื่องดนตรีใน
วงดนตรีประเภทต่างๆ
- บทเพลงที่บรรเลงโดย
วงดนตรีประเภทต่างๆ
๒. จำาแนกประเภทและ
รูปแบบของ วง
ดนตรีทั้งไทยและสากล
• ประเภทของวงดนตรี
- ประเภทของวงดนตรี
ไทย
- ประเภทของวงดนตรี
สากล
๓. อธิบายเหตุผลที่คน
ต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์
งานดนตรีแตกต่างกัน
• ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผล
งานดนตรี ในแต่ละ
วัฒนธรรม
- ความเชื่อกับการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
- ศาสนากับการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
- วิถีชีวิตกับการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
- เทคโนโลยีกับการ
สร้างสรรค์งานดนตรี
๔. อ่าน เขียน โน้ตดนตรี
ไทยและสากล
ในอัตราจังหวะต่าง ๆ
• เครื่องหมายและสัญลักษณ์
ทางดนตรี
- เครื่องหมายกำาหนด
32
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1teerachon
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4Panomporn Chinchana
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3ทศพล พรหมภักดี
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยKhunnawang Khunnawang
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายkrurutsamee
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1KruKaiNui
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานPrincess Chulabhon's College Chonburi
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะkrupornpana55
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...Prachoom Rangkasikorn
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2teerachon
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)kroofon fon
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101thnaporn999
 

What's hot (20)

O-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติO-NET ม.6-สถิติ
O-NET ม.6-สถิติ
 
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
แบบทดสอบ ศิลปะ ม.1
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4เอกสารประกอบการเรียน  วิชานาฏศิลป์  หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
เอกสารประกอบการเรียน วิชานาฏศิลป์ หลักการชมการแสดงนาฏศิลป์และละคร ม.4
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
กิจกรรมลดเวลาเรียน เพิ่มเวลารู้ ป.1 ป.3
 
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลยข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
ข้อสอบวิชาศิลปะ ม.3 ฉบับที่ 1 พร้อมเฉลย
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจายเฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
เฉลยการวัดตำแหน่งและกระจาย
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐานใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
ใบความรู้ที่ 2 เรื่อง การประเมินและการตีความหลักฐาน
 
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
SlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะSlชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
Slชุดฝึกเฉลยแบบฝึกทักษะ
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
แบบทดสอบ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ม.2
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
กิจกรรมสะเต็มศึกษา (สสวท.)
 
ข้อสอบ ม.4 ส41101
ข้อสอบ ม.4  ส41101ข้อสอบ ม.4  ส41101
ข้อสอบ ม.4 ส41101
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4 อำนาจ ศรีทิม
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9 khomkrit2511
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8 khomkrit2511
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55Yatphirun Phuangsuwan
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยnasaporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔kalayatookta
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วงอภิชิต กลีบม่วง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยBoonlert Aroonpiboon
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7 khomkrit2511
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงครูเย็นจิตร บุญศรี
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...Kruple Ratchanon
 

Similar to มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ (20)

คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4 คำอธิบายรายวิชาดนตรี   นาฎศิลป์ ม.4
คำอธิบายรายวิชาดนตรี นาฎศิลป์ ม.4
 
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลายหลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรศิลปะ มัธยมศึกษาตอนปลาย
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9  สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
สาระที่ 2 หน่วยที่ 9
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5ใบงานวิชาดนตรี ม.5
ใบงานวิชาดนตรี ม.5
 
THAI DANCE
THAI  DANCETHAI  DANCE
THAI DANCE
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8  สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
สาระที่ 2 หน่วยที่ 8
 
หน้า 1
หน้า 1หน้า 1
หน้า 1
 
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
แผนดนตรีส่งพี่ทัศน์ใหม่จ้า55
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทยที่มาของนาฏศิลป์ไทย
ที่มาของนาฏศิลป์ไทย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔
 
P97926870419
P97926870419P97926870419
P97926870419
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วงแผนการจัดการเรียนรู้ที่  1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5  ครูอภิชิต กลีบม่วง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ศ 32101 วิชาดนตรี ม.5 ครูอภิชิต กลีบม่วง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
Asean Lesson Plan
Asean Lesson PlanAsean Lesson Plan
Asean Lesson Plan
 
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7  สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
สาระที่ 2 หน่วยที่ 7
 
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดงเอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
เอกสารประกอบการเรียน ชุดที่ 1-ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และการแสดง
 
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
ครูเย็นจิตร บุญศรี เอกสารประกอบการเรียนเรื่อง ประวัติบุคคลสำคัญในนาฏศิลป์และก...
 

More from Boonlert Aroonpiboon (20)

Excel quiz
Excel quizExcel quiz
Excel quiz
 
Scival for Research Performance
Scival for Research PerformanceScival for Research Performance
Scival for Research Performance
 
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-420190726 icde-session-chularat-nstda-4
20190726 icde-session-chularat-nstda-4
 
20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup20190409 social-media-backup
20190409 social-media-backup
 
20190220 open-library
20190220 open-library20190220 open-library
20190220 open-library
 
20190220 digital-archives
20190220 digital-archives20190220 digital-archives
20190220 digital-archives
 
OER KKU Library
OER KKU LibraryOER KKU Library
OER KKU Library
 
Museum digital-code
Museum digital-codeMuseum digital-code
Museum digital-code
 
OER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success StoryOER MOOC - Success Story
OER MOOC - Success Story
 
LAM Code of conduct
LAM Code of conductLAM Code of conduct
LAM Code of conduct
 
RLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOCRLPD - OER MOOC
RLPD - OER MOOC
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
New Technology for Information Services
New Technology for Information ServicesNew Technology for Information Services
New Technology for Information Services
 
digital law for GLAM
digital law for GLAMdigital law for GLAM
digital law for GLAM
 
20180919 digital-collections
20180919 digital-collections20180919 digital-collections
20180919 digital-collections
 
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
Field-Weighted Citation Impact (FWCI)
 
20180828 digital-archives
20180828 digital-archives20180828 digital-archives
20180828 digital-archives
 
Local Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How toLocal Wisdom Information : How to
Local Wisdom Information : How to
 
201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup201403 etda-library-settup
201403 etda-library-settup
 
201403 etda-library
201403 etda-library201403 etda-library
201403 etda-library
 

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

  • 2. คำานำา ทำาไมต้องเรียนศิลปะ ๑ เรียนรู้อะไรในศิลปะ ๑ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ๒ คุณภาพผู้เรียน ๓ ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ๗ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ ๗ สาระที่ ๒ ดนตรี ๑๘ สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ ๓๐ อภิธานศัพท์ ๔๑ คณะผู้จัดทำา ๔๗ 2
  • 3. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ทำาไมต้องเรียนศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเป็นกลุ่มสาระที่ช่วยพัฒนาให้ ผู้เรียนมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ มีจินตนาการทางศิลปะ ชื่นชมความงาม มีสุนทรียภาพ ความมีคุณค่า ซึ่งมีผลต่อคุณภาพ ชีวิตมนุษย์ กิจกรรมทางศิลปะช่วยพัฒนาผู้เรียนทั้งด้านร่างกาย จิตใจ สติปัญญา อารมณ์ สังคม ตลอดจน การนำาไปสู่ การพัฒนาสิ่งแวดล้อม ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีความเชื่อมั่นในตนเอง อันเป็นพื้นฐาน ในการศึกษาต่อหรือประกอบอาชีพได้ เรียนรู้อะไรในศิลปะ กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะมุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนเกิดความรู้ความ เข้าใจ มีทักษะวิธีการทางศิลปะ เกิดความซาบซึ้งในคุณค่าของ ศิลปะ เปิดโอกาสให้ผู้เรียนแสดงออกอย่างอิสระในศิลปะแขนงต่าง ๆ ประกอบด้วยสาระสำาคัญ คือ • ทัศนศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบศิลป์ ทัศน ธาตุ สร้างและนำาเสนอผลงาน ทางทัศนศิลป์จาก จินตนาการ โดยสามารถใช้อุปกรณ์ที่เหมาะสม รวมทั้งสามารถใช้ เทคนิค วิธีการ ของศิลปินในการสร้างงานได้อย่างมี ประสิทธิภาพ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างานศิลปะที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล ชื่นชม ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน • ดนตรี มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบดนตรีแสดงออก ทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ทางดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชมและประยุกต์ใช้ใน ชีวิตประจำาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และ วัฒนธรรม เห็นคุณค่าดนตรี ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ร้องเพลง และเล่นดนตรี ในรูปแบบต่าง ๆ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเสียงดนตรี แสดงความ รู้สึกที่มีต่อดนตรีในเชิงสุนทรียะ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี กับประเพณีวัฒนธรรม และเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
  • 4. • นาฏศิลป์ มีความรู้ความเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ แสดงออกทางนาฏศิลป์ อย่างสร้างสรรค์ ใช้ศัพท์ เบื้องต้นทางนาฏศิลป์ วิเคราะห์วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่านาฏศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ สร้างสรรค์การเคลื่อนไหว ในรูปแบบต่าง ๆ ประยุกต์ใช้นาฏศิลป์ ในชีวิตประจำาวัน เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์กับประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิด ต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่าง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำาวัน มาตรฐาน ศ ๒.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรี ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่าของดนตรี ที่ เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล สาระที่ ๓ นาฏศิลป์ มาตรฐาน ศ ๓.๑ เข้าใจ และแสดงออกทางนาฏศิลป์อย่าง สร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่า 2
  • 5. นาฏศิลป์ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำาวัน มาตรฐาน ศ ๓.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์ ประวัติศาสตร์และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า ของนาฏศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้อง ถิ่น ภูมิปัญญาไทยและสากล คุณภาพผู้เรียน จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๓ • รู้และเข้าใจเกี่ยวกับรูปร่าง รูปทรง และจำาแนกทัศนธาตุของ สิ่งต่าง ๆ ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ มีทักษะพื้นฐาน การใช้วัสดุอุปกรณ์ในการสร้างงานวาดภาพระบายสี โดยใช้เส้น รูป ร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว ภาพปะติด และงานปั้น งานโครงสร้าง เคลื่อนไหวอย่างง่าย ๆ ถ่ายทอดความคิด ความรู้สึกจากเรื่องราว เหตุการณ์ ชีวิตจริง สร้างงานทัศนศิลป์ตามที่ตนชื่นชอบ สามารถ แสดงเหตุผลและวิธีการในการปรับปรุงงานของตนเอง • รู้และเข้าใจความสำาคัญของงานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำาวัน ที่มาของงานทัศนศิลป์ ในท้องถิ่น ตลอดจนการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น • รู้และเข้าใจแหล่งกำาเนิดเสียง คุณสมบัติของเสียง บทบาท หน้าที่ ความหมาย ความสำาคัญของบทเพลงใกล้ตัวที่ได้ยิน สามารถ ท่องบทกลอน ร้องเพลง เคาะจังหวะ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้สอดคล้องกับบทเพลง อ่าน เขียน และใช้สัญลักษณ์แทนเสียงและ 3
  • 6. เคาะจังหวะ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับดนตรี เสียงขับร้องของ ตนเอง มีส่วนร่วมกับกิจกรรมดนตรีในชีวิตประจำาวัน • รู้และเข้าใจเอกลักษณ์ของดนตรีในท้องถิ่น มีความชื่นชอบ เห็นความสำาคัญ และประโยชน์ของดนตรีต่อการ ดำาเนินชีวิตของคนในท้องถิ่น • สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวในรูปแบบต่าง ๆ สามารถแสดง ท่าทางประกอบจังหวะเพลง ตามรูปแบบนาฏศิลป์ มีมารยาท ในการชมการแสดง รู้หน้าที่ของผู้แสดงและผู้ชม รู้ประโยชน์ ของการแสดงนาฏศิลป์ในชีวิตประจำาวัน เข้าร่วมกิจกรรมการแสดง ที่เหมาะสมกับวัย • รู้และเข้าใจการละเล่นของเด็กไทยและนาฏศิลป์ท้องถิ่น ชื่น ชอบและภาคภูมิใจ ในการละเล่นพื้นบ้าน สามารถ เชื่อมโยงสิ่งที่พบเห็นในการละเล่นพื้นบ้านกับการดำารงชีวิต ของคนไทย บอกลักษณะเด่นและเอกลักษณ์ของนาฏศิลป์ไทยตลอด จนความสำาคัญของการแสดงนาฏศิลป์ไทยได้ จบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ • รู้และเข้าใจการใช้ทัศนธาตุ รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว สี แสง เงา มีทักษะพื้นฐานในการใช้วัสดุอุปกรณ์ ถ่ายทอดความคิด อารมณ์ ความรู้สึก สามารถใช้หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล นำ้าหนัก แสงเงา ตลอดจนการใช้สีคู่ตรงข้ามที่เหมาะ สมในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ ๓ มิติ เช่น งานสื่อ ผสม งานวาดภาพระบายสี งานปั้น งานพิมพ์ภาพ รวมทั้งสามารถ สร้างแผนภาพ แผนผัง และภาพประกอบเพื่อถ่ายทอดความคิด จินตนาการเป็นเรื่องราวเกี่ยวกับเหตุการณ์ต่าง ๆ และสามารถ เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างงานทัศนศิลป์ที่สร้างสรรค์ ด้วยวัสดุอุปกรณ์และวิธีการที่แตกต่างกัน เข้าใจปัญหาในการจัด องค์ประกอบศิลป์ หลักการลด และเพิ่มในงานปั้น การ สื่อความหมายในงานทัศนศิลป์ของตน รู้วิธีการปรับปรุงงานให้ดีขึ้น 4
  • 7. ตลอดจน รู้และเข้าใจคุณค่าของงานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อชีวิตของ คนในสังคม • รู้และเข้าใจบทบาทของงานทัศนศิลป์ที่สะท้อนชีวิตและ สังคม อิทธิพลของความเชื่อ ความศรัทธา ในศาสนา และ วัฒนธรรมที่มีผลต่อการสร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น • รู้และเข้าใจเกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงร้อง เครื่องดนตรี และ บทบาทหน้าที่ รู้ถึงการเคลื่อนที่ขึ้น ลง ของ ทำานองเพลง องค์ประกอบของดนตรี ศัพท์สังคีตในบทเพลง ประโยค และอารมณ์ของบทเพลงที่ฟัง ร้องและบรรเลงเครื่องดนตรี ด้นสด อย่างง่าย ใช้และเก็บรักษา เครื่องดนตรีอย่างถูกวิธี อ่าน เขียนโน้ตไทยและสากลในรูปแบบต่าง ๆ รู้ลักษณะของผู้ที่จะเล่น ดนตรีได้ดี แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับองค์ประกอบดนตรี ถ่ายทอด ความรู้สึกของบทเพลงที่ฟัง สามารถใช้ดนตรีประกอบกิจกรรมทาง นาฏศิลป์และ การเล่าเรื่อง • รู้และเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างดนตรีกับวิถีชีวิต ประเพณี วัฒนธรรมไทย และวัฒนธรรมต่าง ๆ เรื่องราวดนตรี ในประวัติศาสตร์ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อดนตรี รู้คุณค่าดนตรีที่มา จากวัฒนธรรมต่างกัน เห็นความสำาคัญในการอนุรักษ์ • รู้และเข้าใจองค์ประกอบนาฏศิลป์ สามารถแสดงภาษาท่า นาฏยศัพท์พื้นฐาน สร้างสรรค์การเคลื่อนไหวและการแสดงนาฏศิลป์ และการละครง่าย ๆ ถ่ายทอดลีลาหรืออารมณ์ และสามารถออกแบบ เครื่องแต่งกายหรืออุปกรณ์ประกอบการแสดงง่าย ๆ เข้าใจความ สัมพันธ์ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสิ่งที่ประสบในชีวิตประจำา วัน แสดงความคิดเห็นในการชมการแสดง และบรรยายความรู้สึก ของตนเองที่มีต่องานนาฏศิลป์ • รู้และเข้าใจความสัมพันธ์และประโยชน์ของนาฏศิลป์และ การละคร สามารถเปรียบเทียบการแสดงประเภทต่าง ๆ ของไทยใน แต่ละท้องถิ่น และสิ่งที่การแสดงสะท้อนวัฒนธรรมประเพณี เห็นคุณค่าการรักษาและสืบทอดการแสดงนาฏศิลป์ไทย จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ • รู้และเข้าใจเรื่องทัศนธาตุและหลักการออกแบบและเทคนิค ที่หลากหลายในการ สร้างงานทัศนศิลป์ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อสื่อความหมายและเรื่องราวต่าง ๆ ได้อย่างมีคุณภาพ วิเคราะห์ 5
  • 8. รูปแบบเนื้อหาและประเมินคุณค่างานทัศนศิลป์ของตนเองและผู้อื่น สามารถเลือกงานทัศนศิลป์โดยใช้เกณฑ์ที่กำาหนดขึ้นอย่างเหมาะสม สามารถออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ กราฟิก ในการนำาเสนอ ข้อมูลและมีความรู้ ทักษะที่จำาเป็นด้านอาชีพที่เกี่ยวข้องกันกับงาน ทัศนศิลป์ • รู้และเข้าใจการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาการของงานทัศน ศิลป์ของชาติและท้องถิ่น แต่ละยุคสมัย เห็นคุณค่างาน ทัศนศิลป์ที่สะท้อนวัฒนธรรมและสามารถเปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ ที่มาจากยุคสมัยและวัฒนธรรมต่าง ๆ • รู้และเข้าใจถึงความแตกต่างทางด้านเสียง องค์ประกอบ อารมณ์ ความรู้สึก ของบทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ มีทักษะในการร้อง บรรเลงเครื่องดนตรี ทั้งเดี่ยวและเป็นวงโดยเน้น เทคนิคการร้องบรรเลงอย่างมีคุณภาพ มีทักษะในการสร้างสรรค์ บทเพลงอย่างง่าย อ่านเขียนโน้ต ในบันไดเสียงที่มี เครื่องหมาย แปลงเสียงเบื้องต้นได้ รู้และเข้าใจถึงปัจจัยที่มีผลต่อรูป แบบของผลงานทางดนตรี องค์ประกอบของผลงานด้านดนตรีกับ ศิลปะแขนงอื่น แสดงความคิดเห็นและบรรยายอารมณ์ความรู้สึกที่มี ต่อบทเพลง สามารถนำาเสนอบทเพลงที่ชื่นชอบได้อย่างมีเหตุผล มี ทักษะในการประเมินคุณภาพของบทเพลงและการแสดงดนตรี รู้ถึง อาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและบทบาทของดนตรีในธุรกิจ บันเทิง เข้าใจถึงอิทธิพลของดนตรีที่มีต่อบุคคลและสังคม • รู้และเข้าใจที่มา ความสัมพันธ์ อิทธิพลและบทบาทของดนตรี แต่ละวัฒนธรรมในยุคสมัยต่าง ๆ วิเคราะห์ปัจจัยที่ทำาให้งานดนตรีได้ รับการยอมรับ • รู้และเข้าใจการใช้นาฏยศัพท์หรือศัพท์ทางการละครในการ แปลความและสื่อสาร ผ่านการแสดง รวมทั้งพัฒนารูปแบบ การแสดง สามารถใช้เกณฑ์ง่าย ๆ ในการพิจารณาคุณภาพ การแสดง วิจารณ์เปรียบเทียบงานนาฏศิลป์ โดยใช้ความรู้เรื่ององค์ ประกอบทางนาฏศิลป์ ร่วมจัดการแสดง นำาแนวคิดของ การแสดงไปปรับใช้ในชีวิตประจำาวัน • รู้และเข้าใจประเภทละครไทยในแต่ละยุคสมัย ปัจจัยที่มีผล ต่อการเปลี่ยนแปลง ของนาฏศิลป์ไทย นาฏศิลป์พื้น บ้าน ละครไทย และละครพื้นบ้าน เปรียบเทียบลักษณะเฉพาะ ของการแสดงนาฏศิลป์จากวัฒนธรรมต่าง ๆ รวมทั้งสามารถ ออกแบบและสร้างสรรค์อุปกรณ์ เครื่องแต่งกายในการ 6
  • 9. แสดงนาฏศิลป์และละคร มีความเข้าใจ ความสำาคัญ บทบาทของ นาฏศิลป์ และละครในชีวิตประจำาวัน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๖ • รู้และเข้าใจเกี่ยวกับทัศนธาตุและหลักการออกแบบในการ สื่อความหมาย สามารถใช้ศัพท์ทางทัศนศิลป์ อธิบายจุดประสงค์และ เนื้อหาของงานทัศนศิลป์ มีทักษะและเทคนิคในการใช้วัสดุ อุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้นในการสร้างงานทัศนศิลป์ วิเคราะห์เนื้อหา และแนวคิด เทคนิควิธีการ การแสดงออกของศิลปินทั้งไทยและ สากล ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ในการออกแบบสร้างสรรค์ งานที่เหมาะสมกับโอกาส สถานที่ รวมทั้งแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพสังคมด้วยภาพล้อเลียนหรือการ์ตูน ตลอดจนประเมินและ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ด้วยหลักทฤษฎีวิจารณ์ศิลปะ • วิเคราะห์เปรียบเทียบงานทัศนศิลป์ในรูปแบบตะวันออกและ รูปแบบตะวันตก เข้าใจอิทธิพลของมรดกทาง วัฒนธรรมภูมิปัญญาระหว่างประเทศที่มีผลต่อการสร้างสรรค์ งานทัศนศิลป์ในสังคม • รู้และเข้าใจรูปแบบบทเพลงและวงดนตรีแต่ละประเภท และ จำาแนกรูปแบบ ของวงดนตรีทั้งไทยและสากล เข้าใจ อิทธิพลของวัฒนธรรมต่อการสร้างสรรค์ดนตรี เปรียบเทียบอารมณ์ และความรู้สึกที่ได้รับจากดนตรีที่มาจากวัฒนธรรมต่างกัน อ่าน เขียน โน้ตดนตรีไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ มีทักษะใน การร้องเพลงหรือเล่นดนตรีเดี่ยวและรวมวงโดยเน้นเทคนิค การแสดงออกและคุณภาพของการแสดง สร้างเกณฑ์สำาหรับประเมิน คุณภาพการประพันธ์ การเล่นดนตรีของตนเอง และผู้อื่นได้อย่างเหมาะสม สามารถนำาดนตรีไประยุกต์ใช้ในงานอื่น ๆ • วิเคราะห์ เปรียบเทียบรูปแบบ ลักษณะเด่นของดนตรีไทยและ สากลในวัฒนธรรมต่าง ๆ เข้าใจบทบาทของดนตรีที่สะท้อนแนว ความคิดและค่านิยมของคนในสังคม สถานะทางสังคม ของนักดนตรีในวัฒนธรรมต่าง ๆ สร้างแนวทางและมีส่วนร่วมใน การส่งเสริมและอนุรักษ์ดนตรี 7
  • 10. • มีทักษะในการแสดงหลากหลายรูปแบบ มีความคิดริเริ่มใน การแสดงนาฏศิลป์เป็นคู่ และเป็นหมู่ สร้างสรรค์ละครสั้นใน รูปแบบที่ชื่นชอบ สามารถวิเคราะห์แก่นของการแสดงนาฏศิลป์และ ละครที่ต้องการสื่อความหมายในการแสดง อิทธิพลของเครื่องแต่ง กาย แสง สี เสียง ฉาก อุปกรณ์ และสถานที่ที่มีผลต่อการแสดง วิจารณ์การแสดงนาฏศิลป์และละคร พัฒนาและใช้เกณฑ์การ ประเมินในการประเมินการแสดง และสามารถวิเคราะห์ท่าทางการ เคลื่อนไหวของผู้คนในชีวิตประจำาวัน และนำามาประยุกต์ ใช้ในการแสดง • เข้าใจวิวัฒนาการของนาฏศิลป์และการแสดงละครไทย และบทบาทของบุคคลสำาคัญ ในวงการนาฏศิลป์และการ ละครของประเทศไทยในยุคสมัยต่าง ๆ สามารถเปรียบเทียบ การนำาการแสดงไปใช้ในโอกาสต่าง ๆ และเสนอแนวคิดในการ อนุรักษ์นาฏศิลป์ไทย ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๑ สร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ตามจินตนาการ และ ความคิดสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์ วิจารณ์คุณค่างานทัศนศิลป์ ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่องานศิลปะอย่างอิสระ ชื่นชม และ ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับรูป ร่าง ลักษณะ และ ขนาดของสิ่งต่าง ๆ รอบ ตัว ใน ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์ สร้างขึ้น • รูปร่าง ลักษณะ และขนาด ของสิ่งต่าง ๆ รอบตัวใน ธรรมชาติและสิ่งที่มนุษย์สร้าง ขึ้น ๒. บอกความรู้สึกที่มีต่อ ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม รอบตัว • ความรู้สึกที่มีต่อธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมรอบตัว เช่น รู้สึกประทับใจกับความงาม ของบริเวณรอบอาคารเรียน หรือรู้สึกถึง ความ 8
  • 11. ไม่เป็นระเบียบ ของสภาพ ภายในห้องเรียน ๓. มีทักษะพื้นฐานใน การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง งานทัศนศิลป์ • การใช้วัสดุ อุปกรณ์ เช่น ดิน เหนียว ดิน นำ้ามัน ดินสอ พู่กัน กระดาษ สี เทียน สีนำ้า ดินสอสีสร้างงาน ทัศนศิลป์ ๔. สร้างงานทัศนศิลป์ โดยการทดลองใช้สี ด้วย เทคนิคง่าย ๆ • การทดลองสีด้วยการใช้สีนำ้า สีโปสเตอร์ สีเทียน และสีจากธรรมชาติที่หาได้ใน ท้องถิ่น ๕. วาดภาพระบายสี ภาพธรรมชาติ ตามความรู้สึกของตนเอง • การวาดภาพระบายสีตาม ความรู้สึก ของ ตนเอง ป. ๒ ๑. บรรยายรูปร่าง รูปทรง ที่พบในธรรมชาติและสิ่ง แวดล้อม • รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม เช่น รูปกลม รี สามเหลี่ยม สี่เหลี่ยม และ กระบอก ๒. ระบุทัศนธาตุที่อยู่ใน สิ่งแวดล้อม และงานทัศน ศิลป์ โดยเน้นเรื่องเส้น สี รูปร่าง และรูปทรง • เส้น สี รูปร่าง รูปทรงในสิ่ง แวดล้อม และงานทัศน ศิลป์ประเภทต่าง ๆ เช่น งาน วาด งานปั้น และงาน พิมพ์ภาพ ๓. สร้างงานทัศนศิลป์ ต่าง ๆ โดยใช้ทัศนธาตุที่ เน้นเส้น รูปร่าง • เส้น รูปร่างในงานทัศนศิลป์ ประเภทต่าง ๆ เช่น งานวาด งานปั้น และงานพิมพ์ภาพ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๒ ๔. มีทักษะพื้นฐานใน การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงานทัศนศิลป์ ๓ มิติ • การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างงาน ทัศนศิลป์ ๓ มิติ ๕. สร้างภาพปะติดโดย การตัดหรือ ฉีก กระดาษ • ภาพปะติดจากกระดาษ ๖. วาดภาพเพื่อถ่ายทอด • การวาดภาพถ่ายทอดเรื่อง 9
  • 12. เรื่องราวเกี่ยวกับครอบครัว ของตนเองและเพื่อนบ้าน ราว ๗. เลือกงานทัศนศิลป์ และบรรยายถึงสิ่งที่มอง เห็น รวมถึงเนื้อหาเรื่อง ราว • เนื้อหาเรื่องราวในงานทัศน ศิลป์ ๘. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์เป็นรูปแบบงาน โครงสร้างเคลื่อนไหว • งานโครงสร้างเคลื่อนไหว ป. ๓ ๑. บรรยาย รูปร่าง รูป ทรงในธรรมชาติสิ่ง แวดล้อม และงานทัศน ศิลป์ • รูปร่าง รูปทรงในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ๒. ระบุ วัสดุ อุปกรณ์ที่ ใช้สร้างผลงาน เมื่อชมงานทัศนศิลป์ • วัสดุ อุปกรณ์ที่ใช้สร้างงาน ทัศนศิลป์ประเภทงานวาด งาน ปั้น งานพิมพ์ภาพ ๓. จำาแนกทัศนธาตุของ สิ่งต่าง ๆ ใน ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรง และพื้นผิว • เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ ๔. วาดภาพ ระบายสี สิ่งของรอบตัว • การวาดภาพระบายสี สิ่งของ รอบตัว ด้วยสี เทียน ดินสอสี และสีโปสเตอร์ ๕. มีทักษะพื้นฐาน ใน การใช้วัสดุอุปกรณ์ สร้างสรรค์งานปั้น • การใช้วัสดุอุปกรณ์ในงาน ปั้น ๖. วาดภาพถ่ายทอด ความคิดความรู้สึกจาก เหตุการณ์ชีวิตจริง โดยใช้ เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และ พื้นผิว • การใช้เส้น รูปร่าง รูปทรง สี และพื้นผิว วาดภาพถ่ายทอดความคิด ความรู้สึก ๗. บรรยายเหตุผลและ วิธีการในการสร้างงาน • วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิควิธีการ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ 10
  • 13. ทัศนศิลป์ โดยเน้นถึง เทคนิคและวัสดุ อุปกรณ์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๓ ๘. ระบุสิ่งที่ชื่นชมและสิ่ง ที่ควรปรับปรุงในงานทัศน ศิลป์ของตนเอง • การแสดงความคิดเห็นใน งานทัศนศิลป์ของตนเอง ๙. ระบุ และจัดกลุ่มของ ภาพตามทัศนธาตุที่เน้นใน งานทัศนศิลป์นั้น ๆ • การจัดกลุ่มของภาพตาม ทัศนธาตุ ๑๐. บรรยายลักษณะรูป ร่าง รูปทรง ใน งานการออกแบบสิ่งต่าง ๆ ที่มีในบ้านและโรงเรียน • รูปร่าง รูปทรง ในงาน ออกแบบ ป. ๔ ๑. เปรียบเทียบรูป ลักษณะของรูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ • รูปร่าง รูปทรง ในธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ๒. อภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพลของสีวรรณะอุ่น และสีวรรณะเย็นที่มีต่อ อารมณ์ของมนุษย์ • อิทธิพลของสี วรรณะอุ่น และวรรณะเย็น ๓. จำาแนกทัศนธาตุของ สิ่งต่าง ๆ ใน ธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์โดยเน้นเรื่อง เส้น สี รูปร่าง รูปทรงพื้น ผิว และพื้นที่ว่าง • เส้น สี รูปร่าง รูปทรง พื้นผิว และพื้นที่ว่าง ในธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและ งานทัศนศิลป์ ๔. มีทักษะพื้นฐานใน การใช้วัสดุ อุปกรณ์ สร้างสรรค์งานพิมพ์ภาพ • การใช้วัสดุ อุปกรณ์สร้าง งานพิมพ์ภาพ ๕. มีทักษะพื้นฐานใน การใช้วัสดุ อุปกรณ์ • การใช้วัสดุ อุปกรณ์ในการ วาดภาพระบายสี 11
  • 14. สร้างสรรค์งานวาดภาพ ระบายสี ๖. บรรยายลักษณะของ ภาพโดยเน้น เรื่องการจัด ระยะ ความลึก นำ้าหนักและ แสงเงาในภาพ • การจัดระยะความลึก นำ้า หนักและแสงเงา ในการวาดภาพ ๗. วาดภาพระบายสี โดยใช้สีวรรณะอุ่นและสี วรรณะเย็น ถ่ายทอดความ รู้สึกและจินตนาการ • การใช้สีวรรณะอุ่นและใช้สี วรรณะเย็น วาดภาพถ่ายทอด ความรู้สึกและจินตนาการ ๘. เปรียบเทียบความคิด ความรู้สึก ที่ ถ่ายทอดผ่านงานทัศนศิลป์ ของตนเองและบุคคลอื่น • ความเหมือนและความแตก ต่างในงานทัศนศิลป์ความคิด ความรู้สึกที่ถ่ายทอดในงาน ทัศนศิลป์ ๙. เลือกใช้วรรณะสีเพื่อ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ในการสร้างงานทัศนศิลป์ • การเลือกใช้วรรณะสีเพื่อ ถ่ายทอดอารมณ์ ความรู้สึก ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๕ ๑. บรรยายเกี่ยวกับ จังหวะตำาแหน่ง ของสิ่งต่าง ๆ ที่ปรากฏใน สิ่งแวดล้อม และงานทัศน ศิลป์ • จังหวะ ตำาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ในสิ่งแวดล้อมและงานทัศนศิลป์ ๒. เปรียบเทียบความ แตกต่างระหว่างงานทัศน ศิลป์ ที่สร้างสรรค์ด้วยวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการที่ต่าง กัน • ความแตกต่างระหว่างงาน ทัศนศิลป์ ๓. วาดภาพ โดยใช้ เทคนิคของแสงเงา นำ้า หนัก และวรรณะสี • แสงเงา นำ้าหนัก และวรรณะ สี ๔. สร้างสรรค์งานปั้น • การสร้างงานปั้นเพื่อ 12
  • 15. จาก ดินนำ้ามัน หรือดิน เหนียว โดยเน้นการ ถ่ายทอดจินตนาการ ถ่ายทอดจินตนาการด้วยการ ใช้ดินนำ้ามันหรือดินเหนียว ๕. สร้างสรรค์งานพิมพ์ ภาพ โดยเน้น การจัดวาง ตำาแหน่งของสิ่งต่าง ๆ ใน ภาพ • การจัดภาพในงานพิมพ์ภาพ ๖. ระบุปัญหาในการจัด องค์ประกอบศิลป์ และการสื่อความหมายใน งานทัศนศิลป์ของตนเอง และบอกวิธีการปรับปรุง งานให้ดีขึ้น • การจัดองค์ประกอบศิลป์และ การสื่อความหมาย ในงานทัศน ศิลป์ ๗. บรรยายประโยชน์ และคุณค่า ของ งานทัศนศิลป์ที่มีผลต่อ ชีวิตของคน ใน สังคม • ประโยชน์และคุณค่าของ งานทัศนศิลป์ ป. ๖ ๑. ระบุสีคู่ตรงข้าม และ อภิปรายเกี่ยวกับการใช้สีคู่ ตรงข้ามในการถ่ายทอด ความคิดและอารมณ์ • วงสีธรรมชาติ และสีคู่ตรง ข้าม ๒. อธิบายหลักการจัด ขนาดสัดส่วนความสมดุล ในการสร้างงานทัศนศิลป์ • หลักการจัดขนาด สัดส่วน ความสมดุล ในงาน ทัศนศิลป์ ๓. สร้างงานทัศนศิลป์ จากรูปแบบ ๒ มิติ เป็น๓ มิติ โดยใช้หลัก การ ของแสง เงาและนำ้าหนัก • งานทัศนศิลป์รูปแบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ 13
  • 16. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๖ ๔. สร้างสรรค์งานปั้น โดยใช้หลักการเพิ่มและ ลด • การใช้หลักการเพิ่มและลด ในการสร้างสรรค์งานปั้น ๕. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์โดยใช้หลักการ ของรูป และพื้นที่ว่าง • รูปและพื้นที่ว่างในงานทัศน ศิลป์ ๖. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์โดยใช้ สีคู่ ตรงข้ามหลักการจัดขนาด สัดส่วน และความสมดุล • การสร้างสรรค์งานทัศนศิลป์ โดยใช้ สีคู่ตรง ข้าม หลักการจัดขนาด สัดส่วนและความสมดุล ๗. สร้างงานทัศนศิลป์ เป็นแผนภาพ แผนผัง และ ภาพประกอบ เพื่อถ่ายทอด ความคิดหรือเรื่องราวเกี่ยว กับเหตุการณ์ต่าง ๆ • การสร้างงานทัศนศิลป์เป็น แผนภาพ แผนผัง และภาพ ประกอบ ม. ๑ ๑. บรรยายความแตก ต่างและความคล้ายคลึงกัน ของงานทัศนศิลป์ และสิ่งแวดล้อมโดยใช้ความ รู้เรื่องทัศนธาตุ • ความแตกต่างและความ คล้ายคลึงกัน ของทัศน ธาตุในงานทัศนศิลป์ และสิ่ง แวดล้อม ๒. ระบุ และบรรยาย หลักการออกแบบงานทัศน ศิลป์ โดยเน้นความเป็น เอกภาพความกลมกลืน และความสมดุล • ความเป็นเอกภาพ ความ กลมกลืน ความสมดุล ๓. วาดภาพทัศนียภาพ แสดงให้เห็นระยะไกลใกล้ เป็น ๓ มิติ • หลักการวาดภาพแสดง ทัศนียภาพ ๔. รวบรวมงานปั้นหรือ สื่อผสมมาสร้างเป็นเรื่องราว ๓ มิติโดยเน้นความเป็น เอกภาพ ความกลมกลืน และการสื่อถึงเรื่องราวของ งาน • เอกภาพความกลมกลืนของ เรื่องราวในงานปั้นหรืองานสื่อ ผสม 14
  • 17. ๕. ออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือกราฟิกอื่น ๆ ใน การนำาเสนอความคิดและ ข้อมูล • การออกแบบรูปภาพ สัญลักษณ์ หรือ งานกราฟิก ๖. ประเมินงานทัศน ศิลป์ และบรรยายถึงวิธี การปรับปรุงงานของ ตนเองและผู้อื่นโดยใช้ เกณฑ์ที่กำาหนดให้ • การประเมินงานทัศนศิลป์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๒ ๑. อภิปรายเกี่ยวกับทัศน ธาตุในด้านรูปแบบ และ แนวคิดของงานทัศนศิลป์ที่ เลือกมา • รูปแบบของทัศนธาตุและ แนวคิดในงานทัศนศิลป์ ๒. บรรยายเกี่ยวกับ ความเหมือนและความแตก ต่างของรูปแบบการใช้ วัสดุอุปกรณ์ในงานทัศน ศิลป์ของศิลปิน • ความเหมือนและความแตก ต่างของรูปแบบการใช้วัสดุ อุปกรณ์ในงานทัศนศิลป์ ของศิลปิน ๓. วาดภาพด้วยเทคนิค ที่หลากหลาย ใน การสื่อความหมายและ เรื่องราวต่าง ๆ • เทคนิคในการวาดภาพสื่อ ความหมาย ๔. สร้างเกณฑ์ในการ ประเมิน และวิจารณ์งานทัศนศิลป์ • การประเมินและวิจารณ์งาน ทัศนศิลป์ ๕. นำาผลการวิจารณ์ไป ปรับปรุงแก้ไขและพัฒนา งาน • การพัฒนางานทัศนศิลป์ • การจัดทำาแฟ้มสะสมงาน ทัศนศิลป์ ๖. วาดภาพแสดง บุคลิกลักษณะ ของตัวละคร • การวาดภาพถ่ายทอด บุคลิกลักษณะ ของตัว ละคร ๗. บรรยายวิธีการใช้ • งานทัศนศิลป์ในการโฆษณา 15
  • 18. งานทัศนศิลป์ ในการโฆษณาเพื่อโน้ม น้าวใจ และนำา เสนอตัวอย่างประกอบ ม. ๓ ๑. บรรยายสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ที่เลือกมา โดยใช้ความรู้เรื่องทัศน ธาตุ และหลักการออกแบบ • ทัศนธาตุ หลักการออกแบบ ในสิ่งแวดล้อม และงานทัศนศิลป์ ๒. ระบุ และบรรยาย เทคนิค วิธีการ ของศิลปิน ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ • เทคนิควิธีการของศิลปินใน การสร้างงานทัศนศิลป์ ๓. วิเคราะห์ และ บรรยายวิธีการใช้ ทัศน ธาตุ และหลักการออกแบบ ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ของตนเอง ให้มีคุณภาพ • วิธีการใช้ทัศนธาตุและหลัก การออกแบบในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ๔. มีทักษะในการสร้าง งานทัศนศิลป์อย่างน้อย ๓ ประเภท • การสร้างงานทัศนศิลป์ทั้ง ไทยและสากล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๓ ๕. มีทักษะในการผสม ผสานวัสดุต่าง ๆ ในการ สร้างงานทัศนศิลป์โดยใช้ หลักการออกแบบ • การใช้หลักการออกแบบใน การสร้างงานสื่อผสม ๖. สร้างงานทัศนศิลป์ ทั้ง ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอดประสบการณ์ และจินตนาการ • การสร้างงานทัศนศิลป์แบบ ๒ มิติ และ ๓ มิติ เพื่อถ่ายทอด ประสบการณ์ และจินตนาการ ๗. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์สื่อความหมายเป็น เรื่องราว โดยประยุกต์ใช้ ทัศนธาตุ และหลักการ ออกแบบ • การประยุกต์ใช้ทัศนธาตุและ หลักการออกแบบสร้างงาน ทัศนศิลป์ 16
  • 19. ๘. วิเคราะห์และ อภิปรายรูปแบบ เนื้อหา และคุณค่าในงานทัศน ศิลป์ ของตนเอง และผู้อื่น หรือของศิลปิน • การวิเคราะห์รูปแบบ เนื้อหา และคุณค่า ในงานทัศน ศิลป์ ๙. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์เพื่อบรรยาย เหตุการณ์ต่าง ๆ โดยใช้ เทคนิค ที่ หลากหลาย • การใช้เทคนิค วิธีการที่ หลากหลาย สร้าง งานทัศนศิลป์เพื่อสื่อความ หมาย ๑๐. ระบุอาชีพที่เกี่ยวข้อง กับงานทัศนศิลป์และทักษะ ที่จำาเป็นในการประกอบ อาชีพนั้น ๆ • การประกอบอาชีพทางทัศน ศิลป์ ๑๑. เลือกงานทัศนศิลป์ โดยใช้เกณฑ์ที่กำาหนดขึ้น อย่างเหมาะสม และนำาไป จัดนิทรรศการ • การจัดนิทรรศการ ม. ๔- ๖ ๑. วิเคราะห์การใช้ทัศน ธาตุ และหลักการออกแบบ ในการสื่อความหมายใน รูปแบบต่าง ๆ • ทัศนธาตุและหลักการ ออกแบบ ๒. บรรยายจุดประสงค์ และเนื้อหาของงานทัศน ศิลป์ โดยใช้ศัพท์ทางทัศน ศิลป์ • ศัพท์ทางทัศนศิลป์ ๓. วิเคราะห์การเลือก ใช้วัสดุอุปกรณ์ และ เทคนิคของศิลปินในการ แสดงออกทางทัศนศิลป์ • วัสดุ อุปกรณ์ และเทคนิค ของศิลปิน ในการ แสดงออกทางทัศนศิลป์ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๔- ๖ ๔. มีทักษะและเทคนิค ในการใช้วัสดุอุปกรณ์ และกระบวนการที่สูงขึ้น • เทคนิค วัสดุ อุปกรณ์ กระบวนการในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ 17
  • 20. ในการสร้างงานทัศนศิลป์ ๕. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์ด้วยเทคโนโลยีต่าง ๆ โดยเน้นหลักการออกแบบ และการจัดองค์ประกอบ ศิลป์ • หลักการออกแบบและการจัด องค์ประกอบศิลป์ด้วย เทคโนโลยี ๖. ออกแบบงานทัศน ศิลป์ได้เหมาะกับโอกาส และสถานที่ • การออกแบบงานทัศนศิลป์ ๗. วิเคราะห์และอธิบาย จุดมุ่งหมาย ของ ศิลปินในการเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิคและ เนื้อหา เพื่อสร้างสรรค์งาน ทัศนศิลป์ • จุดมุ่งหมายของศิลปินในการ เลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์ เทคนิค และเนื้อหา ในการสร้างงาน ทัศนศิลป์ ๘. ประเมินและวิจารณ์ งานทัศนศิลป์ โดยใช้ ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ • ทฤษฎีการวิจารณ์ศิลปะ ๙. จัดกลุ่มงานทัศนศิลป์ เพื่อสะท้อนพัฒนาการและ ความก้าวหน้าของตนเอง • การจัดทำาแฟ้มสะสมงาน ทัศนศิลป์ ๑๐. สร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์ไทย สากล โดยศึกษาจากแนวคิดและ วิธีการ สร้างงาน ของศิลปินที่ตนชื่นชอบ • การสร้างงานทัศนศิลป์จาก แนวคิดและวิธีการของศิลปิน ๑๑. วาดภาพ ระบายสี เป็นภาพล้อเลียน หรือภาพการ์ตูนเพื่อแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับ สภาพสังคมในปัจจุบัน • การวาดภาพล้อเลียนหรือ ภาพการ์ตูน 18
  • 21. สาระที่ ๑ ทัศนศิลป์ มาตรฐาน ศ ๑.๒ เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม เห็นคุณค่า งานทัศนศิลป์ที่เป็นมรดกทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้อง ถิ่น ภูมิปัญญาไทย และสากล ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. ระบุงานทัศนศิลป์ใน ชีวิตประจำาวัน • งานทัศนศิลป์ในชีวิตประจำา วัน ป. ๒ ๑. บอกความสำาคัญของ งานทัศนศิลป์ ที่พบเห็นในชีวิตประจำาวัน • ความสำาคัญของงานทัศนศิลป์ ในชีวิต ประจำาวัน ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน ทัศนศิลป์ประเภทต่าง ๆ ในท้องถิ่นโดยเน้นถึงวิธี การสร้างงานและวัสดุ อุปกรณ์ ที่ใช้ • งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น ป. ๓ ๑. เล่าถึงที่มาของงาน ทัศนศิลป์ในท้องถิ่น • ที่มาของงานทัศนศิลป์ใน ท้องถิ่น ๒. อธิบายเกี่ยวกับวัสดุ อุปกรณ์และวิธีการสร้าง งานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น • วัสดุ อุปกรณ์ และวิธีการ สร้างงานทัศนศิลป์ในท้องถิ่น ป. ๔ ๑. ระบุ และอภิปรายเกี่ยว กับงานทัศนศิลป์ ใน เหตุการณ์ และงานเฉลิม ฉลอง ของ วัฒนธรรมในท้องถิ่น • งานทัศนศิลป์ในวัฒนธรรม ท้องถิ่น ๒. บรรยายเกี่ยวกับงาน ทัศนศิลป์ ที่มา จากวัฒนธรรมต่าง ๆ • งานทัศนศิลป์จากวัฒนธรรม ต่าง ๆ ป. ๕ ๑. ระบุ และบรรยาย เกี่ยวกับลักษณะรูปแบบ ของงานทัศนศิลป์ในแหล่ง • ลักษณะรูปแบบของงานทัศน ศิลป์ 19
  • 22. เรียนรู้หรือนิทรรศการ ศิลปะ ๒. อภิปรายเกี่ยวกับงาน ทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนวัฒนธรรมและ ภูมิปัญญา ในท้องถิ่น • งานทัศนศิลป์ที่สะท้อน วัฒนธรรมและ ภูมิปัญญาในท้องถิ่น ป. ๖ ๑. บรรยายบทบาทของ งานทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนชีวิตและสังคม • บทบาทของงานทัศนศิลป์ใน ชีีวิต และสังคม ๒. อภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพลของ ความเชื่อความศรัทธาใน ศาสนาที่มีผลต่องานทัศน ศิลป์ในท้องถิ่น • อิทธิพลของศาสนาที่มีต่อ งานทัศนศิลป์ ในท้อง ถิ่น ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๖ ๓. ระบุ และบรรยาย อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน ท้องถิ่นที่มีผลต่อการสร้าง งานทัศนศิลป์ของบุคคล • อิทธิพลทางวัฒนธรรมใน ท้องถิ่นที่มีผล ต่อการ สร้างงานทัศนศิลป์ ม. ๑ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยว กับลักษณะ รูปแบบงานทัศน ศิลป์ของชาติและของท้อง ถิ่นตนเองจากอดีตจนถึง ปัจจุบัน • ลักษณะ รูปแบบงานทัศน ศิลป์ของชาติและท้องถิ่น ๒. ระบุ และเปรียบเทียบ งานทัศนศิลป์ของภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย • งานทัศนศิลป์ภาคต่าง ๆ ในประเทศไทย ๓. เปรียบเทียบความ แตกต่างของจุดประสงค์ใน การสร้างสรรค์งานทัศน ศิลป์ของวัฒนธรรมไทยและ สากล • ความแตกต่างของงานทัศน ศิลป์ ใน วัฒนธรรมไทยและสากล 20
  • 23. ม. ๒ ๑. ระบุ และบรรยายเกี่ยว กับวัฒนธรรมต่าง ๆ ที่สะท้อน ถึงงานทัศนศิลป์ในปัจจุบัน • วัฒนธรรมที่สะท้อนในงาน ทัศนศิลป์ปัจจุบัน ๒. บรรยายถึงการ เปลี่ยนแปลงของ งานทัศนศิลป์ของไทยใน แต่ละยุคสมัยโดยเน้นถึง แนวคิดและเนื้อหาของงาน • งานทัศนศิลป์ของไทยใน แต่ละยุคสมัย ๓. เปรียบเทียบแนวคิด ในการออกแบบงานทัศน ศิลป์ที่มาจาก วัฒนธรรม ไทยและสากล • การออกแบบงานทัศนศิลป์ ในวัฒนธรรมไทยและสากล ม. ๓ ๑. ศึกษาและอภิปราย เกี่ยวกับงานทัศนศิลป์ ที่ สะท้อนคุณค่าของ วัฒนธรรม • งานทัศนศิลป์กับการสะท้อน คุณค่า ของ วัฒนธรรม ๒. เปรียบเทียบความ แตกต่างของ งานทัศนศิลป์ในแต่ละยุค สมัย ของ วัฒนธรรมไทยและสากล • ความแตกต่างของงานทัศน ศิลป์ในแต่ละยุคสมัยของ วัฒนธรรมไทยและสากล ม. ๔- ๖ ๑. วิเคราะห์ และเปรียบ เทียบงานทัศนศิลป์ในรูป แบบตะวันออกและรูปแบบ ตะวันตก • งานทัศนศิลป์รูปแบบตะวัน ออกและตะวันตก ๒. ระบุงานทัศนศิลป์ของ ศิลปินที่มีชื่อเสียง และ บรรยายผลตอบรับของ สังคม • งานทัศนศิลป์ของศิลปินที่ มีชื่อเสียง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๔- ๖ ๓. อภิปรายเกี่ยวกับ อิทธิพลของวัฒนธรรม ระหว่างประเทศที่มีผลต่อ งานทัศนศิลป์ในสังคม • อิทธิพลของวัฒนธรรม ระหว่างประเทศ ที่มีผล ต่องานทัศนศิลป์ 21
  • 24. สาระที่ ๒ ดนตรี มาตรฐาน ศ ๒.๑ เข้าใจและแสดงออกทางดนตรีอย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์ วิพากษ์วิจารณ์คุณค่าดนตรี ถ่ายทอดความรู้สึก ความคิดต่อดนตรีอย่างอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ ในชีวิตประจำาวัน ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๑ ๑. รู้ว่าสิ่งต่าง ๆ สามารถ ก่อกำาเนิดเสียง • การกำาเนิดของเสียง - เสียงจากธรรมชาติ 22
  • 25. ที่แตกต่างกัน - แหล่งกำาเนิดของเสียง - สีสันของเสียง ๒. บอกลักษณะของเสียง ดัง-เบา และความช้า- เร็ว ของจังหวะ • ระดับเสียงดัง-เบา (Dynamic) • อัตราความเร็วของ จังหวะ Tempo ๓. ท่องบทกลอน ร้อง เพลงง่าย ๆ • การอ่านบทกลอนประกอบ จังหวะ • การร้องเพลงประกอบ จังหวะ ๔. มีส่วนร่วมในกิจกรรม ดนตรีอย่างสนุกสนาน • กิจกรรมดนตรี - การร้องเพลง - การเคาะจังหวะ - การเคลื่อนไหวประกอบ บทเพลง o ตามความดัง- เบา ของบทเพลง o ตามความช้าเร็ว ของจังหวะ ๕. บอกความเกี่ยวข้อง ของเพลงที่ใช้ ในชีวิตประจำาวัน • เพลงที่ใช้ในชีวิตประจำาวัน - เพลงกล่อมเด็ก - บทเพลงประกอบการละ เล่น - เพลงสำาคัญ (เพลงชาติ ไทย เพลง สรรเสริญพระบารมี) ป. ๒ ๑. จำาแนกแหล่งกำาเนิด ของเสียงที่ได้ยิน • สีสันของเสียงเครื่องดนตรี • สีสันของเสียงมนุษย์ ๒. จำาแนกคุณสมบัติของ เสียง สูง- ตำ่า , ดัง- เบา ยาว-สั้น ของดนตรี • การฝึกโสตประสาท การ จำาแนกเสียง สูง-ตำ่า ดัง-เบา ยาว-สั้น 23
  • 26. ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๒ ๓. เคาะจังหวะหรือ เคลื่อนไหวร่างกาย ให้สอดคล้องกับเนื้อหาของ เพลง • การเคลื่อนไหวประกอบ เนื้อหาในบทเพลง • การเล่นเครื่องดนตรี ประกอบเพลง ๔. ร้องเพลงง่าย ๆ ที่ เหมาะสมกับวัย • การขับร้อง ๕. บอกความหมายและ ความสำาคัญ ของ เพลงที่ได้ยิน • ความหมายและความ สำาคัญของเพลง ที่ ได้ยิน - เพลงปลุกใจ - เพลงสอนใจ ป. ๓ ๑. ระบุรูปร่างลักษณะ ของเครื่องดนตรี ที่ เห็นและได้ยินในชีวิตประจำา วัน • รูปร่างลักษณะของเครื่อง ดนตรี • เสียงของเครื่องดนตรี ๒. ใช้รูปภาพหรือ สัญลักษณ์แทนเสียง และ จังหวะเคาะ • สัญลักษณ์แทนคุณสมบัติ ของเสียง (สูง-ตำ่า ดัง-เบา ยาว-สั้น) • สัญลักษณ์แทนรูปแบบ จังหวะ ๓. บอกบทบาทหน้าที่ของ เพลงที่ได้ยิน • บทบาทหน้าที่ของบทเพลง สำาคัญ - เพลงชาติ - เพลงสรรเสริญพระ บารมี - เพลงประจำาโรงเรียน ๔. ขับร้องและบรรเลง ดนตรีง่าย ๆ • การขับร้องเดี่ยวและหมู่ • การบรรเลงเครื่องดนตรี ประกอบเพลง ๕. เคลื่อนไหวท่าทาง สอดคล้องกับอารมณ์ของ เพลงที่ฟัง • การเคลื่อนไหวตามอารมณ์ ของบทเพลง ๖. แสดงความคิดเห็น • การแสดงความคิดเห็นเกี่ยว 24
  • 27. เกี่ยวกับเสียงดนตรี เสียงขับ ร้องของตนเองและผู้อื่น กับเสียงร้องและเสียงดนตรี - คุณภาพเสียงร้อง - คุณภาพเสียงดนตรี ๗. นำาดนตรีไปใช้ในชีวิต ประจำาวันหรือโอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม • การใช้ดนตรีในโอกาส พิเศษ - ดนตรีในงานรื่นเริง - ดนตรีในการฉลองวัน สำาคัญของชาติ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๔ ๑. บอกประโยคเพลงอย่าง ง่าย • โครงสร้างของบทเพลง - ความหมายของประโยค เพลง - การแบ่งประโยคเพลง ๒. จำาแนกประเภทของ เครื่องดนตรีที่ใช้ในเพลงที่ ฟัง • ประเภทของเครื่องดนตรี • เสียงของเครื่องดนตรีแต่ละ ประเภท ๓. ระบุทิศทางการ เคลื่อนที่ขึ้น – ลงง่าย ๆ ของทำานอง รูปแบบจังหวะ และความเร็ว ของจังหวะในเพลงที่ฟัง • การเคลื่อนที่ขึ้น - ลงของ ทำานอง • รูปแบบจังหวะของทำานอง จังหวะ • รูปแบบจังหวะ • ความช้า - เร็วของจังหวะ ๔. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี ไทยและสากล • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี - กุญแจประจำาหลัก - บรรทัดห้าเส้น - โน้ตและเครื่องหมาย หยุด - เส้นกั้นห้อง • โครงสร้างโน้ตเพลงไทย - การแบ่งห้อง - การแบ่งจังหวะ 25
  • 28. ๕. ร้องเพลงโดยใช้ช่วง เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง • การขับร้องเพลงในบันได เสียงที่เหมาะสมกับตนเอง ๖. ใช้และเก็บเครื่อง ดนตรีอย่างถูกต้องและ ปลอดภัย • การใช้และการดูแลรักษา เครื่องดนตรี ของตน ๗. ระบุว่าดนตรีสามารถ ใช้ในการสื่อเรื่องราว • ความหมายของเนื้อหาใน บทเพลง ป. ๕ ๑. ระบุองค์ประกอบ ดนตรีในเพลงที่ใช้ในการ สื่ออารมณ์ • การสื่ออารมณ์ของบทเพลง ด้วยองค์ประกอบดนตรี - จังหวะกับอารมณ์ของ บทเพลง - ทำานองกับอารมณ์ของ บทเพลง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๕ ๒. จำาแนกลักษณะของ เสียงขับร้องและเครื่องดนตรี ที่อยู่ในวงดนตรีประเภทต่าง ๆ • ลักษณะของเสียงนักร้อง กลุ่มต่าง ๆ • ลักษณะเสียงของวงดนตรี ประเภทต่าง ๆ ๓. อ่าน เขียนโน้ตดนตรี ไทยและสากล ๕ ระดับเสียง • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี - บันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale - โน้ตเพลงในบันไดเสียง ๕ เสียง Pentatonic scale ๔. ใช้เครื่องดนตรี บรรเลงจังหวะ และทำานอง • การบรรเลงเครื่องประกอบ จังหวะ • การบรรเลงทำานองด้วย เครื่องดนตรี ๕. ร้องเพลงไทยหรือ เพลงสากลหรือเพลง ไทยสากลที่เหมาะสมกับวัย • การร้องเพลงไทยในอัตรา จังหวะสองชั้น • การร้องเพลงสากล หรือ 26
  • 29. ไทยสากล • การร้องเพลงประสานเสียง แบบ Canon Round ๖. ด้นสดง่าย ๆ โดยใช้ ประโยคเพลง แบบถามตอบ • การสร้างสรรค์ประโยค เพลงถาม-ตอบ ๗. ใช้ดนตรีร่วมกับ กิจกรรมในการแสดงออก ตามจินตนาการ • การบรรเลงดนตรีประกอบ กิจกรรมนาฏศิลป์ • การสร้างสรรค์เสียง ประกอบการเล่าเรื่อง ป. ๖ ๑. บรรยายเพลงที่ฟัง โดยอาศัยองค์ประกอบ ดนตรี และศัพท์สังคีต • องค์ประกอบดนตรีและ ศัพท์สังคีต ๒. จำาแนกประเภทและ บทบาทหน้าที่ เครื่องดนตรีไทยและเครื่อง ดนตรีที่ มาจากวัฒนธรรมต่าง ๆ • เครื่องดนตรีไทยแต่ละภาค • บทบาทและหน้าที่ของ เครื่องดนตรี • ประเภทของเครื่องดนตรี สากล ๓. อ่าน เขียนโน้ตไทย และโน้ตสากลทำานองง่าย ๆ • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี • โน้ตบทเพลงไทย อัตรา จังหวะสองชั้น • โน้ตบทเพลงสากลในบันได เสียง C Major ๔. ใช้เครื่องดนตรี บรรเลงประกอบ การร้องเพลง ด้นสด ที่มี จังหวะและทำานองง่าย ๆ • การร้องเพลงประกอบ ดนตรี • การสร้างสรรค์รูปแบบ จังหวะและทำานองด้วยเครื่อง ดนตรี ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ป. ๖ ๕. บรรยายความรู้สึกที่มี ต่อดนตรี • การบรรยายความรู้สึกและ แสดงความคิดเห็นที่มีต่อ บทเพลง๖. แสดงความคิดเห็น 27
  • 30. เกี่ยวกับทำานอง จังหวะการ ประสานเสียง และคุณภาพ เสียงของเพลงที่ฟัง - เนื้อหาในบทเพลง - องค์ประกอบในบทเพลง - คุณภาพเสียงใน บทเพลง ม. ๑ ๑. อ่าน เขียน ร้องโน้ต ไทย และโน้ตสากล • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี - โน้ตบทเพลงไทย อัตรา จังหวะสองชั้น - โน้ตสากล ในกุญแจ ซอลและฟา ใน บันไดเสียง C Major ๒. เปรียบเทียบเสียงร้อง และเสียง ของ เครื่องดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรม ที่ ต่างกัน • เสียงร้องและเสียงของ เครื่องดนตรี ใน บทเพลงจากวัฒนธรรมต่าง ๆ - วิธีการขับร้อง - เครื่องดนตรีที่ใช้ ๓. ร้องเพลงและใช้ เครื่องดนตรีบรรเลง ประกอบการร้องเพลงด้วย บทเพลง ที่ หลากหลายรูปแบบ • การร้องและการบรรเลง เครื่องดนตรีประกอบการร้อง - บทเพลงพื้นบ้าน บทเพลงปลุกใจ - บทเพลงไทยเดิม - บทเพลงประสานเสียง ๒ แนว - บทเพลงรูปแบบ ABA - บทเพลงประกอบการ เต้นรำา ๔. จัดประเภทของวง ดนตรีไทยและ วง ดนตรีที่มาจากวัฒนธรรม ต่าง ๆ • วงดนตรีพื้นเมือง • วงดนตรีไทย • วงดนตรีสากล ๕. แสดงความคิดเห็นที่มี ต่ออารมณ์ของบทเพลงที่มี ความเร็วของจังหวะ และความดัง - เบา แตกต่าง กัน • การถ่ายทอดอารมณ์ของ บทเพลง - จังหวะกับอารมณ์เพลง - ความดัง-เบากับอารมณ์ เพลง 28
  • 31. - ความแตกต่างของ อารมณ์เพลง ๖. เปรียบเทียบอารมณ์ ความรู้สึกในการ ฟังดนตรี แต่ละประเภท ๗. นำาเสนอตัวอย่างเพลง ที่ตนเองชื่นชอบ และ อภิปรายลักษณะเด่นที่ ทำาให้งานนั้นน่าชื่นชม • การนำาเสนอบทเพลงที่ตน สนใจ ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๑ ๘. ใช้เกณฑ์สำาหรับ ประเมินคุณภาพ งานดนตรีหรือเพลงที่ฟัง • การประเมินคุณภาพของ บทเพลง - คุณภาพด้านเนื้อหา - คุณภาพด้านเสียง - คุณภาพด้านองค์ ประกอบดนตรี ๙. ใช้และบำารุงรักษา เครื่องดนตรี อย่างระมัดระวังและรับผิด ชอบ • การใช้และบำารุงรักษาเครื่อง ดนตรีของตน ม. ๒ ๑. เปรียบเทียบการใช้ องค์ประกอบดนตรีที่มาจาก วัฒนธรรมต่างกัน • องค์ประกอบของดนตรีจาก แหล่งวัฒนธรรมต่าง ๆ ๒. อ่าน เขียนร้องโน้ต ไทย และโน้ตสากลที่มี เครื่องหมายแปลงเสียง • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี - โน้ตจากเพลงไทยอัตรา จังหวะสองชั้น - โน้ตสากล (เครื่องหมาย แปลงเสียง) ๓. ระบุปัจจัยสำาคัญที่มี อิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ งานดนตรี • ปัจจัยในการสร้างสรรค์ บทเพลง - จินตนาการในการ สร้างสรรค์บทเพลง - การถ่ายทอดเรื่องราว 29
  • 32. ความคิด ในบทเพลง ๔. ร้องเพลง และเล่น ดนตรีเดี่ยวและรวมวง • เทคนิคการร้องและบรรเลง ดนตรี - การร้องและบรรเลง เดี่ยว - การร้องและบรรเลงเป็น วง ๕. บรรยายอารมณ์ของ เพลงและความรู้สึกที่มีต่อ บทเพลงที่ฟัง • การบรรยายอารมณ์และ ความรู้สึกในบทเพลง ๖. ประเมิน พัฒนาการ ทักษะทางดนตรีของตนเอง หลังจากการฝึกปฏิบัติ • การประเมินความสามารถ ทางดนตรี - ความถูกต้องในการ บรรเลง - ความแม่นยำาในการ อ่านเครื่องหมายและ สัญลักษณ์ - การควบคุมคุณภาพ เสียงในการร้องและ บรรเลง ๗. ระบุงานอาชีพต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับดนตรีและ บทบาทของดนตรีในธุรกิจ บันเทิง • อาชีพทางด้านดนตรี • บทบาทของดนตรีในธุรกิจ บันเทิง ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง ม. ๓ ๑. เปรียบเทียบองค์ ประกอบที่ใช้ในงานดนตรี และงานศิลปะอื่น • การเปรียบเทียบองค์ ประกอบในงานศิลปะ - การใช้องค์ประกอบใน การสร้างสรรค์งาน ดนตรีและศิลปะแขนง 30
  • 33. อื่น - เทคนิคที่ใช้ในการ สร้างสรรค์งานดนตรี และศิลปะแขนงอื่น ๒. ร้องเพลง เล่นดนตรี เดี่ยว และรวมวง โดยเน้น เทคนิคการร้อง การเล่น การ แสดงออก และคุณภาพสียง • เทคนิคและการแสดงออก ในการขับร้องและบรรเลง ดนตรีเดี่ยวและรวมวง ๓. แต่งเพลงสั้น ๆ จังหวะ ง่าย ๆ • อัตราจังหวะ ๒ และ ๔ ๔ ๔ • การประพันธ์เพลงในอัตรา จังหวะ ๒ และ ๔ ๔ ๔ ๔. อธิบายเหตุผลในการ เลือกใช้องค์ประกอบดนตรี ในการสร้างสรรค์ งานดนตรีของตนเอง • การเลือกใช้องค์ประกอบ ในการสร้างสรรค์บทเพลง - การเลือกจังหวะเพื่อ สร้างสรรค์ บทเพลง - การเรียบเรียงทำานอง เพลง ๕. เปรียบเทียบความแตก ต่างระหว่าง งานดนตรีของตนเองและผู้ อื่น • การเปรียบเทียบความแตก ต่างของบทเพลง - สำาเนียง - อัตราจังหวะ - รูปแบบบทเพลง - การประสานเสียง - เครื่องดนตรีที่บรรเลง ๖. อธิบายเกี่ยวกับ อิทธิพลของดนตรี ที่มีต่อบุคคลและสังคม • อิทธิพลของดนตรี - อิทธิพลของดนตรีต่อ บุคคล - อิทธิพลของดนตรีต่อ สังคม ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 31
  • 34. ม. ๓ ๗. นำาเสนอหรือจัดการ แสดงดนตรี ที่ เหมาะสมโดยการบูรณาการ กับสาระ การเรียนรู้อื่นใน กลุ่มศิลปะ • การจัดการแสดงดนตรีใน วาระต่าง ๆ - การเลือกวงดนตรี - การเลือกบทเพลง - การเลือกและจัดเตรียม สถานที่ - การเตรียมบุคลากร - การเตรียมอุปกรณ์ เครื่องมือ - การจัดรายการแสดง ม. ๔- ๖ ๑. เปรียบเทียบรูปแบบ ของบทเพลงและ วงดนตรี แต่ละประเภท • การจัดวงดนตรี - การใช้เครื่องดนตรีใน วงดนตรีประเภทต่างๆ - บทเพลงที่บรรเลงโดย วงดนตรีประเภทต่างๆ ๒. จำาแนกประเภทและ รูปแบบของ วง ดนตรีทั้งไทยและสากล • ประเภทของวงดนตรี - ประเภทของวงดนตรี ไทย - ประเภทของวงดนตรี สากล ๓. อธิบายเหตุผลที่คน ต่างวัฒนธรรมสร้างสรรค์ งานดนตรีแตกต่างกัน • ปัจจัยในการสร้างสรรค์ผล งานดนตรี ในแต่ละ วัฒนธรรม - ความเชื่อกับการ สร้างสรรค์งานดนตรี - ศาสนากับการ สร้างสรรค์งานดนตรี - วิถีชีวิตกับการ สร้างสรรค์งานดนตรี - เทคโนโลยีกับการ สร้างสรรค์งานดนตรี ๔. อ่าน เขียน โน้ตดนตรี ไทยและสากล ในอัตราจังหวะต่าง ๆ • เครื่องหมายและสัญลักษณ์ ทางดนตรี - เครื่องหมายกำาหนด 32