SlideShare a Scribd company logo
1 of 53
Download to read offline
หลักการและเหตุผล
เนืองจากเศรษฐกิจในปัจจุบันนีเกิดปัญหาสภาวะสินค้าล้นตลาดเป็นปัญหาทีเกียวเนืองมากับปริมาณ
ความต้องการสินค้าเกษตรกร กับปริมาณผลผลิตทางการเกษตรกรทีมากเกินความต้องการของตลาดและส่งผล
เกียวเนืองทําให้สินค้าเกษตรกรตกตําในทีสุด ปัญหาความยากจนของเกษตรกรเกิดจากปัจจัยหลากหลาย
โดยเฉพาะปัจจัยทางสังคมทังเรืองตลาด เศรษฐกิจ นายทุนเกษตรกรกู้เงินจากสถาบันการเงินทีได้มาก็ใช้ในการ
ซือเมล็ดพันธุ์ ซือปุ๋ ย ซือยาฆ่าแมลง และจ้างแรงงาน พอลงทุนก้อนใหญ่ไปหมดแล้วเงินก็หมดพอดี แต่พืชผลที
หว่านไปยังไม่ออกดอกออกผลทันทีจึงทําให้เกษตรกรต้องไปกู้เงินนอกระบบมาใช้ก่อนรอให้ผลผลิตถูกเก็บ
เกียวก็จะได้โอกาสใช้หนีและเก็บผลกําไรจากการลงทุน เกษตรกรต้องมีการวางแผนการจัดทําบัญชีรายรับ-
รายจ่าย การบริหารต้นทุน และจากการสํารวจพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ในการวางแผนทางการเงิน
หรือการวิเคราะห์ผลการตอบแทนทางการลงทุน จุดคุ้มทุน และไม่คํานวณรายรับรายจ่ายให้ดี ซึงการขาดความรู้
และการวางแผนตรงนีทําให้ใช้จ่ายไม่เป็นระบบหากไม่จัดการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาวก็
ก่อให้เกิดปัญหาขาดทุนได้ง่าย ๆ
จากทีกล่าวมาทําให้กลุ่มข้าพเจ้ามีแนวคิดทีจะจัดทําโครงการบริการความรู้ในการทําบัญชีแก่เกษตรกร
ผู้ทําอาชีพทํานาบ้านพลายชุมพล หมู่ที 3 อ.เมือง จ.พิษณุโลก เพือนําไปเสนอแก่ชาวบ้านพรายชุมพลให้มีการ
จดบันทึกข้อมูลเกียวกับต้นทุนเกียวกับการลงทุนทํานา ข้อมูลทีได้จากการทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายจะทําให้
เกษตรกรรู้ค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนว่ามีรายรับรายจ่ายเท่าใดสามารถนําข้อมูลทีได้มาเป็นตัวบ่งชีและจะเป็นการ
วางแผนการเงินในอนาคตต่อไป
วัตถุประสงค์ของโครงการ
1. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานารู้จักการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายจากต้นทุน การทํานา
2. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็นระบบ
3. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาได้รับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับ
1. เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานามีความรู้ในการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย
2. เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาสามารถบริหารการใช้เงินในอนาคตได้
3. เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาสามารถทราบถึงผลกําไรขาดทุนในการลงทุนทํานาทีแท้จริง
ขอบเขตของโครงการ
การดําเนินโครงการครังนีเป็นการสอนแนะนําทําบัญชีแก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาเน้นให้
เกษตรกรต้องมีความรู้เรืองการทําบัญชีเกษตรกรให้ตามระดับความเข้าใจของเกษตรกรโดยมี
กลุ่มเป้าหมายคือ เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาบ้านพลายชุมชน 10 ราย ประกอบด้วย
1. นางประจิม สาดอํา
ทีอยู่ บ้านเลขที 49 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
2. นายสนอง เฮิงมน
ทีอยู่ บ้านเลขที 22/ หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
3. นางคนึงทิพย์ แก้วบานดอน
ทีอยู่ บ้านเลขที 29/1 หมู่ 3 ตําบลพรายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
4. นางจันทรา แก้วดา
ทีอยู่ บ้านเลขที 32 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
5. นางวาลี อยู่ม่วง
ทีอยู่ บ้านเลขที 53 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
6. นายสนัน กล้าหาญศึก
ทีอยู่ บ้านเลขที 78 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
7. นางทองคํา มาทอง
ทีอยู่ บ้านเลขที 10 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
8. นายเชน ปินทอง
ทีอยู่ บ้านเลขที 90 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
9. นางศรีไพร ตึงกอก
ทีอยู่ บ้านเลขที 81 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
10. นางสําลี ทองหนัก
ทีอยู่ บ้านเลขที 57 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้อง
การศึกษาผลของการจัดทําโครงการ บริการให้ความรู้การทําบัญชีแก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานา บ้าน
พลายชุมพล หมูที 3 อ. เมือง จ. พิษณุโลก ในครังนีผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ตํารา
และงานวิจัยทีเกียวข้อง เพือนํามาเป็นข้อมูลประกอบการศึกษาและอ้างอิง ในการจัดทําโครงการใน
ครังนี โดยแบ่งหัวข้อออกเป็น
1. แนวคิด ทฤษฎี
1.1 หลักการ แนวคิด เกียวกับต้นทุน
1.2 หลักการ แนวคิด แนวคิดเกียวกับโครงสร้างต้นทุน ความสามารถใน การหา
กําไร และวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
1.3 หลักการ แนวคิด อัตราส่วนวัดความสามารถในการหากําไร
1.4 หลักการ แนวคิด การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน
1.5 หลักการ แนวคิด การลงบัญชีรายรับ-รายจ่าย
2. งานวิจัยทีเกียวข้อง
1.1 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับต้นทุน
เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์ (2554:72) ต้นทุนมีความหมายสําหรับฝ่ายบริหารเป็นอย่างยิงในการ
ตัดสินใจเกียวกับการผลิตหรือการซือสินค้า การกําหนดราคาขาย การยกเลิกผลิตภัณฑ์การเลือก
กรรมวิธีการผลิต และประเภทสินค้า ดังนันข้อมูลเกียวกับต้นทุนสินค้าจะต้องแสดงต้นทุนอย่างละเอียด
จึงจะช่วยผู้บริหารให้สามารถวิเคราะห์ทางเลือกต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด
อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์ (2554) กล่าวถึงต้นทุน (Cost) หมายถึงมูลค่าของทรัพยากรทีสูญเสียไป
เพือให้ได้สินค้าบริการ โดยมูลค่านันจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตราซึงเป็นลักษณะของการ
ลดลงในสินทรัพย์หรือเพิมขึนในหนีสิน ต้นทุนทีเกิดขึนอาจจะให้ประโยชน์ในอนาคตก็ได้ เมือต้นทุน
ใดทีเกิดขึนแล้ว และกิจการได้ใช้ประโยชน์ไปทังสินแล้วต้นทุนนันก็จะถือเป็น ค่าใช้จ่าย (Expenses)
ดังนัน ค่าใช้จ่ายจึงหมายถึงต้นทุนทีได้ให้ประโยชน์และกิจการได้ใช้ประโยชน์ทังหมดไปแล้วใน
ขณะนัน และสําหรับต้นทุนทีกิจการสูญเสียไป แต่จะให้ประโยชน์แก่กิจการในอนาคตเรียกว่า
สินทรัพย์ (Assets)
จากแนวความคิดเกียวกับต้นทุนจากข้างต้นสรุปได้ว่า ต้นทุนนันเป็นได้ทังสินทรัพย์และค่าใช้จ่าย
ในกรณีทีเป็นสินทรัพย์จะเกิดขึนเมือกิจการจ่ายออกไปเพือให้ได้สินค้าและบริการ มีไว้เพือจําหน่ายหรือ
มีไว้เพือใช้งาน เป็นต้นทุนทีใช้แล้วยังมีประโยชน์ต่ออนาคต และตัดจ่ายต้นทุนในรูปของค่าเสือมราคา
ของสินทรัพย์โดยจะนําไปแสดงไว้ในงบดุล ส่วนกรณีทีเป็นค่าใช้จ่าย จะเป็นต้นทุนของสินค้าหรือ
บริการทีกิจการจ่ายออกไปเพือให้เกิดรายได้
1.2 แนวคิดเกียวกับโครงสร้างต้นทุน ความสามารถในการหากําไร และวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
ความหมายของต้นทุน
(รองศาสตราจารย์ศรีสุดา ธีระกาญจน์ การบัญชีเพือการจัดการคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ต้นทุน หมายถึง เงินสดหรือสิงเปรียบเทียบเงินสดทีจ่ายไปเพือให้ได้มา
ซึงสินค้าและบริการ บริการทีเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจทังในปัจจุบันและอนาคต เมือต้นทุนได้
ก่อให้เกิดประโยชน์ทางธุรกิจแล้วต้นทุนส่วนนันจะเปลียนสภาพเป็นค่าใช่จ่ายซึงจะนําไปหักจาก
รายได้ในแต่ละงวดบัญชี
ต้นทุนมีหลายประเภทขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ทีจะนําไปใช้โดยทัวไปต้นทุนสามารถจําแนกได้
ดังนี
1. การจําแนกต้นทุนการผลิตและต้นทุนทีไม่เกียวข้องกับการผลิต
2. การจําแนกต้นทุนในงบการเงิน
3. การจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรม
4. การจําแนกต้นทุนเพือการวางแผนและการควบคุม
5. การจําแนกต้นทุนเพือการตัดสินใจ
6. การจําแนกต้นทุนคุณภาพ
ในการวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนการปลูกข้าวด้วยปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยอินทรีย์จะจําแนกต้นทุน
ด้วยวิธีการจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรม คือ
การจําแนกค้นทุนตามพฤติกรรม
การศึกษาพฤติกรรมของต้นทุน จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทีจะทราบได้ว่าจะเป็นอย่างไร
จํานวนเท่าไร เมือตัดสินใจเปลียนแปลงระดับกิจกรรมไปจากเดิมคือลักษณะการเกิดของต้นทุน
แต่ละชนิดเมือระดับกิจกรรม หรือปริมาณเปลียนแปลงไปแล้วจากเดิม ไม่ว่ากิจกรรมหรื
อปริมาณจะเพิมขึนหรือลดลง ในขณะทีทุนบางชนิดเปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมหรือ
ปริมาณทีเปลียนไป การจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุนนัน สามารถจําแนกได้ 2
ประเภท คือ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที
ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที
ต้นทุนผันแปร หมายถึง ต้นทุนทีจํานวนรวมเปลียนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับระดับกิจกรรมที
เปลียนแปลง กล่าวคือ ระดับกิจกรรมน้อย ต้นทุนก็น้อยด้วย ระดับกิจกรรมมากขึน ต้นทุนรวมก็
เพิมมากขึน ในสัดส่วนทีเท่ากัน หากพิจารณาต้นทุนต่อหน่วยแล้วจะเห็นว่าต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
จะคงทีเสมอ ไม่ว่าระดับกิจกรรมจะเปลียนไปอย่างไรก็ตาม
ต้นทุนคงที หมายถึง ต้นทุนจํานวนรวมทีไม่เปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมทีเปลียนไป กล่าวคือ
เมือระดับกิจกรรมเพิมขึนหรือลดลง ต้นทุนคงทียังมีจํานวนรวมเท่าเดิมไม่เปลียนแปลง แต่หากถัว
เฉลียเป็นต้นทุนต่อหน่วยแล้ว จะเห็นว่าต้นทุนคงที ต่อหน่วยจะเปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมใน
ทิศทางตรงข้ามกัน คือ เมือมีการผลิตจํานวนหน่วยลดลง ต้นทุนคงทีต่อหน่วยจะสูง แต่หากจํานวน
การผลิตเพิมมากขึน ต้นทุนคงทีต่อหน่วยจะลดลง เช่น ค่าเช่าทีดิน ภาษีทีดิน ค่าเสือมราคาทาง
อุปกรณ์ทางการเกษตรกร
ความสามารถในการหากําไร หมายถึง ส่วนทีแสดงถึงความสามารถในการจัดการ และการหา
รายได้จากการขายหลังจากหักค่าใช้จ่ายทังสินแล้ว จะบอกระดับความสามารถในการทํากําไรในช่วง
นัน สะท้อนให้เห็นถึงการหารายได้ และการควบคุมค่าใช้จ่ายทังหมด
1.3 อัตราส่วนวัดความสามารถในการหากําไร
ศาสตราจารย์เพชรี ขุมทรัพย์ วิเคราะห์งบการเงิน (2552) อัตราส่วนนีใช้วัดประสิทธิภาพในการ
บริหารงานของฝ่ายบริหาร แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ
1. กลุ่มกําไรสัมพันธ์กับยอดขาย
2. กลุ่มกําไรสัมพันธ์กับการลงทุน
ซึงในการวัดความสามารถในการหากําไรของการปลูกข้าวด้วยปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยอินทรีย์จะใช้วิธี
สัมพันธ์กับยอดขาย
อัตราส่วนกับกลุ่มนี ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหาร
อัตราส่วนนีสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพในการควบคุมค่าใช้จ่าย การทํากําไรจากยอดขายแต่จะไม่ก้าว
ไกลไปถึงวัดการเปลียนแปลงของปริมาณขาย
อัตราส่วนกําไรขันต้น (ร้อยละ) = กําไรขันต้น x 100
ยอดขาย
อัตราส่วนนีแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการ หากําไรขันต้นของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยยัง
ไม่คํานึงถึงค่าใช้จ่ายดําเนินงานอืน ๆ
อัตราส่วนกําไรจาการดําเนินงาน (ร้อยละ) = กําไรจาการดําเนินงาน x 100
ยอดขาย
อัตราส่วนนีใช้ชีวัดความสามารถจากการดําเนินงานโดยตรง สะท้อนให้เห็นถึงผลจากค่าใช้จ่าย
ในการดําเนินงานและต้นทุน
จุดคุ้มทุน (Break Even Point) หมายถึง ระดับของยอดขายของกิจการทีเท่ากับค่าใช้จ่าย
ทังหมดของกิจการ ซึงก็คือจุดทีกิจการไม่มีผลกําไรหรือขาดทุนนันเอง โดยจุดคุ้มทุนจะสามารถหาได้
ก็ต่อเมือผู้ประกอบการสามารถแยกได้ว่าค่าใช้จ่ายของธุรกิจนันมรอะไรเป็นต้มทุนคงที และต้นทุนผัน
แปรอย่างละเท่าไรบ้าง จากการคํานวณดังนี
จุดคุ้มทุน (หน่วยขายทีคุ้มทุน) = ต้นทุนคงที
ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย
จุดคุ้มทุน (ยอดขายทีคุ้มทุน) = หน่วยขายทีคุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย
หรือ ต้นทุนคงที
อัตรากําไรส่วนเกิน
หลักการแนวคิดและผลตอบแทน
เพชรี ขุมทรัพย์ ( 2554 : 279) สิงทีผู้ลงทุนมุ่งหวังจะได้จากการลงทุนไม่ว่าจะเป็นการลงทุน
ในธุรกิจ ในหลักทรัพย์หรือในอสังหาริมทรัพย์ ก็คือ ผลตอบแทนหรืออัตราผลตอบแทนจากการ
ลงทุนนัน ซึงคําว่าอัตราผลตอบแทนนีมีความหมายกว้างขวางมาก อาจหมายถึงอัตราผลตอบแทนจาก
สินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนระยะยาว อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น
สามัญ และอัตราผลตอบแทนทีกินความหมายแคบลงไปอีก ก็คืออัตราผลตอบแทนจากโครงการ
ลงทุนเฉพาะโครงการ ซึงแต่ละอย่างจะมีรูปแบบการจัดทีแตกต่างกันไปบ้าง และการใช้ประโยชน์ก็
แตกต่างกัน ทังนีขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์เป็นสําคัญ อัตราส่วนผลตอบแทนนอกจาก
ใช้ประโยชน์ ในการประเมินผลของโครงการปฏิบัติงาน ยังใช้ประโยชน์ช่วยในการตัดสินใจลงทุน
วางแผน ควบคุมและปรับปรุงการดําเนินงาน
อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน
เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 282) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน(Return on Investment หรือ
ROI) เป็นเกณฑ์ในการวัดการปฏิบัติงานทีมีความสําคัญมาก เกณฑ์ในการวัดการปฏิบัติงานมีหลาย
อย่าง เช่น วัดจากการเปลียนแปลงในยอดขาย เปลียนแปลงกําไร หรือวัดจากผลิตผลทีได้ การวัดแต่
ละอย่างมิได้เป็นเกณฑ์วัดทีสมบูรณ์ ถ้ายอดขายเพิมแสดงว่าการปฏิบัติงานทําได้ดี แต่การเพิมขึนของ
ยอดขายอาจเป็นผลให้เสียค่าใช้จ่ายสูง เช่น เสียส่วนลดสูง หรือเกิดจากการลดราคา ดังนัน เกณฑ์
การวัดทีดีควรวัดจากกําไร ซึงเป็นปัญหาอีกว่ากําไรมากหรือน้อย เปรียบเทียบจากอะไร ทางหนึงทีทํา
ให้เราทราบถึงภาวะในการหากําไรของบริษัท ก็คือ การเปรียบเทียบกําไรทีหาได้ขนาดของเงินที
ลงทุน ดังนันวิธีการวัดการปฏิบัติงานของธุรกิจด้วยกําไรสุทธิต่อเงินลงทุนในสินทรัพย์ทีก่อให้เกิด
รายได้ จึงเป็นวิธีทีใช้ได้ดี และใช้กันอย่างกว้างขวาง
อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน ใช้ประโยชน์ในการเปรียบเทียบเลือกทางเลือกในการลงทุน
หากทางเลือกต่าง ๆ ให้ผลตอบแทนทีแตกต่างกัน แต่มีระดับความเสียงทีเท่ากัน กรณีเช่นนีจะเลือก
ทางเลือกทีให้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนสูงทีสุด แต่ตามข้อเท็จจริงการลงทุนในสินทรัพย์แต่ละ
ประเภท อัตราผลตอบแทนทีได้ไม่เท่ากัน ทังนีขึนอยู่กับความเสียงในสินทรัพย์ลงทุนประเภทนัน ๆ
เช่น ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล อัตราผลตอบแทนจะตํา เนืองจากความเสียงน้อยมากหรือกล่าวได้ว่า
ไม่มีความเสียงเลย ผิดกับการลงทุนในสินทรัพย์ประเภทอืน ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงสินทรัพย์ประเภทที
มีอายุการใช้งานมากกว่าหนึงปี ความเสียงจะสูงและอัตราผลตอบแทนทีต้องการเพือให้ความคุ้มกับ
ความเสียงจึงสูงด้วย ดังนันอัตราผลตอบแทนจึงให้ประโยชน์ในการประเมินผลการดําเนินงาน
ผลตอบแทนทีได้เป็นไปตามเป้าหมายทีต้องการหรือไม่
สูตรในการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนมี ดังนี
อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน = กําไรสุทธิ× 100
สินทรัพย์รวม
เงินลงทุนในทีนีมีได้หลายความหาย การวัดผลตอบทนจึงขึนอยู่กับจุดมุ่งหมายในการวัด เป็นต้น
ว่าวัดผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม ผลตอบแทนจากเงินลงทุนระยะยาว (หนีสินระยะยาว + ส่วนของผู้
ถือหุ้น) หรือผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นต้น
สินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวมเป็นวิธีวัดประสิทธิภาพการดําเนินงานทีดี
ทีสุดของธุรกิจ เป็นการวัดผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทังหมดทีมีอยู่ในธุรกิจอย่างไรก็ตามการวัด
ผลตอบแทนนี ผู้วิเคราะห์อาจให้ความสนใจหรือเน้นวัดเงินทุนเฉพาะส่วน หรือคาดคะเนการ
ดําเนินงาน สําหรับสินทรัพย์รวมนันอาจมีสินทรัพย์บางส่วนทีมิได้ใช้ในการดําเนินงานตามปกติของ
ธุรกิจ เช่น โรงงานทีไม่ได้ใช้ประโยชน์ สิงอํานวยความสะดวกทีอยู่ระหว่างก่อสร้างของคงเหลือที
มากกว่าความจําเป็น เงินสดถือได้มากกว่าความจําเป็น สินทรัพย์ทีไม่มีตัวตน และรายจ่ายรอการตัด
บัญชี ตามแนวคิดนีในการคํานวณจะใช้สินทรัพย์ดําเนินงาน จะไม่รวมสินทรัพย์ตามทีกล่าว ทังนีโดย
มีแนวคิดว่า ผู้บริหารไม่ควรต้องรับผิดชอบในการตามหาผลตอบแทนให้กับสินทรัพย์ส่วยทีมิได้
นํามาใช้ประโยชน์เพือหารายได้โดยตรง แต่แนวคิดอีกลักษณะหนึงกลับเห็นว่าสินค้าทีลงทุนมากเกิน
ความจําเป็น หรือลงทุนในสินทรัพย์มากเกินความจําเป็น ยิงแสดงว่าให้เห็นถึงการใช้สินทรัพย์ขันขาด
ประสิทธิภาพ กรณีเช่นนีควรทีจะนําสินทรัพย์ดังกล่าวรวมอยู่ในสินทรัพย์ดําเนินงานด้วยอย่างไรก็ตาม
มีสินทรัพย์บางรายการทีมิใช่กีลงทุนเพือการดําเนินงานตามปกติของธุรกิจนันโดยตรงแต่ลงทุนไว้
เนืองจากมีเงินมาเกินความจําเป็นหรือเพือต้องการควบคุมกิจการอืน รายการเหล่านี ได้แก่ เงินลงทุน
ระยะยาว อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ดําเนินการ จึงมิควรรวมสินทรัพย์ดังกล่าว
ในแง่ของการใช้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนในการบริหารภายใน ควรประเมินการ
ดําเนินงานด้วยสินทรัพย์ก่อนหักค้าเสือมราคาสะสมด้วยเหตุผลนี
ก) สินทรัพย์เมือถูกใช้งานผ่านไป ยังคงสามารถใช้งานต่อไปได้ การคิดค่าเสือมราคาในแต่ละ
ปีเป็นเพียงการจัดสรรสินทรัพย์ถือเป็นค่าใช้จ่าย เพือคํานวณกําไรเท่านัน
ข) ถ้าสินทรัพย์ทีใช้เป็นสินทรัพย์สุทธิ ในปีต่อ ๆ ไป สินทรัพย์สุทธิจะลดลงทัง ๆ ทีกําไรปี
ต่อไปยังคงเหมือนเดิม อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนสุทธินีจะเพิมขึน ๆ โดยไม่ต้องใช้ความพยายาม
มากกว่าเดิม ซึงอาจทําให้เกิดความเข้าใจผิดได้
เงินลงทุนระยะยาว (หนีสินระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น) อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน
ระยะยาว ผู้ทีสนใจในอัตราผลตอบแทนนีมีอยู่ 2 ฝ่าย ซึงต่างก็เป็นผู้ทีให้เงินลงทุนระยะยาวได้แก่
เจ้าหนีระยะยาว และผู้ถือหุ้น
ส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นอัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น ซึงอัตราส่วนนีผู้ทีใช้ประโยชน์ก็
คือผู้ถือหุ้น เป็นเครืองวัดว่าผู้ลงทุนจะได้ผลตอบแทนจากเงินลงทุนส่วนนีเท่าไร
กําไรทีนํามาให้ในการคํานวณควรเป็นกําไรจากการดําเนินงาน กําไรก่อนภาษี หรือกําไรสุทธิ
ซึงจะใช้กําไรตัวใดนันขึนอยู่กับอัตราผลตอบแทนทีต้องการคํานวณหา ซึงแบ่งเป็นกรณีดังนี
ก) ถ้าต้องการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม หรือเงินลงทุนระยะยาว กําไรที
ใช้ควรเป็นกําไรก่อดอกเบียและภาษี ทังนีมองในแง่ผลตอบแทนให้แก่เจ้าของเงินทุน คือ เจ้าหนี ส่วน
เงินปันผลถือเป็นผลตอบแทนทีให้แก่ทุนของส่วยผู้ถือหุ้น
ข) การคํานวณหาอัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ กําไรท่าจะต้องเป็นกําไรหลักหัก
ดอกเบียและหลังหักภาษีเงินได้ นอกจากนีหารเป็นบริษัททีมีหุ้นบุริมสิทธ์ เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธ์
จะต้องหักออกด้วย เพือหากําไรของส่วนผู้ถือหุ้นสามัญ
เป้าหมายในการใช้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน
การปฏิบัติงานอย่างประหยัด เป็นเป้าหมายแรกของธุรกิจทีจะต้องถือปฏิบัติประสิทธิภาพในการ
ปฏิบัติงานและดําเนินงานจะเป็นตัวกําหนดความอยู่รอดทางการเงินของธุรกิจนันจึงเป็นตัวดึงดูดใจ
เจ้าของเงินทุนจากแหล่งต่าง ๆ และให้ผลตอบแทนแก่เจ้าของเงินลงทุนเหล่านันอย่างเพียงพอ อัตรา
ผลตอบแทนจากเงินลงทุน จึงเป็นเครืองวัดการดําเนินงานของธุรกิจและยังใช้ประโยชน์ทีสําคัญทีสุด 2
ประการ คือ
ก) เป็นเครืองมือชีความมีประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหารกําไรทีได้เพียงพอหรือ
มากกว่าค่าของทุนในเงินทีจ่ายลงทุนในธุรกิจหรือไม่ สิงสําคัญทีสุดขึนอยู่กับสินทรัพย์ทีมีอยู่ ความ
ชํานาญความซือสัตย์ และแรงกระตุ้นจากฝ่ายบริหาร ดังนันการลงทุนทีให้ผลตอบแทนจากเงินลงทุน
เป็นระยะเวลายาว เป็นสิงทีผู้วิเคราะห์ต้องให้ความสนใจและให้ความสําคัญอย่างมาก จะต้องประมาณ
ถึงประสิทธิภาพในการดําเนินงานของธุรกิจนัน และตัวทีสําคัญก็คือ คุณภาพของฝ่ายบริหาร
ข) ใช้เป็นเครืองมือในการวัดเครืองมือกําไร หน้าทีสําคัญประกาทีสอง ของอัตราผลตอบแทน
จากเงินลงทุน ก็คือ เป็นสือกลางในการคาดคะเนกําไร กรณีนีจะใช้ประโยชน์จากความสัมพันธ์กําไร
กับเงินลงทุน ทังในอดีตและปัจจุบัน เพือเป็นตัวเชือมโยงหาอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนในอนาคต
ได้ ตามวิธีนีนอกจากใช้เป็นเครืองมือเบืองต้นในการคาดคะเนกําไรแล้ว ยังใช้เป็นเครืองมือทดสิบกําไร
ทีคาดคะเนได้จากวิธีอืนส่วนหนึง
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม
เพชรี ขุมทรัพย์ ( 2554 : 283) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (Return on Assets
หรือ ROA) ในหมวดของการวัดประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหาร เรียกอีกชือหนึง
ว่า อัตราความสามารถในการหากําไร (Earning Power) เป็นการวัดการใช้ประโยชน์จาก
สินทรัพย์ทีมีอยู่ว่าใช้ได้มากน้อยเพียงใดซึงคํานวณจากสูตร ดังนี
อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (ROA) = กําไรสุทธิ x 100
สินทรัพย์รวม
1.4 การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน
การวิเคราะห์ต้นทุน
อดิศร เลาหวณิช ( 2552 : 77) การวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior Analysis) เป็นการ
วิเคราะห์ผลทีต้นทุนตอบสนองการเปลียนแปลงปริมาณกิจกรรมการผลิต ณ ระดับต่าง ๆ เนืองจากต้นทุน
ต่อหน่วยจะมีการผันแปรไปได้เมือปริมาณการผลิตเปลียนแปลง เพราะต้นทุนบางส่วนทีเป็นต้นทุนคงทีไม่
ว่าปริมาณการผลิตจะมากน้อยเพียงใด ทําให้ต้นทุนต่อหน่วยเปลียนแปลงไปในทีนีต้องพิจารณาทีต้นทุนผัน
แปร (variable cost)ต้นทุนคงที (semi - fixed cost)
ต้นทุนผันแปร (Variable cost) หมายถึง ต้นทุนทีแปรเปลียนโดยตรงหรือเกือบโดยตรงกับระดับการ
ผลิตทีแปรเปลียนไป ในกิจการทีผลิตสินค้า ต้นทุนผันแปรจะได้แก่วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง
เพราะปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง และค้าแรงงานทางตรงจะผันแปรามประมาณการผลิตอย่างแน่นอน สํา
หลับในกิจการทีซือสินค้ามาจําหน่อยต้นทุนผันแปรจะได้แก่ต้นทุนขาย ซึงเกียวข้องโดยตรงกับต้นทุนของ
สินค้าทีกิจการขายออกไป
ต้นทุนคงที (Fixed cost) หมายถึง ต้นทุนทีไม่เปลียนแปลงตามยอดผลิตโดยตรง ไม่ว่าปริมาณการ
ผลิตจะมากหรือ เช่น การทีกิจการเช่าโรงงานและต้องเสียค่าเช่า ไม่ว่าการผลิตจะมากหรือน้อยกิจการก็ต้อง
เสียค่าเช่าเท่าเดิม ดังนัน ยิงผลิตสินค้ามากเท่าใด ต้นทุนสินค้าต่อหน่วยก็จะลดลง ในทางตรงกันข้ามถ้า
ผลิตน้อยลงต้นทุนต่อหน่วยก็จะยิงสูงขึน
ต้นทุนกึงคงที (Semi - fixed cost) ต้นทุนคงทีนันแม้จะไม่ผันแปรตามปริมาณการผลิต แต่ก็เป็น
เพียงระดับการผลิตช่วงหนึงเท่านัน ถ้ากิจการจะต้องเพิมกําลังการผลิตมากขึน กิจการอาจจะต้องเช่าโรงงาน
เพิม มีค่าใช้จ่ายเพิม โดยทีปริมาณการผลิตในโรงงานแห่งทีสองอาจไม่มากนัก ทําให้ต้นทุนต่อหน่วย
เพิมขึนได้
ต้นทุนรวม (Total cost) หมายถึง ต้นทุนผันแปรกับต้นทุนคงทีเป็นต้นทุนทังหมดทีเกิดขึนจริง
การวิเคราะห์ต้นทุนปริมาณและกําไร
การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกําไร หมายถึง การวิเคราะห์ความสําคัญของต้นทุน
ปริมาณ และกําไร ทีได้จากการดําเนินงาน การวิเคราะห์มีประโยชน์ในแง่ ของการนําผลทีได้มา
ใช้ในการพิจารณาผลการดําเนินงาน ทราบราคาขาย ทราบจุดคุ้มทุนของการผลิตสินค้าเพือจําหน่าย
แต่ละครัง และทราบแนวทางในการกําหนดราคา ปริมาณจําหน่ายเพือให้ได้กําไรตามทีต้องการสิง
เหล่านีผู้วิเคราะห์จะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ของต้นทุนทีผันแปรตามยอดขาย ต้นทุนคงที ซึง
แปรเปลียนตามยอดขาย และปริมาณขาย โดยมีปัจจัยสําคัญทีควรทราบดังนี
กําไรขันต้น (Contribution margin) หมายถึง ผลต่างของยอดขายสิทธิกับต้นทุนผันแปร
กําขันต้นต่อหน่วย (Contribution margin per unit) หมายถึง การพิจารณาผลต่างของ
ยอดขายสุทธิกับต้นทุนผันแปร แต่คิดบนอัตราต่อหน่วย
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์ (2554 : 259) จุดคุ้มทุน (Break even point) หมายถึง จุดขาย
แสดงในรูปปริมาณหน่วยขายหรือราคาขายรวม ณ จุดทีไม่เกิดกําไรหรือขาดทุน หากพิจารณาจะ
พบว่า ณ จุดคุ้มทุน คือการทีกิจการจะต้องขายเพือให้ยอดขาย ณ จุดดังกล่าวครอบคลุมทังต้นทุน
ผันแปรทีเกิดขึนทุก ๆ หน่วยทีขาย และขายด้วยปริมาณมากพอทีกําไรทีเกิดขึนแต่ละหน่วยเมือ
รวมกันแล้วมีมูลค่าเท่ากับต้นทุนคงทีทังหมดจึงทําให้เกิดการเสมอตัว ไม่ขาดทุนหรือกําไร การ
วิเคราะห์โดยใช้กําไรขันต้นต่อหน่วย เป็นการวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดทีว่าจะต้องขายกีหน่วย
เพือให้กําไรขันต้นต่อหน่วยครอบคลุมต้นทุนคงทีทังหมด จะทําให้เข้าใจง่ายทีสุด ทังนีเพราะ
กําไรต่อหน่วยหลังหักต้นทุนผันแปร เหลือเท่าใดก็นําไปหารต้นทุนคงทีทังหมด ทีเกิดขึนก็จะ
เป็นปริมาณขาย ณ จุดคุ้มค่าต้นทุนคงที และไม่เกิดกําไรหรือขาดทุน
การคํานวณหาจุดคุ้มทุนสามารถคํานวณได้จากสูตร ดังนี
ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงทีรวม
(ราคาต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย)
การวิเคราะห์ผลตอบแทน
เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 307) งบกําไรขาดทุนเป็นงบแสดงผลการดําเนินการดําเนินงานของ
ธุรกิจสําหรับช่วงเวลาหนึงการวิเคราะห์รายระเอียดของแต่ละรายการทีสําคัญ ๆ ในงบกําไรขาดทุนเป็น
สิงสําคัญยิงเนืองจากความสําเร็จของธุรกิจในระยะยาวขึนอยู่กับกําไรทีธุรกิจนันทํามาหาได้รายการ
สําคัญในงบกําไรขาดทุนถ้าเราย้อนกลับไปดูงบกําไรขาดทุน จะสังเกตเห็นว่ามีรายการสําคัญ ๆ ดังนี คือ
ยอดขาย ต้นทุนขาย กําไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงาน และกําไรสุทธิ
ยอดขายทีปรากฏในงบกําไรขาดทุน เป็นรายการแสดงรายได้ของธุรกิจทีเกิดขึนในช่วงเวลานัน สะท้อน
ให้เห็นถึงการเคลือนไหวขันพืนฐานของธุรกิจ จากงบกําไรขาดทุน ผลต่างระหว่างยอกขายและต้นทุน
ขายและค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ก็คือกําไรจากการดําเนินงาน (EBIT) โดยปกติเมือยอดขายเพิมขึน
กําไรจากการดําเนินงานมักจะเพิมขึนด้วย อย่างไรก็ตามการทียอดขายของธุรกิจเพิมขึนก็มิได้
หมายความว่าธุรกิจนันจะต้องกําไรจากการดําเนินงานเพิมขึนเสมอไปถ้าอัตราการเพิมขึนของต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายดําเนินงานนันเพิมขึนในอัตราเร็วกว่าอัตราเพิมของยอดขายแล้วกําไรจากการดําเนินงานแทนที
จะเพิมขึนกลับจะลดลง นอกจากนีกําไรจากการดําเนินงานทีได้อาจไม่สามารถชดเชยดอกเบียจ่าย
ช่วงเวลานัน ถ้าเป็นเช่นนีบริษัทก็จะเกิดผลขาดทุน ในทางตรงกันข้ามเมือยอดขายของธุรกิจลดลง ก็
ไม่ได้หมายความว่ากําไรจากการดําเนินงานจะลดลงเสมอไป อย่างไรก็ตามยอดขายก็ยังเป็นตัววัด
สถานภาพของธุรกิจนันในอุตสาหกรรมนัน ๆ ว่ามีพลังมากน้อยเพียงใด
เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 309) อัตราส่วยต้นทุนขายต่อขายสุทธิ สะท้อนให้เห็นว่ายอดขายสุทธิ
100 บาท เป็นต้นทุนสินค้าทีขายเท่าใด
อัตราส่วนต้นทุนขายต่อขายสุทธิ = ต้นทุนขาย× 100
ขายสุทธิ
การวิเคราะห์การเปลียนแปลงของกําไรขันต้น
การวิเคราะห์การเปลียนแปลงของกําไรขันต้น เป็นการเน้นวิเคราะห์เฉพาะช่วงก่อนกําไรขันต้น ได้แก่
ยอดขาย และต้นทุนขาย ซึงปัจจัยทีก่อให้เกิดการเปลียนแปลงในกําไรขันต้นนันอาจเนืองมาจากราคา
ขายต่อหน่วย จํานวนหน่วยและต้นทุนต่อหน่วย เป็นต้น ถ้าบริษัทมีสินค้าเพียงชนิดเดียว งบกําไร
ขาดทุนเฉพาะส่วนกําไรขึนต้นจะแสดงให้เห็นถึงการเปลียนแปลงอันเกิดจากยอดขาย ราคาขาย และ
ต้นทุนทีขายของสินค้านัน หรือกล่าว ย่อ ๆ ว่า
ยอดขายเปลียนแปลงเนืองมาจาก การเปลียนแปลงจํานวนหน่วยขายและราคาขายของสินค้านัน
ต้นทุนขายเปลียนแปลงเนืองมาจากจํานวนหน่วยขาย และต้นทุนของสินค้านัน
การวิเคราะห์กําไรจากการดําเนินงาน
เป็นการวิเคราะห์กําไรขึนต้นกับกําไรจากการดําเนินงาน รายการทีวิเคราะห์ระหว่างช่วงนีก็คือ
ค่าใช้จ่ายดําเนินงาน ซึงค่าใช้จ่ายดําเนินงานนีประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการขายค่าใช้จ่ายในการบริหาร
และค่าใช้จ่ายทัวไป เมือนํากําไรขันต้นหักด้วยค่าใช้จ่ายดําเนินงานดังกล่าวก็จะได้กําไรจากการ
ดําเนินงาน การวิเคราะห์ในช่วงนีในช่วงนีสิงทีวิเคราะห์ต้องการทราบก็คือ กําไรจากการดําเนินงานปีนี
เป็นเท่าไหร่ เพิมขึนหรือลดลงจากปีก่อน ๆ มากน้อยเพียงใด และการทีกําไรจากการดําเนินงานเพิม
หรือลดเป็นสาเหตุอะไร
เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 310) อัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ อัตราส่วน
นีแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการหากําไรเมือเทียบกับยอดขาย
สูตรทีใช้ในการคํานวณอัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ มีดังนี
อัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ = กําไรจากการดําเนินงาน × 100
ขายสุทธิ
1.5 การลงบัญชีรายรับ-รายจ่าย (วสันต์ กาญจนมุกดา,2547)
1. ช่อง วันที เดือน พ.ศ.
ใช้บันทึกวันที เดือน และปีพ.ศ. ทีมีรายการรับเงินและรายการทีจ่ายเงินเกิดขึน
2. ช่องรายการ
ใช้บันทึกรายละเอียดของรายการรับเงิน เช่น รับเงินค่าขายของ รับเงินจากค่าจ้าง เงินกู้ เป็นต้น
หรือใช้บันทึกรายละเอียด ของรายจ่าย เช่น ชําระหนีเงินกู้ จ่ายเงินค่าซือปุ๋ ย เงินจ่ายค่านําค่าไฟ
ค่าข้าวสาร ซ้อของใช้ในบ้านเป็นต้น
3. รายรับ
ใช้บันทึก จํานวนเงิน ทีได้รับเข้ามาให้ตรงกับรายละเอียดในช่องรายการ
4. ช่อง รายการ
ใช้บันทึก จํานวนเงิน ทีจ่ายออกไปเป็นเงินสดและเงินเชือทุกรายการ ให้ตรงรายละเอียดในช่อง
รายการ
5. ช่อง คงเหลือ
ใช้บันทึกยอดคงเหลือ โดยนํา รายรับ-รายจ่าย
6. การสรุปบัญชี รายรับ-รายจ่าย
ใช้บันทึกยอดเงินรวมของจํานวนเงินทีได้รับและจํานวนเงินทีจ่ายของแต่ละเดือน
2. งานวิจัยทีเกียวข้อง
กัญญนัทธ ตันติสุข (2551) ได้ศึกษาการวิจัยเรืองต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกข้าว
แบบหว่านนําตมในพืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยมี
วัตถุประสงค์เพือ 1. เพือศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกข้าวแบบหว่านตมในพืนทีแต่
ละขนาดในตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยทําการเปรียบเทียบพืนที 3 ขนาด
คือ การปลูกข้าวทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ การปลูกข้าวทีมีพืนที 50-100 ไร่ และการปลูกข้าวทีมีพืนที
ขนาด 100 ไร่ขึนไป 2. เพือศึกษาปัญหาถึงการลงทุนปลูกข้าวแบบหว่านนาตมในเขตตําบลทองหลาง
อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3. เพือเป็นแนวทางสําหรับราชการทีเกียวข้องนําไปพัฒนาเกษตรกร
ในการลดต้นทุนการปลูกข้าว โดยใช้วิธีรวบรวมข้อมูลโดยการออกแบบสัมภาษณ์ สอบถามเกษตรกรที
ปลูกข้าวในตําบลบึงทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี แบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 35 ราย โดย
ใช้วีธีแบ่งกลุ่มเกษตรกรออกเป็น 3 กลุ่ม ตามขนาดพืนที คือ พืนทีเพะปลูกน้อยกว่า 50 ไร่ จํานวน 15 ราย
พืนทีเพาะปลูก 50-100 ไร่ จํานวน 15 ราย พืนทีเพาะปลูก 100 ไร่ขึนไป จํานวน 5 ราย โดยกําหนด
ระยะเวลาโครงการ เท่ากับ 4 เดือน และประเมินผลตอบแทนด้วยอัตราผลตอบแทนขันตํา ร้อยละ 8
ผลจากการศึกษาพบว่า ต้นทุนและผลตอบแทน จําแนกตามขนาดพืนทีเพาะปลูก สรุปได้ดังนี 1.
พืนทีเพาะปลูกน้อยกว่า 50 ไร่ มีต้นทุนรวมในการเพาะปลูกข้างเฉลียต่อไร่ต่อฤดู เป็นจํานวน
4,244.54 บาท มีกําไรสุทธิ 5,775.46 บาท มีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับ ร้อยละ
73.77 มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เป็นบวก มีอัตราผลตอบแทนทีแท้จริง (IRR) เท่ากับ ร้อยละ
27.99 ตามลําดับ
เกรียงไกร มายประเสริฐ (2551) ได้ค้นคว้าแบบอิสระเรืองการศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและ
ผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวหอมมะลิกับข้าวสุพรรณบุรี ในเขตอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด
กําแพงเพชร มีวัตถุประสงค์2 ประการคือ 1) เพือการศึกษาการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทน
ของการปลูกข้าวหอมมะลิกับข้าวสุพรรณบุรีในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร 2) เพือที
ศึกษาถึงปัญหาในการปลูกข้าวหอมมะลิ และข้าวสุพรรณบุรี ซึงอยู่ในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด
กําแพงเพชร โดยการใช้วิธีรวบรวมข้อมูลโดยการออกแบบสอบถามและสัมภาษณ์เกษตรกรทีปลูก
ข้าวหอมมะลิและข้าวสุพรรณบุรี ในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร จํานวน 400 ราย
โดยจะแบ่งออกเป็นการสัมภาษณ์เกษตรกรทีปลูกข้าวหอมมะลิ จํานวน 200 ราย และเกษตรกรที
ปลูกข้าวสุพรรณบุรีจํานวน200 ราย โดยกําหนดระยะเวลาโครงการเท่ากับ 5 ปีและประเมิน
ผลตอบแทนด้วยอัตราขันตําร้อยละ 8 ต่อปี โดยทีอ้างอิงจากอัตราดอกเบียเงินกู้ระยะยาว ของ
ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ผลการศึกษาจึงพบว่า จากการสัมภาษณ์เกษตรกรทัง 400 ราย ทีได้ปลูกข้าวหอมมะลิจํานวน
200 ราย มีพืนทีในการเพาะปลูกทังหมด 12,258 ไร่ และเป็นของตนเอง 9,473 ไร่ และเป็นส่วนทีเช่า
2,785 ไร่ ในส่วนของเกษตรกรทีปลูกข้าวสุพรรณบุรีจํานวน 200 ราย ทีมีพืนทีในเพาะปลูกทังหมด
9,886 ไร่ และเป็นของตนเอง 7,313 ไร่ทีเหลืออีก 2,573 ไร่ เป็นพืนทีทีเช่า โดยเกษตรกรทัง 400 ราย
จะปลูกข้าว 2 ครังต่อปีและส่วนใหญ่จะกู้ยืมเงินจาก ธ.ก.ส.การปลูกข้าวหอมมะลินัน มีต้นทุนรวม
เฉลียต่อไร่ต่อปีระหว่างปีที 1-5 และเป็นจํานวนเงิน 8,172.80 – 9,365.43 บาท จะประกอบด้วยต้นทุน
ทีเป็นเงินสดเท่ากับ 5,657.24 – 6,849.87 บาทและต้นทุนทีไม่เป็นเงินสดเท่ากับ 2,515.56 บาท และผล
กําไร (ขาดทุน) รวมเป็นจํานวนเงิน 1,487.20 – 294.57 บาทต่อไร่ต่อปีซึงมีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 4 ปี
และมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ-572.78 บาทและอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนเท่ากับ ร้อยละ 5
การปลูกข้าวสุพรรณบุรีจึงมีต้นทุนรวมเฉลียต่อไร่ต่อปีระหว่างปีที 1-5 และเป็นจํานวนเงิน 6,778.68–
7,893.74 บาท จะประกอบไปด้วยต้นทุนทีเป็นเงินสดเท่ากับ 4,967.67–6,082.62 บาทและต้นทุนที
ไม่ได้เป็นเงินสดเท่ากับ 1,811.12 บาท และผลกําไร (ขาดทุน) เฉลียเป็นจํานวนเงิน5,224.11 –
4,109.06 บาทต่อไร่ต่อปีซึงก็มีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 3 ปี 5 เดือนและมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ
11,673.64 บาท และอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนเท่ากับร้อยละ 9 เมือเปรียบเทียบต้นทุนและ
ผลตอบแทนของข้าวทัง 2 พันธุ์แล้ว จึงพบว่า ข้าวสุพรรณบุรีมีต้นทุนรวมเฉลียน้อยกว่าข้าวหอมมะลิ
และมีผลตอบแทนทีทีสูงกว่าข้าวหอมมะลิ โดยทีมีระยะเวลาคืนทุนได้เร็วกว่า และมีมูลค่าปัจจุบันเป็น
บวกรวมทังมีอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนสูงกว่าแสดงว่าข้าวสุพรรณบุรีมีความน่าสนใจใน
การปลูกมากกว่าข้าวหอมมะลิ
เครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล
การศึกษาครังนีใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะคือ
ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึงสอบถาม
จากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการความรู้การทําบัญชีเก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานา บ้าน
พลายชุมพล หมู่ที 3 อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 คน
ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้าหมายหลังจากทีนักศึกษาได้
ออกมาให้บริการความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยทีเกียวข้อง
สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึงข้อมูลทีรวบรวมได้จาก
แบบสอบถามจะนํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistica) ประกอบด้วย ร้อยละ (Percentage)
และค่าเฉลียเลขคณิต (Mean)
หลังจากผู้ศึกษาได้ทําการสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามทีกําหนดไว้เรียบร้อยแล้ว นําข้อมูลทีได้จากการสอบถาม
มาทําการประมวลผล เพือเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเป็นแบบ Likert Scals (กุณฑลี เวชสาร,
2540) ซึงใช้มาตราส่วนเกินประเมินค่า 5 ระดับ โดยกําหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี
มากทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 5
มาก ให้นําหนักคะแนนเป็น 4
ปานกลาง ให้นําหนักคะแนนเป็น 3
น้อย ให้นําหนักคะแนนเป็น 2
น้อยทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 1
โดยทีเกณฑ์การแปลผลจะพิจารณาจากค่าเฉลีย ซึงได้กลับไปเป็นค่าระดับ (ยุทธ ไวยวรรณ์, 2544) ดังนี
ค่าคะแนนเฉลีย 4.50 – 5.00 เป็นค่าระดับคะแนนทีมากทีสุด
ค่าคะแนนเฉลีย 3.50 – 4.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีมาก
ค่าคะแนนเฉลีย 2.50 – 3.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีปานกลาง
ค่าคะแนนเฉลีย 1.50 – 2.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีน้อย
ค่าคะแนนเฉลีย 1.00 – 1.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีน้อยทีสุด
ผลการทําโครงการ
ค่าเฉลียอายุ
0
50
100
เพศชาย
เพศหญิง
ค่าเฉลียอายุ
ค่าเฉลียอายุ
ค่าเฉลียพฤติกรรมก่อนทําโครงการ
1
4
7
10
2.6
2.8
3
3.2
3.4
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ค่าเฉลียความเห็นของการให้บริการความรู้ ณ วันทีทําการสอน
1
4
7
10
0
1
2
3
4
5
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
ค่าเฉลียความเห็นของการติดตามผลหลังการสอน
1
4
7
10
4
4.1
4.2
4.3
4.4
4.5
4.6
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
สรุปผลโครงการ
การประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง
จากการศึกษาโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง มีค่าเฉลีย
เท่ากับ 4.5 ถือว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ การจดบันทึก
บัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อย
เพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9 รองลงมาคือ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านสามารถ
รู้ค่าใช้จ่ายในแต่ละตัวได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.6 และน้อยทีสุดคือ การจดบันทึก
บัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบต้นทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อยเพียงใด โดยมี
ค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 โดยแสดงให้เห็นว่าหลังจากผู้ตอบแบบสอบถามได้บันทึกบัญชี ทําให้ผู้ตอบ
แบบสอบถามทราบถึงผลกําไรขาดทุนจากการลงทุนทํานาได้ ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญญ
นัทธ ตันติสุข ทีได้สรุปผลการศึกษาไว้ว่า การวิจัยต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนทํานาปลูก
ข้าวแบบหว่านนําตมในพืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบว่า
เกษตรกรทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ มีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับร้อยละ 73.77
ทังนี อาจเนืองมาจากการลงทุนปลูกข้างของเกษตรกรรายย่อยให้ผลผลิตต่อไร่ตํา ในขณะทีต้นทุนใน
การผลิตสูงขึน จึงทําให้เกษตรกรได้กําไรสุทธิเฉลียต่อไร่ตํา
อภิปรายผล
ข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
จากข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว หมู่ที 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอ
เมือง จังหวัดพิษณุโลก พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงจํานวน 7 คน มีอายุตังแต่ 45 ปีขึนไป
คิดเป็นร้อยละ 90 ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย,ปวส คิดเป็นร้อยละ 60
ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับรายได้ 10,001 – 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 70 ผู้ตอบแบบสอบถาม
สถานะภาพสมรสอยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 70 ผู้ตอบแบบสอบถามอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 40
และผู้ตอบแบบสอบถามมีจํานวนทีนาตํากว่า 10 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 40
ประเมินประเมินความถูกต้องและเข้าใจในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายเมือท่านเข้าร่วมกิจกรรม
จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินประเมินความถูกต้องและ
เข้าใจในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายเมือท่านเข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.46 ถือว่าอยู่ในระดับ
มาก รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ ท่านสามารถบันทึกบัญชีโดยแยกบัญชีรายรับ-รายจ่ายจาก
ต้นทุนการทํานาได้ด้วยตัวเอง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 รองลงมาคือ ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลง
บันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.6 น้อยทีสุดคือ การจัดทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้
ท่านทราบวิธีการจดบันทึกทีถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ
เข้าใจในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายมากขึน และมองเห็นประโยชน์ถึงการทําบัญชี สามารถนําไป
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของวสันต์ กาญจนมุกดา ได้กล่าวถึงวิธีการ
ลงบัญชีรายรับ-รายจ่ายทีเข้าใจง่ายสามารถบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างถูกต้อง
ประเมินการประเมินการจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็นระบบ
จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินประเมินการจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็น
ระบบ มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.62 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีความเห็นมากทีสุดได้แก่ ท่านสามารถนํา
ยอดเงินคงเหลือไปใช้ในอนาคตได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ5.0 รองลงมาคือ ทําให้ท่านทราบยอดเงินคงเหลือได้ง่ายและ
สะดวก โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 น้อยทีสุด คือ ท่านสามารถสรุปต้นทุนจากการทํานาได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.3
โดยแสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีการลงบัญชีอย่างต่อเนืองส่งผลให้ทราบยอดเงินทีคงเหลือทีแท้จริงจากการ
ลงทุนทํานาและสามารถวางแผนการใช้เงินลงทุนจากการทํานาได้
ประเมินการประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง
จากการศึกษาโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.5 ถือ
ว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่าน
ทราบกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9 รองลงมาคือ
การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านสามารถรู้ค่าใช้จ่ายในแต่ละตัวได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ
4.6 และน้อยทีสุดคือ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบต้นทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้
มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 โดยแสดงให้เห็นว่าหลังจากผู้ตอบแบบสอบถามได้บันทึกบัญชี ทําให้
ผู้ตอบแบบสอบถามทราบถึงผลกําไรขาดทุนจากการลงทุนทํานาได้ ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญญนัทธ ตันติ
สุข ทีได้สรุปผลการศึกษาไว้ว่า การวิจัยต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนทํานาปลูกข้าวแบบหว่านนําตมใน
พืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบว่า เกษตรกรทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ มีอัตรา
ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับร้อยละ 73.77 ทังนี อาจเนืองมาจากการลงทุนปลูกข้างของเกษตรกรราย
ย่อยให้ผลผลิตต่อไร่ตํา ในขณะทีต้นทุนในการผลิตสูงขึน จึงทําให้เกษตรกรได้กําไรสุทธิเฉลียต่อไร่ตํา
ประเมินแบบฟอร์มบัญชีและสือการสอน
จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินแบบฟอร์มบัญชีและสือการ
สอน มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.66 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุดคือ
ท่านมีความเข้าใจในแบบฟอร์มมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 และมีตัวอย่างการทํา
บัญชีเกียวกับรายรับ-รายจ่ายมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 รองลงมาคือ ใช้ตัวอย่าง
ประกอบได้อย่างเหมาะสมและเข้าใจง่ายได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 และน้อย
ทีสุดคือ แบบฟอร์มบัญชีทําให้ท่านสะดวกสะดวกต่อการจดบันทึกมากน้อยเพียงใด โดยมี
ค่าเฉลียเท่ากับ 4.4 โดยแสดงให้เห็นถึงผู้ตอบแบบสอบถามมีการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ในแบบฟอร์มทําให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจบัญชีรายรับ-รายจ่ายมากขึน
การประเมินผู้จัดทําโครงการ
จากการศึกษาพบว่าโดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผู้จัดทําโครงการ
มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.76 ถือว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่
การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้จัดทําโครงการมีมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9
รองลงมาคือ ใช้ภาษาและถ้อยคําทีเหมาะสมและเข้าใจง่ายมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ
4.8 และน้อยทีสุดคือ มีการแสดงตัวอย่างการบันทึกบัญชีและสรุปยอดเงินคงเหลือได้อย่าง
ถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 โดยแสดงให้เห็นว่า นักศึกษามีการเตรียมตัวและความพร้อม
มาก
ข้อเสนอแนะ
1. ควรมีการบันทึกบัญชีทันทีทีมีรายการเกิดขึน ถ้าบันทึกทันทีไม่ได้ก็ไม่ควรเกิน 1 สัปดาห์
เพือทราบข้อมูลทีทันต่อเหตุการณ์ และป้องกันการลืมบันทึกบัญชี
2. ควรมีกิจกรรมสอนทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายอย่างต่อเนือง
3. ควรมีหน่วยงานทีมีประสบการณ์ด้านบัญชีมาให้ความรู้เพิมเติมแก่กลุ่มเกษตรกรเพือ
เพิมความเข้าใจมากขึน
4. ควรศึกษาแนวทางในการเพิมผลผลิตข้าวต่อไร่ให้สูงขึน และศึกษาแนวทางในการลด
ต้นทุนในการปลูกข้าว ซึงจะทําให้มีกําไรสุทธิเพิมขึน
รูปภาพการทํากิจกรรมในโครงการ
1. ให้กลุ่มเป้าหมายประเมินแบบสอบถามความรู้/ความเข้าใจพฤติกรรม
ก่อนทําโครงการ
2. สอนกลุ่มเป้าหมายลงบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายจากต้นทุนการทํานา
3. ให้กลุ่มเป้าหมายประเมินแบบสอบถามการให้ความรู้ ณ วันทีทําการสอน
4. กลุ่มเป้าหมายลงบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย
5. ติดตามผลหลังการสอนและอธิบายเพิมเติมเล็กน้อย ครังที 1
6. กลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามประเมินโครงการ
7. รวบรวมเล่มสรุปผลโครงการ
รูปเล่มบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย
ตัวอย่างสือการสอน
โจทย์พิเศษ
ม.ค 2 จ้างหว่านข้าว ค่าจ้าง 500 บาท
4 จ้างฉีดยาคุมหญ้า ค่าจ้าง 850 บาท
8 จ้างฉีดยาคุม(ฆ่าเพลีย) 4 ครังๆละ 50 บาท/ไร่ 200 บาท
11 ค่าจ้างรถเกียว ไร่ละ 300 บาท
22 ค่าขนส่งข้าวเข้าโรงสีไร่ ละ 200 บาท (ผลผลิตไร่ละ 1ตันๆละ 200 บาท)
24 ค่าปุ๋ ยไร่ละ 50 กก. 850 บาท
27 ค่ายาเพลีย ยาคุมหญ้า 4,000 บาท 12 ไร่ๆละ 333 บาท
28 ค่าข้าวปลูก # 47 ไร่ละ 3 ถังๆละ 200 บาท รวม 600 บาท
30 ค่านํามันโซล่าร์ 400 ลิตรๆละ 30 รวม 12,000 ทํานา 12 ไร่ๆละ 1,000 บาท
ขายราคาจํานํา 12,000 หักความชืน สิงเจือปน เหลือรับสุทธิประมาณเกวียนละ 11,500 บาท
ทํานา 6 ไร่ได้ข้าวเป็นนําหนักก่อนหักความชืนรวม 6 ตัน (1,000 กิโลต่อไร่) ทีความชืน 24-25%
รับเงินสุทธิจากการทํานา 6 ไร่ 96,000 บาท
ตารางบันทึกรายรับ-รายจ่ายต้นทุนในการลงทุนทํานา
นางประจิม สาดอํา
ทีอยู่ 49 หมู่ 3 ต.พลายชุมพล อ.เมือง จ.พิษณุโลก
วัน
เดือน
ปี
ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการลงทุนทํานา
ค่าพันธุ์
ข้าวปลูก
ค่าปันนา/
ไถนา
ค่านํามัน
ไถนา/
เครืองสูบ
นํา
ค่ายาปราบ
ศัตรูพืช/
ค่าจ้างฉีด
ยา
ค่าปุ๋ ย
ค่าซ่อม
อุปกรณ์ใน
การทํานา
ค่ารถเกียว
ข้าว/ค่าจ้าง
รถลากข้าว
ค่าแรงงาน
เก็บเกียว
ค่าเช่า
พืนทีทํานา
ค่าใช้จ่ายอืน ๆ
รวม
รายการ จํานวน
2/01/56
จ้างหว่าน
ข้าว
500 500
4/01/56
850 850
8/01/56
200 200
11/01/56
300 300
22/01/56
200 200
24/01/56
850 850
รวม
1,050 850 500 2,900
043
043

More Related Content

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 
034
034034
034
 

043

  • 1. หลักการและเหตุผล เนืองจากเศรษฐกิจในปัจจุบันนีเกิดปัญหาสภาวะสินค้าล้นตลาดเป็นปัญหาทีเกียวเนืองมากับปริมาณ ความต้องการสินค้าเกษตรกร กับปริมาณผลผลิตทางการเกษตรกรทีมากเกินความต้องการของตลาดและส่งผล เกียวเนืองทําให้สินค้าเกษตรกรตกตําในทีสุด ปัญหาความยากจนของเกษตรกรเกิดจากปัจจัยหลากหลาย โดยเฉพาะปัจจัยทางสังคมทังเรืองตลาด เศรษฐกิจ นายทุนเกษตรกรกู้เงินจากสถาบันการเงินทีได้มาก็ใช้ในการ ซือเมล็ดพันธุ์ ซือปุ๋ ย ซือยาฆ่าแมลง และจ้างแรงงาน พอลงทุนก้อนใหญ่ไปหมดแล้วเงินก็หมดพอดี แต่พืชผลที หว่านไปยังไม่ออกดอกออกผลทันทีจึงทําให้เกษตรกรต้องไปกู้เงินนอกระบบมาใช้ก่อนรอให้ผลผลิตถูกเก็บ เกียวก็จะได้โอกาสใช้หนีและเก็บผลกําไรจากการลงทุน เกษตรกรต้องมีการวางแผนการจัดทําบัญชีรายรับ- รายจ่าย การบริหารต้นทุน และจากการสํารวจพบว่าเกษตรกรส่วนใหญ่ยังขาดความรู้ในการวางแผนทางการเงิน หรือการวิเคราะห์ผลการตอบแทนทางการลงทุน จุดคุ้มทุน และไม่คํานวณรายรับรายจ่ายให้ดี ซึงการขาดความรู้ และการวางแผนตรงนีทําให้ใช้จ่ายไม่เป็นระบบหากไม่จัดการวางแผนอย่างมีประสิทธิภาพในระยะยาวก็ ก่อให้เกิดปัญหาขาดทุนได้ง่าย ๆ จากทีกล่าวมาทําให้กลุ่มข้าพเจ้ามีแนวคิดทีจะจัดทําโครงการบริการความรู้ในการทําบัญชีแก่เกษตรกร ผู้ทําอาชีพทํานาบ้านพลายชุมพล หมู่ที 3 อ.เมือง จ.พิษณุโลก เพือนําไปเสนอแก่ชาวบ้านพรายชุมพลให้มีการ จดบันทึกข้อมูลเกียวกับต้นทุนเกียวกับการลงทุนทํานา ข้อมูลทีได้จากการทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายจะทําให้ เกษตรกรรู้ค่าใช้จ่ายทีเกิดขึนว่ามีรายรับรายจ่ายเท่าใดสามารถนําข้อมูลทีได้มาเป็นตัวบ่งชีและจะเป็นการ วางแผนการเงินในอนาคตต่อไป
  • 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 1. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานารู้จักการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายจากต้นทุน การทํานา 2. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็นระบบ 3. เพือให้กลุ่มเกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาได้รับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง
  • 4. ขอบเขตของโครงการ การดําเนินโครงการครังนีเป็นการสอนแนะนําทําบัญชีแก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาเน้นให้ เกษตรกรต้องมีความรู้เรืองการทําบัญชีเกษตรกรให้ตามระดับความเข้าใจของเกษตรกรโดยมี กลุ่มเป้าหมายคือ เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานาบ้านพลายชุมชน 10 ราย ประกอบด้วย 1. นางประจิม สาดอํา ทีอยู่ บ้านเลขที 49 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 2. นายสนอง เฮิงมน ทีอยู่ บ้านเลขที 22/ หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 3. นางคนึงทิพย์ แก้วบานดอน ทีอยู่ บ้านเลขที 29/1 หมู่ 3 ตําบลพรายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 4. นางจันทรา แก้วดา ทีอยู่ บ้านเลขที 32 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
  • 5. 5. นางวาลี อยู่ม่วง ทีอยู่ บ้านเลขที 53 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 6. นายสนัน กล้าหาญศึก ทีอยู่ บ้านเลขที 78 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 7. นางทองคํา มาทอง ทีอยู่ บ้านเลขที 10 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 8. นายเชน ปินทอง ทีอยู่ บ้านเลขที 90 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 9. นางศรีไพร ตึงกอก ทีอยู่ บ้านเลขที 81 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 10. นางสําลี ทองหนัก ทีอยู่ บ้านเลขที 57 หมู่ 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
  • 6. แนวคิด ทฤษฎี และงานวิจัยทีเกียวข้อง การศึกษาผลของการจัดทําโครงการ บริการให้ความรู้การทําบัญชีแก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานา บ้าน พลายชุมพล หมูที 3 อ. เมือง จ. พิษณุโลก ในครังนีผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากเอกสาร ตํารา และงานวิจัยทีเกียวข้อง เพือนํามาเป็นข้อมูลประกอบการศึกษาและอ้างอิง ในการจัดทําโครงการใน ครังนี โดยแบ่งหัวข้อออกเป็น 1. แนวคิด ทฤษฎี 1.1 หลักการ แนวคิด เกียวกับต้นทุน 1.2 หลักการ แนวคิด แนวคิดเกียวกับโครงสร้างต้นทุน ความสามารถใน การหา กําไร และวิเคราะห์จุดคุ้มทุน 1.3 หลักการ แนวคิด อัตราส่วนวัดความสามารถในการหากําไร 1.4 หลักการ แนวคิด การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน 1.5 หลักการ แนวคิด การลงบัญชีรายรับ-รายจ่าย 2. งานวิจัยทีเกียวข้อง
  • 7. 1.1 แนวคิดทฤษฎีเกียวกับต้นทุน เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์ (2554:72) ต้นทุนมีความหมายสําหรับฝ่ายบริหารเป็นอย่างยิงในการ ตัดสินใจเกียวกับการผลิตหรือการซือสินค้า การกําหนดราคาขาย การยกเลิกผลิตภัณฑ์การเลือก กรรมวิธีการผลิต และประเภทสินค้า ดังนันข้อมูลเกียวกับต้นทุนสินค้าจะต้องแสดงต้นทุนอย่างละเอียด จึงจะช่วยผู้บริหารให้สามารถวิเคราะห์ทางเลือกต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและมีประสิทธิภาพสูงสุด อนุรักษ์ ทองสุโขวงศ์ (2554) กล่าวถึงต้นทุน (Cost) หมายถึงมูลค่าของทรัพยากรทีสูญเสียไป เพือให้ได้สินค้าบริการ โดยมูลค่านันจะต้องสามารถวัดได้เป็นหน่วยเงินตราซึงเป็นลักษณะของการ ลดลงในสินทรัพย์หรือเพิมขึนในหนีสิน ต้นทุนทีเกิดขึนอาจจะให้ประโยชน์ในอนาคตก็ได้ เมือต้นทุน ใดทีเกิดขึนแล้ว และกิจการได้ใช้ประโยชน์ไปทังสินแล้วต้นทุนนันก็จะถือเป็น ค่าใช้จ่าย (Expenses) ดังนัน ค่าใช้จ่ายจึงหมายถึงต้นทุนทีได้ให้ประโยชน์และกิจการได้ใช้ประโยชน์ทังหมดไปแล้วใน ขณะนัน และสําหรับต้นทุนทีกิจการสูญเสียไป แต่จะให้ประโยชน์แก่กิจการในอนาคตเรียกว่า สินทรัพย์ (Assets) จากแนวความคิดเกียวกับต้นทุนจากข้างต้นสรุปได้ว่า ต้นทุนนันเป็นได้ทังสินทรัพย์และค่าใช้จ่าย ในกรณีทีเป็นสินทรัพย์จะเกิดขึนเมือกิจการจ่ายออกไปเพือให้ได้สินค้าและบริการ มีไว้เพือจําหน่ายหรือ มีไว้เพือใช้งาน เป็นต้นทุนทีใช้แล้วยังมีประโยชน์ต่ออนาคต และตัดจ่ายต้นทุนในรูปของค่าเสือมราคา ของสินทรัพย์โดยจะนําไปแสดงไว้ในงบดุล ส่วนกรณีทีเป็นค่าใช้จ่าย จะเป็นต้นทุนของสินค้าหรือ บริการทีกิจการจ่ายออกไปเพือให้เกิดรายได้
  • 8. 1.2 แนวคิดเกียวกับโครงสร้างต้นทุน ความสามารถในการหากําไร และวิเคราะห์จุดคุ้มทุน ความหมายของต้นทุน (รองศาสตราจารย์ศรีสุดา ธีระกาญจน์ การบัญชีเพือการจัดการคณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์) ต้นทุน หมายถึง เงินสดหรือสิงเปรียบเทียบเงินสดทีจ่ายไปเพือให้ได้มา ซึงสินค้าและบริการ บริการทีเป็นประโยชน์ต่อธุรกิจทังในปัจจุบันและอนาคต เมือต้นทุนได้ ก่อให้เกิดประโยชน์ทางธุรกิจแล้วต้นทุนส่วนนันจะเปลียนสภาพเป็นค่าใช่จ่ายซึงจะนําไปหักจาก รายได้ในแต่ละงวดบัญชี ต้นทุนมีหลายประเภทขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ทีจะนําไปใช้โดยทัวไปต้นทุนสามารถจําแนกได้ ดังนี 1. การจําแนกต้นทุนการผลิตและต้นทุนทีไม่เกียวข้องกับการผลิต 2. การจําแนกต้นทุนในงบการเงิน 3. การจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรม 4. การจําแนกต้นทุนเพือการวางแผนและการควบคุม 5. การจําแนกต้นทุนเพือการตัดสินใจ 6. การจําแนกต้นทุนคุณภาพ
  • 9. ในการวิเคราะห์โครงสร้างต้นทุนการปลูกข้าวด้วยปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยอินทรีย์จะจําแนกต้นทุน ด้วยวิธีการจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรม คือ การจําแนกค้นทุนตามพฤติกรรม การศึกษาพฤติกรรมของต้นทุน จะเป็นประโยชน์ต่อผู้บริหารทีจะทราบได้ว่าจะเป็นอย่างไร จํานวนเท่าไร เมือตัดสินใจเปลียนแปลงระดับกิจกรรมไปจากเดิมคือลักษณะการเกิดของต้นทุน แต่ละชนิดเมือระดับกิจกรรม หรือปริมาณเปลียนแปลงไปแล้วจากเดิม ไม่ว่ากิจกรรมหรื อปริมาณจะเพิมขึนหรือลดลง ในขณะทีทุนบางชนิดเปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมหรือ ปริมาณทีเปลียนไป การจําแนกต้นทุนตามพฤติกรรมของต้นทุนนัน สามารถจําแนกได้ 2 ประเภท คือ ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที
  • 10. ต้นทุนผันแปรและต้นทุนคงที ต้นทุนผันแปร หมายถึง ต้นทุนทีจํานวนรวมเปลียนแปลงไปในทิศทางเดียวกันกับระดับกิจกรรมที เปลียนแปลง กล่าวคือ ระดับกิจกรรมน้อย ต้นทุนก็น้อยด้วย ระดับกิจกรรมมากขึน ต้นทุนรวมก็ เพิมมากขึน ในสัดส่วนทีเท่ากัน หากพิจารณาต้นทุนต่อหน่วยแล้วจะเห็นว่าต้นทุนผันแปรต่อหน่วย จะคงทีเสมอ ไม่ว่าระดับกิจกรรมจะเปลียนไปอย่างไรก็ตาม ต้นทุนคงที หมายถึง ต้นทุนจํานวนรวมทีไม่เปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมทีเปลียนไป กล่าวคือ เมือระดับกิจกรรมเพิมขึนหรือลดลง ต้นทุนคงทียังมีจํานวนรวมเท่าเดิมไม่เปลียนแปลง แต่หากถัว เฉลียเป็นต้นทุนต่อหน่วยแล้ว จะเห็นว่าต้นทุนคงที ต่อหน่วยจะเปลียนแปลงไปตามระดับกิจกรรมใน ทิศทางตรงข้ามกัน คือ เมือมีการผลิตจํานวนหน่วยลดลง ต้นทุนคงทีต่อหน่วยจะสูง แต่หากจํานวน การผลิตเพิมมากขึน ต้นทุนคงทีต่อหน่วยจะลดลง เช่น ค่าเช่าทีดิน ภาษีทีดิน ค่าเสือมราคาทาง อุปกรณ์ทางการเกษตรกร ความสามารถในการหากําไร หมายถึง ส่วนทีแสดงถึงความสามารถในการจัดการ และการหา รายได้จากการขายหลังจากหักค่าใช้จ่ายทังสินแล้ว จะบอกระดับความสามารถในการทํากําไรในช่วง นัน สะท้อนให้เห็นถึงการหารายได้ และการควบคุมค่าใช้จ่ายทังหมด
  • 11. 1.3 อัตราส่วนวัดความสามารถในการหากําไร ศาสตราจารย์เพชรี ขุมทรัพย์ วิเคราะห์งบการเงิน (2552) อัตราส่วนนีใช้วัดประสิทธิภาพในการ บริหารงานของฝ่ายบริหาร แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มคือ 1. กลุ่มกําไรสัมพันธ์กับยอดขาย 2. กลุ่มกําไรสัมพันธ์กับการลงทุน ซึงในการวัดความสามารถในการหากําไรของการปลูกข้าวด้วยปุ๋ ยเคมีกับปุ๋ ยอินทรีย์จะใช้วิธี สัมพันธ์กับยอดขาย อัตราส่วนกับกลุ่มนี ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหาร อัตราส่วนนีสะท้อนให้เห็นประสิทธิภาพในการควบคุมค่าใช้จ่าย การทํากําไรจากยอดขายแต่จะไม่ก้าว ไกลไปถึงวัดการเปลียนแปลงของปริมาณขาย อัตราส่วนกําไรขันต้น (ร้อยละ) = กําไรขันต้น x 100 ยอดขาย อัตราส่วนนีแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการ หากําไรขันต้นของเกษตรกรผู้ปลูกข้าวโดยยัง ไม่คํานึงถึงค่าใช้จ่ายดําเนินงานอืน ๆ อัตราส่วนกําไรจาการดําเนินงาน (ร้อยละ) = กําไรจาการดําเนินงาน x 100 ยอดขาย
  • 12. อัตราส่วนนีใช้ชีวัดความสามารถจากการดําเนินงานโดยตรง สะท้อนให้เห็นถึงผลจากค่าใช้จ่าย ในการดําเนินงานและต้นทุน จุดคุ้มทุน (Break Even Point) หมายถึง ระดับของยอดขายของกิจการทีเท่ากับค่าใช้จ่าย ทังหมดของกิจการ ซึงก็คือจุดทีกิจการไม่มีผลกําไรหรือขาดทุนนันเอง โดยจุดคุ้มทุนจะสามารถหาได้ ก็ต่อเมือผู้ประกอบการสามารถแยกได้ว่าค่าใช้จ่ายของธุรกิจนันมรอะไรเป็นต้มทุนคงที และต้นทุนผัน แปรอย่างละเท่าไรบ้าง จากการคํานวณดังนี จุดคุ้มทุน (หน่วยขายทีคุ้มทุน) = ต้นทุนคงที ราคาขายต่อหน่วย – ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย จุดคุ้มทุน (ยอดขายทีคุ้มทุน) = หน่วยขายทีคุ้มทุน x ราคาขายต่อหน่วย หรือ ต้นทุนคงที อัตรากําไรส่วนเกิน
  • 13. หลักการแนวคิดและผลตอบแทน เพชรี ขุมทรัพย์ ( 2554 : 279) สิงทีผู้ลงทุนมุ่งหวังจะได้จากการลงทุนไม่ว่าจะเป็นการลงทุน ในธุรกิจ ในหลักทรัพย์หรือในอสังหาริมทรัพย์ ก็คือ ผลตอบแทนหรืออัตราผลตอบแทนจากการ ลงทุนนัน ซึงคําว่าอัตราผลตอบแทนนีมีความหมายกว้างขวางมาก อาจหมายถึงอัตราผลตอบแทนจาก สินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนระยะยาว อัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น สามัญ และอัตราผลตอบแทนทีกินความหมายแคบลงไปอีก ก็คืออัตราผลตอบแทนจากโครงการ ลงทุนเฉพาะโครงการ ซึงแต่ละอย่างจะมีรูปแบบการจัดทีแตกต่างกันไปบ้าง และการใช้ประโยชน์ก็ แตกต่างกัน ทังนีขึนอยู่กับวัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์เป็นสําคัญ อัตราส่วนผลตอบแทนนอกจาก ใช้ประโยชน์ ในการประเมินผลของโครงการปฏิบัติงาน ยังใช้ประโยชน์ช่วยในการตัดสินใจลงทุน วางแผน ควบคุมและปรับปรุงการดําเนินงาน อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 282) อัตราผลตอบแทนจากการลงทุน(Return on Investment หรือ ROI) เป็นเกณฑ์ในการวัดการปฏิบัติงานทีมีความสําคัญมาก เกณฑ์ในการวัดการปฏิบัติงานมีหลาย อย่าง เช่น วัดจากการเปลียนแปลงในยอดขาย เปลียนแปลงกําไร หรือวัดจากผลิตผลทีได้ การวัดแต่ ละอย่างมิได้เป็นเกณฑ์วัดทีสมบูรณ์ ถ้ายอดขายเพิมแสดงว่าการปฏิบัติงานทําได้ดี แต่การเพิมขึนของ ยอดขายอาจเป็นผลให้เสียค่าใช้จ่ายสูง เช่น เสียส่วนลดสูง หรือเกิดจากการลดราคา ดังนัน เกณฑ์ การวัดทีดีควรวัดจากกําไร ซึงเป็นปัญหาอีกว่ากําไรมากหรือน้อย เปรียบเทียบจากอะไร ทางหนึงทีทํา ให้เราทราบถึงภาวะในการหากําไรของบริษัท ก็คือ การเปรียบเทียบกําไรทีหาได้ขนาดของเงินที ลงทุน ดังนันวิธีการวัดการปฏิบัติงานของธุรกิจด้วยกําไรสุทธิต่อเงินลงทุนในสินทรัพย์ทีก่อให้เกิด รายได้ จึงเป็นวิธีทีใช้ได้ดี และใช้กันอย่างกว้างขวาง
  • 14. อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน ใช้ประโยชน์ในการเปรียบเทียบเลือกทางเลือกในการลงทุน หากทางเลือกต่าง ๆ ให้ผลตอบแทนทีแตกต่างกัน แต่มีระดับความเสียงทีเท่ากัน กรณีเช่นนีจะเลือก ทางเลือกทีให้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนสูงทีสุด แต่ตามข้อเท็จจริงการลงทุนในสินทรัพย์แต่ละ ประเภท อัตราผลตอบแทนทีได้ไม่เท่ากัน ทังนีขึนอยู่กับความเสียงในสินทรัพย์ลงทุนประเภทนัน ๆ เช่น ลงทุนในพันธบัตรรัฐบาล อัตราผลตอบแทนจะตํา เนืองจากความเสียงน้อยมากหรือกล่าวได้ว่า ไม่มีความเสียงเลย ผิดกับการลงทุนในสินทรัพย์ประเภทอืน ๆ โดยเฉพาะอย่างยิงสินทรัพย์ประเภทที มีอายุการใช้งานมากกว่าหนึงปี ความเสียงจะสูงและอัตราผลตอบแทนทีต้องการเพือให้ความคุ้มกับ ความเสียงจึงสูงด้วย ดังนันอัตราผลตอบแทนจึงให้ประโยชน์ในการประเมินผลการดําเนินงาน ผลตอบแทนทีได้เป็นไปตามเป้าหมายทีต้องการหรือไม่ สูตรในการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนมี ดังนี อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน = กําไรสุทธิ× 100 สินทรัพย์รวม
  • 15. เงินลงทุนในทีนีมีได้หลายความหาย การวัดผลตอบทนจึงขึนอยู่กับจุดมุ่งหมายในการวัด เป็นต้น ว่าวัดผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม ผลตอบแทนจากเงินลงทุนระยะยาว (หนีสินระยะยาว + ส่วนของผู้ ถือหุ้น) หรือผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นต้น สินทรัพย์รวม อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวมเป็นวิธีวัดประสิทธิภาพการดําเนินงานทีดี ทีสุดของธุรกิจ เป็นการวัดผลตอบแทนจากสินทรัพย์ทังหมดทีมีอยู่ในธุรกิจอย่างไรก็ตามการวัด ผลตอบแทนนี ผู้วิเคราะห์อาจให้ความสนใจหรือเน้นวัดเงินทุนเฉพาะส่วน หรือคาดคะเนการ ดําเนินงาน สําหรับสินทรัพย์รวมนันอาจมีสินทรัพย์บางส่วนทีมิได้ใช้ในการดําเนินงานตามปกติของ ธุรกิจ เช่น โรงงานทีไม่ได้ใช้ประโยชน์ สิงอํานวยความสะดวกทีอยู่ระหว่างก่อสร้างของคงเหลือที มากกว่าความจําเป็น เงินสดถือได้มากกว่าความจําเป็น สินทรัพย์ทีไม่มีตัวตน และรายจ่ายรอการตัด บัญชี ตามแนวคิดนีในการคํานวณจะใช้สินทรัพย์ดําเนินงาน จะไม่รวมสินทรัพย์ตามทีกล่าว ทังนีโดย มีแนวคิดว่า ผู้บริหารไม่ควรต้องรับผิดชอบในการตามหาผลตอบแทนให้กับสินทรัพย์ส่วยทีมิได้ นํามาใช้ประโยชน์เพือหารายได้โดยตรง แต่แนวคิดอีกลักษณะหนึงกลับเห็นว่าสินค้าทีลงทุนมากเกิน ความจําเป็น หรือลงทุนในสินทรัพย์มากเกินความจําเป็น ยิงแสดงว่าให้เห็นถึงการใช้สินทรัพย์ขันขาด ประสิทธิภาพ กรณีเช่นนีควรทีจะนําสินทรัพย์ดังกล่าวรวมอยู่ในสินทรัพย์ดําเนินงานด้วยอย่างไรก็ตาม มีสินทรัพย์บางรายการทีมิใช่กีลงทุนเพือการดําเนินงานตามปกติของธุรกิจนันโดยตรงแต่ลงทุนไว้ เนืองจากมีเงินมาเกินความจําเป็นหรือเพือต้องการควบคุมกิจการอืน รายการเหล่านี ได้แก่ เงินลงทุน ระยะยาว อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ดําเนินการ จึงมิควรรวมสินทรัพย์ดังกล่าว
  • 16. ในแง่ของการใช้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนในการบริหารภายใน ควรประเมินการ ดําเนินงานด้วยสินทรัพย์ก่อนหักค้าเสือมราคาสะสมด้วยเหตุผลนี ก) สินทรัพย์เมือถูกใช้งานผ่านไป ยังคงสามารถใช้งานต่อไปได้ การคิดค่าเสือมราคาในแต่ละ ปีเป็นเพียงการจัดสรรสินทรัพย์ถือเป็นค่าใช้จ่าย เพือคํานวณกําไรเท่านัน ข) ถ้าสินทรัพย์ทีใช้เป็นสินทรัพย์สุทธิ ในปีต่อ ๆ ไป สินทรัพย์สุทธิจะลดลงทัง ๆ ทีกําไรปี ต่อไปยังคงเหมือนเดิม อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนสุทธินีจะเพิมขึน ๆ โดยไม่ต้องใช้ความพยายาม มากกว่าเดิม ซึงอาจทําให้เกิดความเข้าใจผิดได้ เงินลงทุนระยะยาว (หนีสินระยะยาว + ส่วนของผู้ถือหุ้น) อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน ระยะยาว ผู้ทีสนใจในอัตราผลตอบแทนนีมีอยู่ 2 ฝ่าย ซึงต่างก็เป็นผู้ทีให้เงินลงทุนระยะยาวได้แก่ เจ้าหนีระยะยาว และผู้ถือหุ้น ส่วนของผู้ถือหุ้น เป็นอัตราผลตอบแทนจากส่วนของผู้ถือหุ้น ซึงอัตราส่วนนีผู้ทีใช้ประโยชน์ก็ คือผู้ถือหุ้น เป็นเครืองวัดว่าผู้ลงทุนจะได้ผลตอบแทนจากเงินลงทุนส่วนนีเท่าไร กําไรทีนํามาให้ในการคํานวณควรเป็นกําไรจากการดําเนินงาน กําไรก่อนภาษี หรือกําไรสุทธิ ซึงจะใช้กําไรตัวใดนันขึนอยู่กับอัตราผลตอบแทนทีต้องการคํานวณหา ซึงแบ่งเป็นกรณีดังนี ก) ถ้าต้องการคํานวณหาอัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม หรือเงินลงทุนระยะยาว กําไรที ใช้ควรเป็นกําไรก่อดอกเบียและภาษี ทังนีมองในแง่ผลตอบแทนให้แก่เจ้าของเงินทุน คือ เจ้าหนี ส่วน เงินปันผลถือเป็นผลตอบแทนทีให้แก่ทุนของส่วยผู้ถือหุ้น ข) การคํานวณหาอัตราผลตอบแทนส่วนของผู้ถือหุ้นสามัญ กําไรท่าจะต้องเป็นกําไรหลักหัก ดอกเบียและหลังหักภาษีเงินได้ นอกจากนีหารเป็นบริษัททีมีหุ้นบุริมสิทธ์ เงินปันผลหุ้นบุริมสิทธ์ จะต้องหักออกด้วย เพือหากําไรของส่วนผู้ถือหุ้นสามัญ
  • 17. เป้าหมายในการใช้อัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุน การปฏิบัติงานอย่างประหยัด เป็นเป้าหมายแรกของธุรกิจทีจะต้องถือปฏิบัติประสิทธิภาพในการ ปฏิบัติงานและดําเนินงานจะเป็นตัวกําหนดความอยู่รอดทางการเงินของธุรกิจนันจึงเป็นตัวดึงดูดใจ เจ้าของเงินทุนจากแหล่งต่าง ๆ และให้ผลตอบแทนแก่เจ้าของเงินลงทุนเหล่านันอย่างเพียงพอ อัตรา ผลตอบแทนจากเงินลงทุน จึงเป็นเครืองวัดการดําเนินงานของธุรกิจและยังใช้ประโยชน์ทีสําคัญทีสุด 2 ประการ คือ ก) เป็นเครืองมือชีความมีประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหารกําไรทีได้เพียงพอหรือ มากกว่าค่าของทุนในเงินทีจ่ายลงทุนในธุรกิจหรือไม่ สิงสําคัญทีสุดขึนอยู่กับสินทรัพย์ทีมีอยู่ ความ ชํานาญความซือสัตย์ และแรงกระตุ้นจากฝ่ายบริหาร ดังนันการลงทุนทีให้ผลตอบแทนจากเงินลงทุน เป็นระยะเวลายาว เป็นสิงทีผู้วิเคราะห์ต้องให้ความสนใจและให้ความสําคัญอย่างมาก จะต้องประมาณ ถึงประสิทธิภาพในการดําเนินงานของธุรกิจนัน และตัวทีสําคัญก็คือ คุณภาพของฝ่ายบริหาร ข) ใช้เป็นเครืองมือในการวัดเครืองมือกําไร หน้าทีสําคัญประกาทีสอง ของอัตราผลตอบแทน จากเงินลงทุน ก็คือ เป็นสือกลางในการคาดคะเนกําไร กรณีนีจะใช้ประโยชน์จากความสัมพันธ์กําไร กับเงินลงทุน ทังในอดีตและปัจจุบัน เพือเป็นตัวเชือมโยงหาอัตราผลตอบแทนจากเงินลงทุนในอนาคต ได้ ตามวิธีนีนอกจากใช้เป็นเครืองมือเบืองต้นในการคาดคะเนกําไรแล้ว ยังใช้เป็นเครืองมือทดสิบกําไร ทีคาดคะเนได้จากวิธีอืนส่วนหนึง
  • 18. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม เพชรี ขุมทรัพย์ ( 2554 : 283) อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (Return on Assets หรือ ROA) ในหมวดของการวัดประสิทธิภาพในการบริหารงานของฝ่ายบริหาร เรียกอีกชือหนึง ว่า อัตราความสามารถในการหากําไร (Earning Power) เป็นการวัดการใช้ประโยชน์จาก สินทรัพย์ทีมีอยู่ว่าใช้ได้มากน้อยเพียงใดซึงคํานวณจากสูตร ดังนี อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์รวม (ROA) = กําไรสุทธิ x 100 สินทรัพย์รวม
  • 19. 1.4 การวิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทน การวิเคราะห์ต้นทุน อดิศร เลาหวณิช ( 2552 : 77) การวิเคราะห์พฤติกรรมต้นทุน (Cost Behavior Analysis) เป็นการ วิเคราะห์ผลทีต้นทุนตอบสนองการเปลียนแปลงปริมาณกิจกรรมการผลิต ณ ระดับต่าง ๆ เนืองจากต้นทุน ต่อหน่วยจะมีการผันแปรไปได้เมือปริมาณการผลิตเปลียนแปลง เพราะต้นทุนบางส่วนทีเป็นต้นทุนคงทีไม่ ว่าปริมาณการผลิตจะมากน้อยเพียงใด ทําให้ต้นทุนต่อหน่วยเปลียนแปลงไปในทีนีต้องพิจารณาทีต้นทุนผัน แปร (variable cost)ต้นทุนคงที (semi - fixed cost) ต้นทุนผันแปร (Variable cost) หมายถึง ต้นทุนทีแปรเปลียนโดยตรงหรือเกือบโดยตรงกับระดับการ ผลิตทีแปรเปลียนไป ในกิจการทีผลิตสินค้า ต้นทุนผันแปรจะได้แก่วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง เพราะปริมาณการใช้วัตถุดิบทางตรง และค้าแรงงานทางตรงจะผันแปรามประมาณการผลิตอย่างแน่นอน สํา หลับในกิจการทีซือสินค้ามาจําหน่อยต้นทุนผันแปรจะได้แก่ต้นทุนขาย ซึงเกียวข้องโดยตรงกับต้นทุนของ สินค้าทีกิจการขายออกไป ต้นทุนคงที (Fixed cost) หมายถึง ต้นทุนทีไม่เปลียนแปลงตามยอดผลิตโดยตรง ไม่ว่าปริมาณการ ผลิตจะมากหรือ เช่น การทีกิจการเช่าโรงงานและต้องเสียค่าเช่า ไม่ว่าการผลิตจะมากหรือน้อยกิจการก็ต้อง เสียค่าเช่าเท่าเดิม ดังนัน ยิงผลิตสินค้ามากเท่าใด ต้นทุนสินค้าต่อหน่วยก็จะลดลง ในทางตรงกันข้ามถ้า ผลิตน้อยลงต้นทุนต่อหน่วยก็จะยิงสูงขึน ต้นทุนกึงคงที (Semi - fixed cost) ต้นทุนคงทีนันแม้จะไม่ผันแปรตามปริมาณการผลิต แต่ก็เป็น เพียงระดับการผลิตช่วงหนึงเท่านัน ถ้ากิจการจะต้องเพิมกําลังการผลิตมากขึน กิจการอาจจะต้องเช่าโรงงาน เพิม มีค่าใช้จ่ายเพิม โดยทีปริมาณการผลิตในโรงงานแห่งทีสองอาจไม่มากนัก ทําให้ต้นทุนต่อหน่วย เพิมขึนได้ ต้นทุนรวม (Total cost) หมายถึง ต้นทุนผันแปรกับต้นทุนคงทีเป็นต้นทุนทังหมดทีเกิดขึนจริง
  • 20. การวิเคราะห์ต้นทุนปริมาณและกําไร การวิเคราะห์ต้นทุน ปริมาณ และกําไร หมายถึง การวิเคราะห์ความสําคัญของต้นทุน ปริมาณ และกําไร ทีได้จากการดําเนินงาน การวิเคราะห์มีประโยชน์ในแง่ ของการนําผลทีได้มา ใช้ในการพิจารณาผลการดําเนินงาน ทราบราคาขาย ทราบจุดคุ้มทุนของการผลิตสินค้าเพือจําหน่าย แต่ละครัง และทราบแนวทางในการกําหนดราคา ปริมาณจําหน่ายเพือให้ได้กําไรตามทีต้องการสิง เหล่านีผู้วิเคราะห์จะต้องพิจารณาความสัมพันธ์ของต้นทุนทีผันแปรตามยอดขาย ต้นทุนคงที ซึง แปรเปลียนตามยอดขาย และปริมาณขาย โดยมีปัจจัยสําคัญทีควรทราบดังนี กําไรขันต้น (Contribution margin) หมายถึง ผลต่างของยอดขายสิทธิกับต้นทุนผันแปร กําขันต้นต่อหน่วย (Contribution margin per unit) หมายถึง การพิจารณาผลต่างของ ยอดขายสุทธิกับต้นทุนผันแปร แต่คิดบนอัตราต่อหน่วย
  • 21. การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน เฉลิมขวัญ ครุฑบุญยงค์ (2554 : 259) จุดคุ้มทุน (Break even point) หมายถึง จุดขาย แสดงในรูปปริมาณหน่วยขายหรือราคาขายรวม ณ จุดทีไม่เกิดกําไรหรือขาดทุน หากพิจารณาจะ พบว่า ณ จุดคุ้มทุน คือการทีกิจการจะต้องขายเพือให้ยอดขาย ณ จุดดังกล่าวครอบคลุมทังต้นทุน ผันแปรทีเกิดขึนทุก ๆ หน่วยทีขาย และขายด้วยปริมาณมากพอทีกําไรทีเกิดขึนแต่ละหน่วยเมือ รวมกันแล้วมีมูลค่าเท่ากับต้นทุนคงทีทังหมดจึงทําให้เกิดการเสมอตัว ไม่ขาดทุนหรือกําไร การ วิเคราะห์โดยใช้กําไรขันต้นต่อหน่วย เป็นการวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดทีว่าจะต้องขายกีหน่วย เพือให้กําไรขันต้นต่อหน่วยครอบคลุมต้นทุนคงทีทังหมด จะทําให้เข้าใจง่ายทีสุด ทังนีเพราะ กําไรต่อหน่วยหลังหักต้นทุนผันแปร เหลือเท่าใดก็นําไปหารต้นทุนคงทีทังหมด ทีเกิดขึนก็จะ เป็นปริมาณขาย ณ จุดคุ้มค่าต้นทุนคงที และไม่เกิดกําไรหรือขาดทุน การคํานวณหาจุดคุ้มทุนสามารถคํานวณได้จากสูตร ดังนี ปริมาณขาย ณ จุดคุ้มทุน = ต้นทุนคงทีรวม (ราคาต่อหน่วย - ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย)
  • 22. การวิเคราะห์ผลตอบแทน เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 307) งบกําไรขาดทุนเป็นงบแสดงผลการดําเนินการดําเนินงานของ ธุรกิจสําหรับช่วงเวลาหนึงการวิเคราะห์รายระเอียดของแต่ละรายการทีสําคัญ ๆ ในงบกําไรขาดทุนเป็น สิงสําคัญยิงเนืองจากความสําเร็จของธุรกิจในระยะยาวขึนอยู่กับกําไรทีธุรกิจนันทํามาหาได้รายการ สําคัญในงบกําไรขาดทุนถ้าเราย้อนกลับไปดูงบกําไรขาดทุน จะสังเกตเห็นว่ามีรายการสําคัญ ๆ ดังนี คือ ยอดขาย ต้นทุนขาย กําไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน กําไรจากการดําเนินงาน และกําไรสุทธิ ยอดขายทีปรากฏในงบกําไรขาดทุน เป็นรายการแสดงรายได้ของธุรกิจทีเกิดขึนในช่วงเวลานัน สะท้อน ให้เห็นถึงการเคลือนไหวขันพืนฐานของธุรกิจ จากงบกําไรขาดทุน ผลต่างระหว่างยอกขายและต้นทุน ขายและค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ก็คือกําไรจากการดําเนินงาน (EBIT) โดยปกติเมือยอดขายเพิมขึน กําไรจากการดําเนินงานมักจะเพิมขึนด้วย อย่างไรก็ตามการทียอดขายของธุรกิจเพิมขึนก็มิได้ หมายความว่าธุรกิจนันจะต้องกําไรจากการดําเนินงานเพิมขึนเสมอไปถ้าอัตราการเพิมขึนของต้นทุนและ ค่าใช้จ่ายดําเนินงานนันเพิมขึนในอัตราเร็วกว่าอัตราเพิมของยอดขายแล้วกําไรจากการดําเนินงานแทนที จะเพิมขึนกลับจะลดลง นอกจากนีกําไรจากการดําเนินงานทีได้อาจไม่สามารถชดเชยดอกเบียจ่าย ช่วงเวลานัน ถ้าเป็นเช่นนีบริษัทก็จะเกิดผลขาดทุน ในทางตรงกันข้ามเมือยอดขายของธุรกิจลดลง ก็ ไม่ได้หมายความว่ากําไรจากการดําเนินงานจะลดลงเสมอไป อย่างไรก็ตามยอดขายก็ยังเป็นตัววัด สถานภาพของธุรกิจนันในอุตสาหกรรมนัน ๆ ว่ามีพลังมากน้อยเพียงใด
  • 23. เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 309) อัตราส่วยต้นทุนขายต่อขายสุทธิ สะท้อนให้เห็นว่ายอดขายสุทธิ 100 บาท เป็นต้นทุนสินค้าทีขายเท่าใด อัตราส่วนต้นทุนขายต่อขายสุทธิ = ต้นทุนขาย× 100 ขายสุทธิ การวิเคราะห์การเปลียนแปลงของกําไรขันต้น การวิเคราะห์การเปลียนแปลงของกําไรขันต้น เป็นการเน้นวิเคราะห์เฉพาะช่วงก่อนกําไรขันต้น ได้แก่ ยอดขาย และต้นทุนขาย ซึงปัจจัยทีก่อให้เกิดการเปลียนแปลงในกําไรขันต้นนันอาจเนืองมาจากราคา ขายต่อหน่วย จํานวนหน่วยและต้นทุนต่อหน่วย เป็นต้น ถ้าบริษัทมีสินค้าเพียงชนิดเดียว งบกําไร ขาดทุนเฉพาะส่วนกําไรขึนต้นจะแสดงให้เห็นถึงการเปลียนแปลงอันเกิดจากยอดขาย ราคาขาย และ ต้นทุนทีขายของสินค้านัน หรือกล่าว ย่อ ๆ ว่า ยอดขายเปลียนแปลงเนืองมาจาก การเปลียนแปลงจํานวนหน่วยขายและราคาขายของสินค้านัน ต้นทุนขายเปลียนแปลงเนืองมาจากจํานวนหน่วยขาย และต้นทุนของสินค้านัน การวิเคราะห์กําไรจากการดําเนินงาน เป็นการวิเคราะห์กําไรขึนต้นกับกําไรจากการดําเนินงาน รายการทีวิเคราะห์ระหว่างช่วงนีก็คือ ค่าใช้จ่ายดําเนินงาน ซึงค่าใช้จ่ายดําเนินงานนีประกอบด้วยค่าใช้จ่ายในการขายค่าใช้จ่ายในการบริหาร และค่าใช้จ่ายทัวไป เมือนํากําไรขันต้นหักด้วยค่าใช้จ่ายดําเนินงานดังกล่าวก็จะได้กําไรจากการ ดําเนินงาน การวิเคราะห์ในช่วงนีในช่วงนีสิงทีวิเคราะห์ต้องการทราบก็คือ กําไรจากการดําเนินงานปีนี เป็นเท่าไหร่ เพิมขึนหรือลดลงจากปีก่อน ๆ มากน้อยเพียงใด และการทีกําไรจากการดําเนินงานเพิม หรือลดเป็นสาเหตุอะไร
  • 24. เพชรี ขุมทรัพย์ (2554 : 310) อัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ อัตราส่วน นีแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการหากําไรเมือเทียบกับยอดขาย สูตรทีใช้ในการคํานวณอัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ มีดังนี อัตราส่วนกําไรจากการดําเนินงานต่อขายสุทธิ = กําไรจากการดําเนินงาน × 100 ขายสุทธิ
  • 25. 1.5 การลงบัญชีรายรับ-รายจ่าย (วสันต์ กาญจนมุกดา,2547) 1. ช่อง วันที เดือน พ.ศ. ใช้บันทึกวันที เดือน และปีพ.ศ. ทีมีรายการรับเงินและรายการทีจ่ายเงินเกิดขึน 2. ช่องรายการ ใช้บันทึกรายละเอียดของรายการรับเงิน เช่น รับเงินค่าขายของ รับเงินจากค่าจ้าง เงินกู้ เป็นต้น หรือใช้บันทึกรายละเอียด ของรายจ่าย เช่น ชําระหนีเงินกู้ จ่ายเงินค่าซือปุ๋ ย เงินจ่ายค่านําค่าไฟ ค่าข้าวสาร ซ้อของใช้ในบ้านเป็นต้น 3. รายรับ ใช้บันทึก จํานวนเงิน ทีได้รับเข้ามาให้ตรงกับรายละเอียดในช่องรายการ 4. ช่อง รายการ ใช้บันทึก จํานวนเงิน ทีจ่ายออกไปเป็นเงินสดและเงินเชือทุกรายการ ให้ตรงรายละเอียดในช่อง รายการ 5. ช่อง คงเหลือ ใช้บันทึกยอดคงเหลือ โดยนํา รายรับ-รายจ่าย 6. การสรุปบัญชี รายรับ-รายจ่าย ใช้บันทึกยอดเงินรวมของจํานวนเงินทีได้รับและจํานวนเงินทีจ่ายของแต่ละเดือน
  • 26. 2. งานวิจัยทีเกียวข้อง กัญญนัทธ ตันติสุข (2551) ได้ศึกษาการวิจัยเรืองต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกข้าว แบบหว่านนําตมในพืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยมี วัตถุประสงค์เพือ 1. เพือศึกษาต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนปลูกข้าวแบบหว่านตมในพืนทีแต่ ละขนาดในตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี โดยทําการเปรียบเทียบพืนที 3 ขนาด คือ การปลูกข้าวทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ การปลูกข้าวทีมีพืนที 50-100 ไร่ และการปลูกข้าวทีมีพืนที ขนาด 100 ไร่ขึนไป 2. เพือศึกษาปัญหาถึงการลงทุนปลูกข้าวแบบหว่านนาตมในเขตตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี 3. เพือเป็นแนวทางสําหรับราชการทีเกียวข้องนําไปพัฒนาเกษตรกร ในการลดต้นทุนการปลูกข้าว โดยใช้วิธีรวบรวมข้อมูลโดยการออกแบบสัมภาษณ์ สอบถามเกษตรกรที ปลูกข้าวในตําบลบึงทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี แบบเฉพาะเจาะจง จํานวน 35 ราย โดย ใช้วีธีแบ่งกลุ่มเกษตรกรออกเป็น 3 กลุ่ม ตามขนาดพืนที คือ พืนทีเพะปลูกน้อยกว่า 50 ไร่ จํานวน 15 ราย พืนทีเพาะปลูก 50-100 ไร่ จํานวน 15 ราย พืนทีเพาะปลูก 100 ไร่ขึนไป จํานวน 5 ราย โดยกําหนด ระยะเวลาโครงการ เท่ากับ 4 เดือน และประเมินผลตอบแทนด้วยอัตราผลตอบแทนขันตํา ร้อยละ 8 ผลจากการศึกษาพบว่า ต้นทุนและผลตอบแทน จําแนกตามขนาดพืนทีเพาะปลูก สรุปได้ดังนี 1. พืนทีเพาะปลูกน้อยกว่า 50 ไร่ มีต้นทุนรวมในการเพาะปลูกข้างเฉลียต่อไร่ต่อฤดู เป็นจํานวน 4,244.54 บาท มีกําไรสุทธิ 5,775.46 บาท มีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับ ร้อยละ 73.77 มีมูลค่าปัจจุบันสุทธิ (NPV) เป็นบวก มีอัตราผลตอบแทนทีแท้จริง (IRR) เท่ากับ ร้อยละ 27.99 ตามลําดับ
  • 27. เกรียงไกร มายประเสริฐ (2551) ได้ค้นคว้าแบบอิสระเรืองการศึกษาเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนระหว่างการปลูกข้าวหอมมะลิกับข้าวสุพรรณบุรี ในเขตอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด กําแพงเพชร มีวัตถุประสงค์2 ประการคือ 1) เพือการศึกษาการเปรียบเทียบต้นทุนและผลตอบแทน ของการปลูกข้าวหอมมะลิกับข้าวสุพรรณบุรีในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร 2) เพือที ศึกษาถึงปัญหาในการปลูกข้าวหอมมะลิ และข้าวสุพรรณบุรี ซึงอยู่ในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัด กําแพงเพชร โดยการใช้วิธีรวบรวมข้อมูลโดยการออกแบบสอบถามและสัมภาษณ์เกษตรกรทีปลูก ข้าวหอมมะลิและข้าวสุพรรณบุรี ในอําเภอขาณุวรลักษบุรี จังหวัดกําแพงเพชร จํานวน 400 ราย โดยจะแบ่งออกเป็นการสัมภาษณ์เกษตรกรทีปลูกข้าวหอมมะลิ จํานวน 200 ราย และเกษตรกรที ปลูกข้าวสุพรรณบุรีจํานวน200 ราย โดยกําหนดระยะเวลาโครงการเท่ากับ 5 ปีและประเมิน ผลตอบแทนด้วยอัตราขันตําร้อยละ 8 ต่อปี โดยทีอ้างอิงจากอัตราดอกเบียเงินกู้ระยะยาว ของ ธนาคารเพือการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
  • 28. ผลการศึกษาจึงพบว่า จากการสัมภาษณ์เกษตรกรทัง 400 ราย ทีได้ปลูกข้าวหอมมะลิจํานวน 200 ราย มีพืนทีในการเพาะปลูกทังหมด 12,258 ไร่ และเป็นของตนเอง 9,473 ไร่ และเป็นส่วนทีเช่า 2,785 ไร่ ในส่วนของเกษตรกรทีปลูกข้าวสุพรรณบุรีจํานวน 200 ราย ทีมีพืนทีในเพาะปลูกทังหมด 9,886 ไร่ และเป็นของตนเอง 7,313 ไร่ทีเหลืออีก 2,573 ไร่ เป็นพืนทีทีเช่า โดยเกษตรกรทัง 400 ราย จะปลูกข้าว 2 ครังต่อปีและส่วนใหญ่จะกู้ยืมเงินจาก ธ.ก.ส.การปลูกข้าวหอมมะลินัน มีต้นทุนรวม เฉลียต่อไร่ต่อปีระหว่างปีที 1-5 และเป็นจํานวนเงิน 8,172.80 – 9,365.43 บาท จะประกอบด้วยต้นทุน ทีเป็นเงินสดเท่ากับ 5,657.24 – 6,849.87 บาทและต้นทุนทีไม่เป็นเงินสดเท่ากับ 2,515.56 บาท และผล กําไร (ขาดทุน) รวมเป็นจํานวนเงิน 1,487.20 – 294.57 บาทต่อไร่ต่อปีซึงมีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 4 ปี และมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ-572.78 บาทและอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนเท่ากับ ร้อยละ 5 การปลูกข้าวสุพรรณบุรีจึงมีต้นทุนรวมเฉลียต่อไร่ต่อปีระหว่างปีที 1-5 และเป็นจํานวนเงิน 6,778.68– 7,893.74 บาท จะประกอบไปด้วยต้นทุนทีเป็นเงินสดเท่ากับ 4,967.67–6,082.62 บาทและต้นทุนที ไม่ได้เป็นเงินสดเท่ากับ 1,811.12 บาท และผลกําไร (ขาดทุน) เฉลียเป็นจํานวนเงิน5,224.11 – 4,109.06 บาทต่อไร่ต่อปีซึงก็มีระยะเวลาคืนทุนเท่ากับ 3 ปี 5 เดือนและมีมูลค่าปัจจุบันสุทธิเท่ากับ 11,673.64 บาท และอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนเท่ากับร้อยละ 9 เมือเปรียบเทียบต้นทุนและ ผลตอบแทนของข้าวทัง 2 พันธุ์แล้ว จึงพบว่า ข้าวสุพรรณบุรีมีต้นทุนรวมเฉลียน้อยกว่าข้าวหอมมะลิ และมีผลตอบแทนทีทีสูงกว่าข้าวหอมมะลิ โดยทีมีระยะเวลาคืนทุนได้เร็วกว่า และมีมูลค่าปัจจุบันเป็น บวกรวมทังมีอัตราผลตอบแทนเฉลียจากการลงทุนสูงกว่าแสดงว่าข้าวสุพรรณบุรีมีความน่าสนใจใน การปลูกมากกว่าข้าวหอมมะลิ
  • 29. เครืองมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การศึกษาครังนีใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูล 2 ลักษณะคือ ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามซึงสอบถาม จากผู้ทีเข้าร่วมกิจกรรมตามโครงการบริการความรู้การทําบัญชีเก่เกษตรกรผู้ทําอาชีพทํานา บ้าน พลายชุมพล หมู่ที 3 อ.เมือง จ.พิษณุโลก จํานวน 10 คน ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) ศึกษาผลสัมฤทธิของกลุ่มเป้าหมายหลังจากทีนักศึกษาได้ ออกมาให้บริการความรู้ และศึกษาค้นคว้าจากหนังสือ วารสาร เอกสารงานวิจัยทีเกียวข้อง
  • 30. สถิติทีใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผู้ศึกษาเป็นผู้เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) ซึงข้อมูลทีรวบรวมได้จาก แบบสอบถามจะนํามาวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistica) ประกอบด้วย ร้อยละ (Percentage) และค่าเฉลียเลขคณิต (Mean) หลังจากผู้ศึกษาได้ทําการสอบถามกลุ่มเป้ าหมายตามทีกําหนดไว้เรียบร้อยแล้ว นําข้อมูลทีได้จากการสอบถาม มาทําการประมวลผล เพือเป็นแนวทางในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามเป็นแบบ Likert Scals (กุณฑลี เวชสาร, 2540) ซึงใช้มาตราส่วนเกินประเมินค่า 5 ระดับ โดยกําหนดเกณฑ์ให้คะแนน ดังนี มากทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 5 มาก ให้นําหนักคะแนนเป็น 4 ปานกลาง ให้นําหนักคะแนนเป็น 3 น้อย ให้นําหนักคะแนนเป็น 2 น้อยทีสุด ให้นําหนักคะแนนเป็น 1 โดยทีเกณฑ์การแปลผลจะพิจารณาจากค่าเฉลีย ซึงได้กลับไปเป็นค่าระดับ (ยุทธ ไวยวรรณ์, 2544) ดังนี ค่าคะแนนเฉลีย 4.50 – 5.00 เป็นค่าระดับคะแนนทีมากทีสุด ค่าคะแนนเฉลีย 3.50 – 4.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีมาก ค่าคะแนนเฉลีย 2.50 – 3.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีปานกลาง ค่าคะแนนเฉลีย 1.50 – 2.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีน้อย ค่าคะแนนเฉลีย 1.00 – 1.49 เป็นค่าระดับคะแนนทีน้อยทีสุด
  • 35. สรุปผลโครงการ การประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง จากการศึกษาโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง มีค่าเฉลีย เท่ากับ 4.5 ถือว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ การจดบันทึก บัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อย เพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9 รองลงมาคือ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านสามารถ รู้ค่าใช้จ่ายในแต่ละตัวได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.6 และน้อยทีสุดคือ การจดบันทึก บัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบต้นทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อยเพียงใด โดยมี ค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 โดยแสดงให้เห็นว่าหลังจากผู้ตอบแบบสอบถามได้บันทึกบัญชี ทําให้ผู้ตอบ แบบสอบถามทราบถึงผลกําไรขาดทุนจากการลงทุนทํานาได้ ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญญ นัทธ ตันติสุข ทีได้สรุปผลการศึกษาไว้ว่า การวิจัยต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนทํานาปลูก ข้าวแบบหว่านนําตมในพืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบว่า เกษตรกรทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ มีอัตราผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับร้อยละ 73.77 ทังนี อาจเนืองมาจากการลงทุนปลูกข้างของเกษตรกรรายย่อยให้ผลผลิตต่อไร่ตํา ในขณะทีต้นทุนใน การผลิตสูงขึน จึงทําให้เกษตรกรได้กําไรสุทธิเฉลียต่อไร่ตํา
  • 36. อภิปรายผล ข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถาม จากข้อมูลทัวไปของผู้ตอบแบบสอบถามของเกษตรกรผู้ปลูกข้าว หมู่ที 3 ตําบลพลายชุมพล อําเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก พบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้หญิงจํานวน 7 คน มีอายุตังแต่ 45 ปีขึนไป คิดเป็นร้อยละ 90 ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับการศึกษามัธยมศึกษาตอนปลาย,ปวส คิดเป็นร้อยละ 60 ผู้ตอบแบบสอบถามมีระดับรายได้ 10,001 – 30,000 บาท คิดเป็นร้อยละ 70 ผู้ตอบแบบสอบถาม สถานะภาพสมรสอยู่ด้วยกัน คิดเป็นร้อยละ 70 ผู้ตอบแบบสอบถามอาชีพเกษตรกร คิดเป็นร้อยละ 40 และผู้ตอบแบบสอบถามมีจํานวนทีนาตํากว่า 10 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 40 ประเมินประเมินความถูกต้องและเข้าใจในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายเมือท่านเข้าร่วมกิจกรรม จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินประเมินความถูกต้องและ เข้าใจในการจัดทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายเมือท่านเข้าร่วมกิจกรรม มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.46 ถือว่าอยู่ในระดับ มาก รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ ท่านสามารถบันทึกบัญชีโดยแยกบัญชีรายรับ-รายจ่ายจาก ต้นทุนการทํานาได้ด้วยตัวเอง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 รองลงมาคือ ท่านสามารถนําความรู้ทีได้ไปลง บันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.6 น้อยทีสุดคือ การจัดทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ ท่านทราบวิธีการจดบันทึกทีถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 แสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีความ เข้าใจในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายมากขึน และมองเห็นประโยชน์ถึงการทําบัญชี สามารถนําไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันได้ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของวสันต์ กาญจนมุกดา ได้กล่าวถึงวิธีการ ลงบัญชีรายรับ-รายจ่ายทีเข้าใจง่ายสามารถบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างถูกต้อง
  • 37. ประเมินการประเมินการจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็นระบบ จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินประเมินการจัดการบริหารด้านการเงินอย่างเป็น ระบบ มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.62 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีความเห็นมากทีสุดได้แก่ ท่านสามารถนํา ยอดเงินคงเหลือไปใช้ในอนาคตได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ5.0 รองลงมาคือ ทําให้ท่านทราบยอดเงินคงเหลือได้ง่ายและ สะดวก โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 น้อยทีสุด คือ ท่านสามารถสรุปต้นทุนจากการทํานาได้ โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.3 โดยแสดงให้เห็นว่าผู้ตอบแบบสอบถามมีการลงบัญชีอย่างต่อเนืองส่งผลให้ทราบยอดเงินทีคงเหลือทีแท้จริงจากการ ลงทุนทํานาและสามารถวางแผนการใช้เงินลงทุนจากการทํานาได้ ประเมินการประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง จากการศึกษาโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินการรับรู้ถึงผลกําไรทีแท้จริง มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.5 ถือ ว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่าน ทราบกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9 รองลงมาคือ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านสามารถรู้ค่าใช้จ่ายในแต่ละตัวได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.6 และน้อยทีสุดคือ การจดบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายทําให้ท่านทราบต้นทุนจากการลงทุนทํานาในแต่ละครังได้ มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.2 โดยแสดงให้เห็นว่าหลังจากผู้ตอบแบบสอบถามได้บันทึกบัญชี ทําให้ ผู้ตอบแบบสอบถามทราบถึงผลกําไรขาดทุนจากการลงทุนทํานาได้ ซึงสอดคล้องกับงานวิจัยของ กัญญนัทธ ตันติ สุข ทีได้สรุปผลการศึกษาไว้ว่า การวิจัยต้นทุนและผลตอบแทนจากการลงทุนทํานาปลูกข้าวแบบหว่านนําตมใน พืนทีแต่ละขนาดตําบลทองหลาง อําเภอลําลูกกา จังหวัดปทุมธานี พบว่า เกษตรกรทีมีพืนทีน้อยกว่า 50 ไร่ มีอัตรา ผลตอบแทนจากการลงทุน (ROI) เท่ากับร้อยละ 73.77 ทังนี อาจเนืองมาจากการลงทุนปลูกข้างของเกษตรกรราย ย่อยให้ผลผลิตต่อไร่ตํา ในขณะทีต้นทุนในการผลิตสูงขึน จึงทําให้เกษตรกรได้กําไรสุทธิเฉลียต่อไร่ตํา
  • 38. ประเมินแบบฟอร์มบัญชีและสือการสอน จากการศึกษาพบว่าโดยรวมของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินแบบฟอร์มบัญชีและสือการ สอน มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.66 ถือว่าอยู่ในระดับมากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุดคือ ท่านมีความเข้าใจในแบบฟอร์มมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 และมีตัวอย่างการทํา บัญชีเกียวกับรายรับ-รายจ่ายมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 รองลงมาคือ ใช้ตัวอย่าง ประกอบได้อย่างเหมาะสมและเข้าใจง่ายได้มากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 และน้อย ทีสุดคือ แบบฟอร์มบัญชีทําให้ท่านสะดวกสะดวกต่อการจดบันทึกมากน้อยเพียงใด โดยมี ค่าเฉลียเท่ากับ 4.4 โดยแสดงให้เห็นถึงผู้ตอบแบบสอบถามมีการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ในแบบฟอร์มทําให้ผู้ตอบแบบสอบถามมีความเข้าใจบัญชีรายรับ-รายจ่ายมากขึน การประเมินผู้จัดทําโครงการ จากการศึกษาพบว่าโดยรวมความเห็นของผู้ตอบแบบสอบถามประเมินผู้จัดทําโครงการ มีค่าเฉลียเท่ากับ 4.76 ถือว่าอยู่ในระดับ มากทีสุด รายการทีมีความเห็นเฉลียมากทีสุด ได้แก่ การเตรียมตัวและความพร้อมของผู้จัดทําโครงการมีมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.9 รองลงมาคือ ใช้ภาษาและถ้อยคําทีเหมาะสมและเข้าใจง่ายมากน้อยเพียงใด โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.8 และน้อยทีสุดคือ มีการแสดงตัวอย่างการบันทึกบัญชีและสรุปยอดเงินคงเหลือได้อย่าง ถูกต้อง โดยมีค่าเฉลียเท่ากับ 4.7 โดยแสดงให้เห็นว่า นักศึกษามีการเตรียมตัวและความพร้อม มาก
  • 39. ข้อเสนอแนะ 1. ควรมีการบันทึกบัญชีทันทีทีมีรายการเกิดขึน ถ้าบันทึกทันทีไม่ได้ก็ไม่ควรเกิน 1 สัปดาห์ เพือทราบข้อมูลทีทันต่อเหตุการณ์ และป้องกันการลืมบันทึกบัญชี 2. ควรมีกิจกรรมสอนทําบัญชีรายรับ-รายจ่ายอย่างต่อเนือง 3. ควรมีหน่วยงานทีมีประสบการณ์ด้านบัญชีมาให้ความรู้เพิมเติมแก่กลุ่มเกษตรกรเพือ เพิมความเข้าใจมากขึน 4. ควรศึกษาแนวทางในการเพิมผลผลิตข้าวต่อไร่ให้สูงขึน และศึกษาแนวทางในการลด ต้นทุนในการปลูกข้าว ซึงจะทําให้มีกําไรสุทธิเพิมขึน
  • 49. ตัวอย่างสือการสอน โจทย์พิเศษ ม.ค 2 จ้างหว่านข้าว ค่าจ้าง 500 บาท 4 จ้างฉีดยาคุมหญ้า ค่าจ้าง 850 บาท 8 จ้างฉีดยาคุม(ฆ่าเพลีย) 4 ครังๆละ 50 บาท/ไร่ 200 บาท 11 ค่าจ้างรถเกียว ไร่ละ 300 บาท 22 ค่าขนส่งข้าวเข้าโรงสีไร่ ละ 200 บาท (ผลผลิตไร่ละ 1ตันๆละ 200 บาท) 24 ค่าปุ๋ ยไร่ละ 50 กก. 850 บาท 27 ค่ายาเพลีย ยาคุมหญ้า 4,000 บาท 12 ไร่ๆละ 333 บาท 28 ค่าข้าวปลูก # 47 ไร่ละ 3 ถังๆละ 200 บาท รวม 600 บาท 30 ค่านํามันโซล่าร์ 400 ลิตรๆละ 30 รวม 12,000 ทํานา 12 ไร่ๆละ 1,000 บาท ขายราคาจํานํา 12,000 หักความชืน สิงเจือปน เหลือรับสุทธิประมาณเกวียนละ 11,500 บาท ทํานา 6 ไร่ได้ข้าวเป็นนําหนักก่อนหักความชืนรวม 6 ตัน (1,000 กิโลต่อไร่) ทีความชืน 24-25% รับเงินสุทธิจากการทํานา 6 ไร่ 96,000 บาท
  • 51. วัน เดือน ปี ต้นทุนค่าใช้จ่ายในการลงทุนทํานา ค่าพันธุ์ ข้าวปลูก ค่าปันนา/ ไถนา ค่านํามัน ไถนา/ เครืองสูบ นํา ค่ายาปราบ ศัตรูพืช/ ค่าจ้างฉีด ยา ค่าปุ๋ ย ค่าซ่อม อุปกรณ์ใน การทํานา ค่ารถเกียว ข้าว/ค่าจ้าง รถลากข้าว ค่าแรงงาน เก็บเกียว ค่าเช่า พืนทีทํานา ค่าใช้จ่ายอืน ๆ รวม รายการ จํานวน 2/01/56 จ้างหว่าน ข้าว 500 500 4/01/56 850 850 8/01/56 200 200 11/01/56 300 300 22/01/56 200 200 24/01/56 850 850 รวม 1,050 850 500 2,900