SlideShare a Scribd company logo
1 of 113
วิชาการบัญชีต้นทุน
AC 01201
โดย
อ.ชัยรัตน์ เทียนหลง
ติดต่อ 0866231939
Email. Ptcs521_2@hotmail.com
ใช้ได้ในการติดต่อและส่งงาน เป็น Email.กลาง
การเก็บคะแนน
คะแนนทั้งหมด 100 คะแนน
สอบปลายภาค 30 คะแนน
ระหว่างเรียน 70 คะแนน โดยแยกเป็น
 งานและแบบฝึกหัด 50 คะแนน
สอบกลางภาค 20 คะแนน
 การบัญชีทั่วไป หรือการบัญชีการเงินนั้น มักเน้นหนักไปในการจัดหมวดหมู่
บันทึก และอธิบายรายการต่างๆ ที่เกิดขึ้นในธุรกิจ ซึ่งจะแสดงผลของ
เหตุการณ์ที่เกิดขึ้ นกับธุรกิจนั้นๆ ทั้งในอดีต และปัจจุบัน การบัญชี
ประเภทนี้ จะให้ข้อมูลแก่ฝ่ายจัดการและฝ่ายบริหารเป็นยอดรวมของ
ต้นทุนในการผลิตและการบริการ แต่มิได้ให้ข้อมูลอันจะเป็นประโยชน์ใน
การควบคุมการดาเนินงานของกิจการผลิตกรรม ดังนั้น จึงจาเป็นอย่างยิ่ง
ต้องมีการขยายการบัญชีต้นทุน แยกออกมาเป็นการบัญชีอีกสาขาหนึ่ง ซึ่งจะ
เกี่ยวข้องกับการรวบรวม บริหาร และจัดการด้านข้อมูลเกี่ยวกับต้นทุนของ
สินค้าโดยตรง
การบริหารงานภายในองค์กร โดยทั่วไปแล้วแบ่งการบริหารงานออกเป็น 3 ระดับ
ด้วยกัน คือ
1. ระดับบริหารขั้นสูง ได้แก่ ประธานกรรมการบริหาร รองประธานกรรมการบริหาร
และผู้จัดการฝ่ายต่าง ๆ ระดับนี้จะรับผิดชอบต่อฝ่ายการตลาด ฝ่ายบุคลากร ฝ่ายการผลิต
และฝ่ายวางแผนและควบคุม
2. ระดับการบริหารขั้นกลาง ได้แก่ ผู้จัดการแผนกต่าง ๆ ผู้จัดการสาขา หรืออาจเรียกว่า
หัวหน้าแผนก
3. ระดับการบริหารขั้นต้น ได้แก่ หัวหน้าคนงาน และผู้ควบคุมดูแล เป็นต้น
ฝ่ ายบริหารทั้ง 3 ระดับนี้ ล้วนแล้วแต่ต้องการข้อมูลจากการบัญชีต้นทุนที่จัดทาอย่างไว้
อย่างมีระบบ เพื่อใช้ข้อมูลนั้นๆ ในการวางแผน ควบคุม และตัดสินใจเกี่ยวกับการ
ดาเนินงานด้านต่าง ๆ
 “การบัญชีต้นทุน” หมายถึง การบัญชีที่ทาหน้าที่เกี่ยวกับการจัดเก็บ สะสม
รวบรวม จาแนก และวิเคราะห์ข้อมูล ด้านต้นทุน ทั้งที่เกิดขึ้นในอดีต ตลอดไป
จนถึงการประมาณการหรือพยากรณ์ต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต เพื่อ
1. ใช้ในการคานวณต้นทุนผลิตภัณฑ์
2. ใช้ในการวัดผลกาไรขาดทุนประจางวด
3. ใช้ในการวางแผนและควบคุม
4. ใช้ในการกาหนดราคาขายสินค้า
5. ใช้เป็นเครื่องมือในการตัดสินใจ
6. ใช้ในการประเมินผลการใช้ทรัพยากรต่างๆ
การจัดประเภทต้นทุน
สามารถจัดได้เป็น 5 ประเภทดังนี้
แบ่งประเภทต้นทุนตามหน้าที่การผลิต
ซึ่งประกอบไปด้วย
1. วัตถุดิบทางตรง ( Direct Materials)
2. แรงงานทางตรง (Direct Labor)
3. ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing
Overhead)
วัตถุดิบทางตรง ( Direct Materials)
 หมายถึง
วัตถุดิบที่เป็นส่วนประกอบที่สาคัญของสินค้าสาเร็จรูป
สามารถวัดจานวนได้ง่าย
 เช่น
 โรงงานเย็บเสื้อผ้าสาเร็จรูป
วัตถุดิบทางตรง คือ ผ้า
วัตถุดิบทางอ้อม คือ ด้าย กระดุม กาว
 โรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์
วัตถุดิบทางตรง คือ ไม้
วัตถุดิบทางอ้อม คือ สี ตะปู
แรงงานทางตรง (Direct Labor)
 หมายถึง
แรงงานที่เกิดขึ้นโดยตรงในนาวัตถุดิบมาแปรสภาพให้เป็น
สินค้าสาเร็จรูป สามารถระบุได้อย่างชัดเจนว่าค่าแรงนั้นเกิดขึ้นจาก
 การผลิตสินค้าชนิดใด
 เป็นจานวนเท่าใด และสามารถคานวณเป็นต้นทุนต่อ
หน่วยของสินค้าที่ผลิตได้ง่าย
 เช่น
ค่าแรงงานที่ประกอบชิ้นส่วนผลิตภัณฑ์
ค่าแรงงานของคนงานที่คุมเครื่องจักร
ค่าแรงดังกล่าวจัดได้ว่าเป็นค่าแรงงานทางตรง
 หมายถึง
ต้นทุนที่เกิดขึ้นในการผลิตทั้งหมด ยกเว้น วัตถุดิบทางตรงและ
ค่าแรงงานทางตรง
ค่าใช้จ่ายในการผลิต (Manufacturing Overhead)
 เช่น วัตถุดิบทางอ้อม
 ค่าแรงงานทางอ้อม
 ค่าสาธารณูปโภคส่วนของโรงงาน
 ค่าเช่าโรงงาน
 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
 ค่าเสื่อมราคาโรงงาน
 ค่าเบี้ยประกันภัยโรงงาน
 ฯลฯ เป็นต้น
การจัดแบ่งประเภทต้นทุนตามพฤติกรรมต้นทุน
 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 ต้นทุนกึ่งผันแปร (Semi Variable Cost)
• ต้นทุนผสม Mixed Cost
• ต้นทุนขั้น (Step Cost)
ลักษณะของการจัดแบ่งประเภทนี้ ก็เพื่อจะได้นาต้นทุนไป
ใช้ประโยชน์ในการควบคุมและวางแผนงานพฤติกรรมของ
ต้นทุน ซึ่งสามารถแบ่งต้นทุนตามพฤติกรรมได้ดังนี้
 ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไปเป็นอัตราส่วนโดยตรงกับการ
เปลี่ยนแปลงระดับกิจกรรมหรือหน่วยผลิต
 ตัวอย่าง
ในการผลิตโต๊ะ 1 ตัว จะมีต้นทุนผันแปรในการผลิตต่อหน่วย
เท่ากับ 100 บาท
ถ้าผลิตโต๊ะ 50 ตัว ต้นทุนผันแปรรวมจะเท่ากับ
100 บาทต่อตัว x 50 ตัว 5,000 บาท
แต่ถ้าผลิตโต๊ะ 100 ตัว ต้นทุนผันแปรรวมจะเท่ากับ
100 บาทต่อตัว x 100 ตัว 10,000 บาท
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 ต้นทุนผันแปรในการผลิต
ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง
 ค่าแรงงานทางตรง(จ่ายตาม ชม. ทางานหรือผลงานที่ทาได้)
 ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร เป็นต้น
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 ต้นทุนผันแปรในการขายและบริหาร
ได้แก่ ค่านายหน้าพนักงานขาย
 ค่าไฟฟ้ า
 ค่าน้าประปา
 สูตรในการคานวณหา
ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย เท่ากับ ต้นทุนผันแปรรวม หาร ปริมาณผลิต
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 สูตรในการคานวณหา
ต้นทุนผันแปรรวม เท่ากับ ต้นทุนผันแปรต่อหน่วย คูณ ปริมาณผลิต
 สรุปได้ว่า
เมื่อปริมาณกิจกรรมเปลี่ยนแปลง(ผลิตมากขึ้น) ต้นทุนรวม(Total
cost) จะเปลี่ยนแปลงไปในทางเดียวกับปริมาณกิจกรรม เช่นนี้แสดงว่า
ต้นทุนผันแปร (Variable Cost)
 ถ้าทาการผลิตมาก ต้นทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงตามจานวน
ผลิตก็จะมีมากตามไปด้วย หรือ
 ถ้าทาการผลิตน้อย ต้นทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงตามจานวน
ผลิตก็จะมีน้อยตามไปด้วย
 ส่วนต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost)
จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงแต่อย่างใด ถ้าไม่มีการเปลี่ยนแปลงในราคา
ของปัจจัยการผลิต และประสิทธิภาพในการใช้ปัจจัยผลิต
 ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่มีลักษณะคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามระดับการผลิต หรือ
ระดับกิจกรรม ซึ่งจะมีจานวนรวมคงที่ตลอดช่วงการผลิตในระดับหนึ่ง
 ตัวอย่าง
โรงงานผลิตน้าผลไม้กระป๋ อง ต้องจ่ายค่าเช่าโรงงานต่อเดือน เดือนละ
20,000 บาททุกเดือน
โรงงานเย็บเสื้อผ้าสาเร็จรูปต้องจ้าง ผู้จัดการโรงงานมาเพื่อควบคุม
งานโดยจ้างผู้จัดการโรงงานเดือนละ 50,000 บาท ซึ่งถึงแม้ว่าโรงงานจะ
ผลิตเสื้อเป็นจานวนเท่าใด ทางโรงงานก็ต้องจ่ายเงินเดือนผู้จัดการโรงงาน
50,000 บาททุกเดือน
 จากกรณีตัวอย่าง โรงงานเสื้อผ้าสาเร็จรูป
โรงงานเสื้อผ้าสาเร็จรูป ต้องจ้างผู้จัดการโรงงานมาเพื่อควบคุม
งานโดยจ่ายเงินเดือน เดือนละ 50,000 บาท หากโรงงานผลิตสินค้า
ในงวดนี้ 2,000 หน่วย และ
งวดถัดไป 2,500 หน่วย
ต้นทุนคงที่ จะคิดเข้าเป็นต้นทุนสินค้าต่อหน่วยได้เท่ากับ
งวดนี้ 50,000  2,000 = 25 บาทต่อหน่วย
งวดถัดไป 50,000  2,500 = 20 บาทต่อหน่วย
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 ต้นทุนคงที่ในการผลิต ได้แก่
 เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน
 เงินเดือนคนทาความสะอาดโรงงาน
 เงินเดือนยามเฝ้ าโรงงาน
 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
 ฯลฯ
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 ต้นทุนคงที่ในการขายและบริหาร ได้แก่
 เงินเดือนผู้จัดการสานักงาน
 เงินเดือนคนทาความสะอาดสานักงาน
 เงินเดือนพนักงานขาย
 ค่าเสื่อมราคาเครื่องใช้สานักงาน
 ฯลฯ
ต้นทุนคงที่ (Fixed Cost)
 สูตรในการคานวณหาต้นทุนคงที่ต่อหน่วย
เท่ากับ ต้นทุนคงที่รวม หาร ปริมาณผลิต
 สูตรในการคานวณหาต้นทุนคงที่รวม
เท่ากับ ต้นทุนคงที่ต่อหน่วย คูณ ปริมาณผลิต
 การแยกต้นทุนออกเป็นต้นทุนผันแปร และต้นทุนคงที่
ไม่ได้หมายความว่าต้นทุนแต่ละรายการ เช่น
 ต้นทุนคงที่จะต้องเป็นต้นทุนคงที่ตลอดไป หรือ
 ต้นทุนผันแปรต้องเป็นต้นทุนผันแปรตลอดไป
 เพราะในระยะยาว
การดาเนินงานต้นทุนทุกรายการจะเป็นต้นทุนทุกรายการ
จะเป็นต้นทุนผันแปร แต่
ถ้าเราพิจารณาในระยะเวลาสั้น ๆ เช่น 1 ปี จึงจะพิจารณา
เป็นต้นทุนผันแปรหรือต้นทุนคงที่
 ตัวอย่างเช่น
ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร ค่าเช่าโรงงาน เงินเดือนผู้จัดการโรงงาน
จะถือว่ามีจานวนต้นทุนที่แน่นอนไม่ว่าจะทาการผลิตมากหรือน้อย
เท่าไรถ้าพิจารณาในระยะเวลาสั้น ๆ ไม่เกิน 1 ปี แต่ในช่วง ที่เกิน
กว่า 1 ปี กิจการอาจมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น
 เช่น
 การขึ้นเงินเดือน
 การเพิ่มค่าเช่าโรงงาน หรือ
 การเปลี่ยนแปลงชนิดและขนาดของเครื่องจักร
จนเป็นผลทาให้ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักรเปลี่ยนแปลง
 ต้นทุนกึ่งผันแปร (Semi Variable Cost)
• ต้นทุนผสม Mixed Cost
• ต้นทุนขั้น (Step Cost)
• ต้นทุนผสม Mixed Cost
 คือ
ต้นทุนที่มีทั้งส่วนที่คงที่และส่วนที่ผันแปรรวมอยู่ด้วยกัน
 สูตรการคานวณต้นทุนผสม
เท่ากับ ต้นทุนคงที่ + ต้นทุนผันแปรที่ต้องจ่ายเพิ่ม
• ต้นทุนผสม Mixed Cost
 ตัวอย่างเช่น
ค่ากาลังไฟฟ้ าในแต่ละเดือนเท่ากับเดือนละ 15,000 บาท และ
บวกเพิ่ม 20 บาท ต่อชั่วโมงแรงงานทางตรง ดังนั้นถ้า ระดับการผลิต
เดือนมกราคม 200 หน่วยโดยแต่ละหน่วยจะใช้ชั่วโมงแรงงานทางตรง
ในการผลิต 30 นาที หากระดับการผลิตในเดือนกุมภาพันธ์เป็น 400
หน่วย
การคานวณต้นทุนผสม = ต้นทุนคงที่ + VC ที่ต้องจ่ายเพิ่ม
มกราคม = 15,000 + ( 200 x 30/60 x 20 = 2,000)
= 17,000 บาท
กุมภาพันธ์ = 15,000 + ( 400 x 30/60 x 20 = 4,000)
= 19,000 บาท
• ต้นทุนผสม Mixed Cost
• ต้นทุนขั้น (Step Cost)
 เป็นต้นทุนที่เพิ่มขึ้นตามระดับกิจกรรม หรือ ระดับการผลิต
 โดยมีลักษณะการเพิ่มขึ้นเป็นช่วง ๆ คล้ายขั้นบันได
 ตัวอย่างเช่น
หัวหน้าผู้ควบคุมงาน 1 คน สามารถควบคุมงานได้ 15 คน
หากมีการเพิ่มคนงานอีก 1 คน เป็ น 16 คน จะต้องจ้างหัวหน้า
ผู้ควบคุมงานเพิ่มอีก 1 คน ถ้าบริษัทจ่ายค่าจ้างให้เดือนละ 5,000
บาท
ต้นทุนขั้น (Step Cost)
การจัดประเภทต้นทุน
ตามความสัมพันธ์ของต้นทุนกับเหตุแห่งต้นทุน
ต้นทุนจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
 ต้นทุนทางตรง (Direct Cost)
 ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)
 ต้นทุนทางตรง (Direct Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่สามารถติดตาม หรือคิดเข้ากับการผลิตได้ง่ายและ
ชัดเจน
ได้แก่
 วัตถุดิบทางตรง
 ค่าแรงงานทางตรง
 ค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในแผนกโดยตรง
ซึ่งอาจวัดเป็นจานวนหน่วยและคานวณเป็นจานวนเงินได้
 ต้นทุนทางอ้อม (Indirect Cost)
 หมายถึง ต้นทุนผลิตภัณฑ์ที่ไม่สามารถคิดเข้าโดยตรงกับ
ผลิตภัณฑ์ หรือกับแผนกผลิตได้อย่างชัดเจน
 มีลักษณะเกิดขึ้นร่วมกัน เช่น
 ค่าน้า ค่าไฟฟ้ า
 เงินเดือนผู้ควบคุมงาน
 ค่าเสื่อมราคาเครื่องจักร
 ค่าประกันภัยโรงงาน เป็นต้น
 จึงทาให้ต้องมีเกณฑ์หรือวิธีการในการปันส่วน เช่น
 ใช้ปันส่วนตามเกณฑ์ชั่วโมงแรงงานทางตรง
 ชั่วโมงเครื่องจักร
 ฯลฯ เป็นต้น
การจัดแบ่งประเภทต้นทุน
ตามงวดเวลาที่ก่อให้เกิดประโยชน์
 แบ่งเป็น 2 กรณีคือ
 กรณีก่อประโยชน์ในอนาคต เรียกว่า ต้นทุนผลิตภัณฑ์
 กรณีเกิดประโยชน์ในปัจจุบัน เรียกว่า ต้นทุนงวดเวลา
 ต้นทุนผลิตภัณฑ์ (Product Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการผลิต ผลิตภัณฑ์โดยตรง หรืออาจ
เรียกว่า ต้นทุนที่เป็นตัวผลิตภัณฑ์ ไม่ว่าผลิตภัณฑ์นั้นจะผลิตสาเร็จ
หรือไม่ก็ตาม
 ต้นทุนที่ถือเป็นต้นทุนผลิตภัณฑ์ ได้แก่
 วัตถุดิบทางตรง
 ค่าแรงงานทางตรง
 ค่าใช้จ่ายในการผลิต
 ต้นทุนงวดเวลา (Period Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนผลิตภัณฑ์ในส่วนที่ถูกขายออกไประหว่างงวดเรียกว่า
ต้นทุนขาย กับ ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ได้แก่ ค่าใช้จ่ายในการ
ขาย และ ค่าใช้จ่ายในการบริหาร ที่เกิดขึ้นในงวดบัญชีนั้น
การแสดงรายการต้นทุนในงบการเงิน
กิจการที่ซื้อขายสินค้า
ถ้าสินค้าที่ซื้อมายังไม่ได้ขายให้แก่ลูกค้า ต้นทุนที่เกิดขึ้น (ค่าสินค้าที่ซื้อ)
จะถูกนาไปแสดงในงบดุล ดยใช้ชื่อเรียกว่า
ถ้าสินค้าที่ซื้อมาถูกขายไปให้แก่ลูกค้าทั้งหมด
ต้นทุนของสินค้าที่ซื้อ จะถูกนาไปแสดงเป็นค่าใช้จ่าย
ในงบกาไรขาดทุน เรียกว่า
ถ้าสินค้าที่ซื้อมาถูกขายออกไปเพียงบางส่วน จะแยกการรับรู้ต้นทุนของสินค้าดังน
ต้นทุนของสินค้าส่วนที่ขายไป จะแสดงเป็นค่าใช้จ่าย
ต้นทุนของสินค้าที่ยังไม่ได้ขาย จะแสดงเป็นสินทรัพย์ในงบดุล
ภาพแสดงการเคลื่อนย้ายของต้นทุนผลิตภัณฑ์และ
ต้นทุนสาหรับงวดของกิจการที่ซื้อขายสินค้า
ต้นทุน งบดุล งบกาไรขาดทุน
รายได้
จากการขาย
ต้นทุน
ผลิตภัณฑ์
ซื้ อ
สินค้า
สินค้า
คงเหลือ
เมื่อขาย ต้นทุนขาย
หัก
ต้นทุน
สาหรับงวด
คชจ. ขาย
คชจ. บริหาร
คชจ.ใน
การดาเนินงาน
กาไร/ขาดทุนสุทธิ
และ
เท่ากับ
กิจการที่ผลิตสินค้า
ถ้าวัตถุดิบที่ซื้อมายังไม่ได้นาเข้าสู่กระบวนการผลิต
ต้นทุนของวัตถุดิบจะเรียกว่า และแสดงรายการในงบดุล
ถ้าเบิกวัตถุดิบเข้าสู่กระบวนการผลิตเพื่อแปรสภาพให้เป็นสินค้าสาเร็จรูป
กรณีที่แปรสภาพยังไม่สมบูรณ์ ยอดรวมของต้นทุนทั้ง 3 รายการ
จะถูกนาไปแสดงในงบดุล ดยใช้ชื่อเรียกว่า
กรณีที่ผลิตเสร็จ
ถ้ายังไม่ได้ขายให้กับลูกค้า ต้นทุนทั้ง 3 รายการ
จะถูกนาไปแสดงในงบดุล เรียกว่า
ถ้าขายสินค้าที่ผลิตเสร็จให้แก่ลูกค้า ต้นทุนทั้ง 3 รายการ
จะถูกแสดงเป็นค่าใช้จ่าย ดยใช้ชื่อเรียกว่า
ภาพแสดงการเคลื่อนย้ายของต้นทุนผลิตภัณฑ์และต้นทุนสาหรับงวดของกิจการที่ซื้อขายสินค้า
ต้นทุน งบดุล งบกาไรขาดทุน
รายได้
จากการขาย
ต้นทุน
ผลิตภัณฑ์
ซื้ อ
วัตถุดิบ
สินค้า
สาเร็จรูป
เมื่อขาย ต้นทุนขาย
หัก
ต้นทุน
สาหรับงวด
คชจ. ขาย
คชจ. บริหาร
คชจ.ใน
การดาเนินงาน
กาไร/ขาดทุนสุทธิ
และ
เท่ากับ
วัตถุดิบคงเหลือ
นาไปผลิต
ค่าวัตถุดิบทางตรง
DL
MOH
งานระหว่างทา
การแบ่งประเภทต้นทุนเพื่อการควบคุม
 การแบ่งต้นทุนประเภทนี้ ใช้ลักษณะความสัมพันธ์ต้นทุนกับ
ความรับผิดชอบของฝ่ายบริหาร
 เพื่อวัดความสามารถหรือประเมินผลของฝ่ายบริหาร
 เพื่อประโยชน์ในการตัดสินใจเลือกแนวทางปฏิบัติต่าง ๆ
 เพื่อการควบคุมของฝ่ายบริหาร
 เนื่องจากต้นทุนทุกชนิดของกิจการจะสามารถควบคุมได้โดย
ฝ่ายบริหารระดับสูงสุด
 ไม่สามารถควบคุมได้โดยฝ่ายบริหารระดับล่างลงมา
 ฝ่ายบริหารระดับล่างสามารถควบคุมต้นทุนได้เฉพาะแต่
ต้นทุนในความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายเท่านั้น
การแบ่งประเภทต้นทุนเพื่อการควบคุม
 ต้นทุนในกลุ่มประเภทนี้ แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะได้แก่
 ต้นทุนที่ควบคุมได้ (Controllable Cost)
 ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost)
 ต้นทุนที่ควบคุมได้ (Controllable Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่เกิดขึ้นซึ่ง ผู้จัดการหรือหัวหน้าแผนกหรือศูนย์มี
อานาจใจการตัดสินใจในการเกิดขึ้นของต้นทุนนั้นได้กล่าวถึงคือ
สามารถควบคุมให้เกิดมากหรือน้อยได้
เช่น วัตถุดิบทางตรง
 ค่าแรงงานทางตรง
 ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่เกิดขึ้นซึ่ง ผู้จัดการหรือหัวหน้าแผนกหรือศูนย์ไม่มี
อานาจควบคุมหรือไม่มีอิทธิพลต่อต้นทุนนั้น
 ต้นทุนเหล่านี้ เป็นต้นที่อยู่ในอานาจการตัดสินใจและสั่งการ
ของผู้บริหารในระดับสูงขึ้นไป หรือ
 เป็นต้นทุนที่ได้รับการปันส่วนมาจากส่วนกลางหรือจาก
แผนกอื่น ๆ
ต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้ (Uncontrollable Cost)
 ตัวอย่างเช่น
 แผนกผลิตรับปันส่วนต้นทุนจากแผนกซ่อมบารุง
แต่
 แผนกผลิตสามารถควบคุมประสิทธิภาพการ
ทางานอันก่อให้เกิดต้นทุนที่แผนกซ่อมบารุงได้
 ดังนั้น
ต้นทุนที่รับปันส่วนมาจึงเป็นต้นทุนที่ควบคุมไม่ได้
การแบ่งประเภทต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ
 ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevant Cost)
 ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
 ต้นทุนที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ (Relevant Cost)
ต้นทุนที่เกี่ยวกับการตัดสินใจมีหลายประเภท ดังนี้
 ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost)
 ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoidable Cost)
 ต้นทุนของโอกาสที่เสียไป (Opportunity Cost)
 ต้นทุนที่แตกต่าง (Differential Cost)
 หมายถึง
 ต้นทุนที่เปลี่ยนแปลงไปจากต้นทุนการดาเนินงานตาม
แบบที่เคยปฏิบัติอยู่ก่อน
 โดยกิจการจะทาการเปลี่ยนหรือปรับปรุงกิจกรรมที่
ปฏิบัติอยู่ก่อนให้ดีกว่าเดิม
 ซึ่งอาจจะเป็นผลทาให้กิจการมีผลกาไรเพิ่มขึ้ น
 ต้นทุนที่แตกต่างเป็นต้นทุนที่ใช้วิเคราะห์สาหรับการเลือก
ปฏิบัติตามวิธีเดิมกับวิธีใหม่
ตัวอย่าง
บริษัทพลอยสวย จากัด ผลิตสินค้าด้วยวิธีการผลิตที่ใช้อยู่
ปัจจุบันต่อมามีผู้เสนอวิธีผลิตแบบใหม่ดังต่อไปนี้
รายการ
วัตถุดิบทางตรง
แรงงานทางตรง
ค่าใช้จ่ายในการผลิต
รวม
วิธีเดิม(บาท) วิธีใหม่(บาท)
140,000 120,000
200,000 100,000
250,000 200,000
590,000 420,000
แตกต่าง(บาท)
(20,000)
(100,000)
(50,000)
(170,000)
ดังนั้น ผู้จัดการควรเลือกที่จะผลิตตามวิธีใหม่เนื่องจากต้นทุนการผลิต
ต่ากว่าแบบเดิมจะส่งผลทาให้บริษัทมีกาไรสูงขึ้น
 ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoidable Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่กิจการสามารถหลีกเลี่ยงได้หรือไม่ต้องจ่ายเมื่อยกเลิก
กิจกรรมนั้น  เช่น การยกเลิกเขตการขาย
 การยกเลิกสาขา
 การปิดโรงงานชั่วคราว
ซึ่งการกระทาดังกล่าวจะมีต้นทุนบางประเภทที่ไม่ต้องจ่าย
 เช่น การยกเลิกเขตขายหนึ่งต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ คือ
 เงินเดือนของพนักงานที่ออกไป
 ค่าโฆษณาของเขตขาย
 ค่าน้าประปาและค่าไฟฟ้ าของเขตขายที่ทาการยกเลิก
 ต้นทุนของโอกาสที่เสียไป (Opportunity Cost)
 คือ
รายได้ที่ควรจะได้รับแต่ไม่ได้รับเพราะปฏิเสธทางเลือกนั้น
 ซึ่งหมายถึง
รายได้จะเกิดขึ้ นจานวนหนึ่งหากได้ใช้ทรัพยากรไปในการ
กระทาอย่างหนึ่ง แต่กลับไม่ได้รับรายได้นั้น เพราะได้นาทรัพยากรส่วน
นั้นไปใช้ในการกระทาอย่างอื่นแทน
 ตัวอย่าง นายพินิจ เป็นเจ้าของร้านขายอาหารแห่งหนึ่ง
ซึ่งเปิดดาเนินกิจการมาหลายปีปัจจุบันนายพินิจจะเลิกกิจการร้านอาหาร
โดยจะเปิดเป็นร้านขายเครื่องไฟฟ้ าแทน เพราะคิดว่าจะทากาไรให้
มากกว่า ผลการดาเนินงานร้านอาหารที่ผ่านมาเป็นดังนี้
ขาย 2,800,000 บาท
ต้นทุนขาย 1,400,000 บาท
กาไรขั้นต้น 1,400,000 บาท
ค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน 800,000 บาท
กาไรสุทธิ 600,000 บาท
จากข้อมูลในตัวอย่างกาไรจากร้านอาหารปีละ 600,000 บาท ถือเป็น
ต้นทุนของโอกาสที่เสียไปถ้ากิจการเลือกเปิดร้านขายเครื่องใช้ไฟฟ้ า
แทนร้านขายอาหาร
ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
 หมายถึง
ต้นทุนที่ไม่มีความสัมพันธ์เกี่ยวกับการตัดสินใจของฝ่าย
บริหารไม่ว่าฝ่ายบริหารจะตัดสินใจกระทาการหรือไม่กระทาการ
ต้นทุนที่ไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจมีดังนี้
 ต้นทุนจม (Sunk Cost)
 ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (Unavoidable Cost)
 ต้นทุนจม (Sunk Cost)
 หมายถึง
ต้นทุนที่เกิดขึ้นในอดีต ซึ่งจะเปลี่ยนแปลงแก้ไขให้เป็นอย่าง
อื่นไม่ได้ไม่ว่าการตัดสินใจจะกระทาในปัจจุบันหรืออนาคต จะถือว่า
เป็นต้นทุนที่ไม่มีผลต่อการตัดสินใจในทางเลือกต่าง ๆ
 เช่น
การลงทุน ซื้ อเครื่องจักรใหม่ โดยจ่ายเงินซื้ อเท่ากับ 200,000
บาท เมือกิจการจ่ายเงินซื้ อไปแล้วจานวน 200,000 บาท
เงินจานวน 200,000 บาท นี้ หรือต้นทุนจานวนนี้ ไม่มีผลต่อ
การตัดสินใจอีกต่อไป
เพราะถือว่ากิจการได้จ่ายเงินจานวนนี้ ออกไปแล้ว
 ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ (Unavoidable Cost)
จะเป็นต้นทุนที่มีลักษณะที่ตรงข้ามกับต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้
หมายความว่า ถึงแม้จะยกเลิกกิจกรรมต่าง ๆ
เช่น การยกเลิกเขตการขายหรือการยกเลิกสาขา แต่ต้นทุน
ประเภทนี้ ยังคงเกิดขึ้นเหมือนเดิม
 ตัวอย่างเช่น
เดิมกิจการมีเขตการขาย 3 เขตขาย คือ A , B , C กิจการใช้
ผู้จัดการ 1 คน โดยจ่ายเงินเดือนให้เดือนละ 100,000 บาท
ผู้จัดการคนนี้ จะดูแลเขตขายทั้ง 3 เขตขาย ต่อมายกเลิกเขตขาย C
ซึ่งมีผลขาดทุนในการดาเนินงาน เงินเดือนผู้จัดการคนนี้ จานวน
100,000 บาท ยังคงต้องจ่ายให้ผู้จัดการเท่าเดิมถึงแม้จะเหลือ
เขตขายเพียง 2 เขตขายก็ตาม
ซึ่งเงินจานวน 100,000 บาทนี้ เราเรียกว่า
ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
การใช้ข้อมูลต้นทุนเพื่อการตัดสินใจ
แหล่งที่มาและข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ
 แหล่งข้อมูลภายใน (Internal Information)
เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลภายในกิจการ ซึ่งข้อมูลที่ได้
ส่วนมากจะเป็น
 ข้อมูลที่เกี่ยวกับการผลิต
 ข้อมูลทางการเงิน หรือ
 ข้อมูลที่เกี่ยวกับบุคคล
ซึ่งเป็นข้อมูลในวงแคบ
 แหล่งข้อมูลภายนอก (External Information)
ผู้บริหารควรนาข้อมูลภายนอกกิจการมาประกอบการตัดสินใจ
เนื่องจากสภาวะแวดล้อมภายนอกมีผลต่อการดาเนินธุรกิจ
เช่น
 ภาวะเศรษฐกิจภายในประเทศและต่างประเทศ
 ความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี
 ความเป็นไปของกระแสโลกทางด้านการเมือง
 รวมทั้งข้อมูลของคู่แข่งขันทางธุรกิจ
ซึ่งข้อมูลภายนอกจะเป็นแหล่งข้อมูลในวงกว้าง
แหล่งที่มาและข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ
 ความแตกต่างของข้อมูลภายในและข้อมูลภายนอก
คือ
 ข้อมูลภายในนั้นกิจการสามารถควบคุม สร้างขึ้น
หรือจัดเก็บได้ตามความต้องการของผู้ใช้ข้อมูล
ในขณะที่
 ข้อมูลภายนอกกิจการไม่สามารถสร้างขึ้นตาม
ความต้องการได้
แหล่งที่มาและข้อมูลที่ใช้ในการตัดสินใจ
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
 เป็นข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับปัญหา
เพื่อช่วยให้ตัดสินใจในปัญหานั้น ๆ ได้อย่างถูกต้อง และเป็น
ข้อมูลที่มีความหมายต่อทางเลือกของปัญหานั้นๆ
เช่น การตัดสินใจระหว่างการผลิตชิ้นส่วนเพื่อใช้เอง หรือจะซื้ อ
ชิ้นส่วนจากบุคคลภายนอก
ข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดใจ คือ
 ถ้าผลิตชิ้นส่วนเอง จะต้องเสียต้นทุนทั้งสิ้นเท่าใด และ
 ถ้าซื้ อชิ้นส่วนจากบุคคลภายนอกจะต้องจ่ายเงินเท่าใด
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
 เป็นข้อมูลที่เชื่อถือได้
ข้อมูลที่จะนามาใช้ในการตัดสินใจ
 จะต้องเป็นข้อมูลที่ถูกต้อง ซึ่งข้อมูลดังกล่าวอาจต้องมี
การคาดคะเนหรือกะประมาณขึ้น
 จะต้องทาด้วยความระมัดระวังโดยอาศัยข้อมูลที่
เกิดขึ้นในอดีตและสภาวการณ์ต่างๆในปัจจุบันเป็น
แนวทางในการกะประมาณ
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
การตัดสินใจเป็นสิ่งที่ต้องกระทาในปัจจุบัน แต่ผลของการ
ตัดสินใจเป็นเหตุการณ์ที่จะเกิดขึ้ นในอนาคต
 เป็นข้อมูลอนาคต
 ดังนั้น
ข้อมูลที่จะนามาใช้เพื่อการตัดสินใจไม่ว่าจะเป็นข้อมูล
เกี่ยวกับต้นทุนหรือรายได้ก็ตาม
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
ในการตัดสินใจมักใช้ต้นทุนส่วนต่างเป็นหลักในการตัดสินใจ
เลือกทางเลือก
 เป็นต้นทุนที่แตกต่างกันในแต่ละทางเลือก
ตัวอย่าง ถ้ากิจการผลิตชิ้นส่วนประกอบสินค้าเอง
จะมีต้นทุนการผลิตทั้งสิ้น 50,000 บาท และ
มีบุคคลภายนอกมาเสนอขายในราคา 65,000
บาท ซึ่งเมื่อประกอบเป็นสินค้าสาเร็จรูปแล้วขาย
จะทาให้มีกาไรเพิ่มขึ้น 20,000 บาท
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
 เป็นต้นทุนที่แตกต่างกันในแต่ละทางเลือก
จากตัวอย่าง
 ถ้าพิจารณาเฉพาะราคาต้นทุนของชิ้นส่วน กิจการควรจะ
ทาการผลิตเอง เพราะจะเสียต้นทุนน้อยกว่า 15,000 บาท
(65,000 - 50,000) แต่กิจการก็จะมีกาไรจากการขาย ลดลง
20,000 บาทด้วย
 ดังนั้น
ในการพิจารณาตัดสินใจ จะต้องพิจารณาถึงประโยชน์สูงสุด
ที่ได้รับในแต่ละทางเลือก คือ
ลักษณะสาคัญของข้อมูลเพื่อการตัดสินใจ
 เป็นต้นทุนที่แตกต่างกันในแต่ละทางเลือก
ทางเลือกที่ 1 ผลิตชิ้นส่วนเอง
ต้นทุนในการผลิตชิ้ นส่วน 50,000 บาท
ต้นทุนโอกาสที่เสียไปจากการขายสินค้าแล้วมีกาไร 20,000 บาท
รวมต้นทุนทั้งสิ้น 70,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 ซื้ อชิ้นส่วนจากภายนอก
ต้นทุนที่ต้องจ่ายซื้ อจากภายนอก 65,000 บาท
กระบวนการตัดสินใจในการแก้ปัญหา
 การค้นหาปัญหาที่แท้จริง (Defining the Problem)
เพราะถ้าเรารู้จักปัญหาที่แท้จริงแล้ว จะทาให้เรา
แก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
 การกาหนดทางเลือกที่จะใช้ในการแก้ไขปัญหา
(Identifying Alternatives)
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นอาจมีแนวทางหรือวิธีการแก้ไข
ได้หลายวิธี
 ดังนั้น
การตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่ดีที่สุด คือ การเลือกที่จะให้
ผลประโยชน์สูงสุดแก่กิจการ
กระบวนการตัดสินใจในการแก้ปัญหา
 การเก็บรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
(Accumulating relevant
information)
ข้อมูลที่เก็บรวบรวมมานั้น ควรที่ จะต้องเป็นข้อมูลที่มี
ความเชื่อถือได้ หรือให้มีความเสี่ยงน้อยที่สุดเท่าที่จะ
เป็นได้
กระบวนการตัดสินใจในการแก้ปัญหา
 ผู้วิเคราะห์จะต้องมีความเข้าใจในเทคนิคหรือวิธีการต่าง ๆ ที่
จะนามาใช้ในการวิเคราะห์อย่างเพียงพอ
 เพื่อมิให้การตัดสินใจเกิดความผิดพลาดอันเนื่องมาจากผลการ
วิเคราะห์
หลังจากนั้นเมื่อได้ทาการวิเคราะห์ข้อมูลในแต่ละทางเลือกแล้ว
ก็จะนาผลการวิเคราะห์ของแต่ละทางเลือกมาทาการเปรียบเทียบ
ถึงผลดีและผลเสีย ที่อาจจะเกิดจากตัดสินใจในการเลือกทางเลือก
นั้น ๆ
 การวิเคราะห์และเปรียบเทียบในแต่ละทางเลือก
(Analysis and Comparison of
Alternatives)
กระบวนการตัดสินใจในการแก้ปัญหา
การตัดสินใจเป็ นขั้นตอนสุดท้ายของกระบวนการตัดสินใจซึ่ง
การตัดสินใจนี้ จะให้ประโยชน์สูงสุดแก่กิจการหรือไม่ก็ขึ้ นอยู่กับ
 ประสิทธิภาพของการใช้กระบวนการตัดสินใจทั้ง 4 ขั้นตอน
 โดยดูจากผลที่ประเมินได้ของแต่ละทางเลือก แล้ว
ตัดสินใจเลือกทางเลือกที่เป็นผลดีต่อกิจการมากที่สุด
 การตัดสินใจ (Making the decision)
 เช่น
ในกรณีที่ประเมินผลของทางเลือกออกมาในรูปของรายได้ หรือ
กาไร ทางเลือกที่ดีที่สุดคือ ทางเลือกที่ทาให้มีรายได้หรือกาไรสูงสุด
ประเภทของต้นทุนที่ใช้ในการตัดสินใจ
 ต้นทุนโอกาสที่เสียไป (Opportunity Cost)
 ต้นทุนที่หลีกเลี่ยงได้ (Avoidable
Cost)
 ต้นทุนจม (Sunk Cost)
 ต้นทุนส่วนเพิ่ม (Incremental Cost)
 ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย (Marginal Cost)
รูปแบบของการวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนที่คาดไว้ในอนาคตเป็นต้นทุนที่มีความหมายต่อการตัดสินใจ
ตัวอย่าง
กิจการซื้อวัตถุดิบจากบริษัท A หน่วยละ 50 บาท และมี
บริษัท B มาเสนอขายวัตถุดิบชนิดเดียวกับที่กิจการใช้อยู่ในราคา
หน่วยละ 40 บาท
การเปรียบเทียบ คือ ราคาวัตถุดิบของบริษัท A และบริษัท B
 จะเห็นว่า
ถ้าซื้ อวัตถุดิบจากบริษัท B ซึ่งถือเป็นต้นทุนในอนาคต
จะทาให้ต้นทุนวัตถุดิบลดลง หน่วยละ 10 บาท
จากตัวอย่าง จะเห็นว่าต้นทุนที่มี ความหมายต่อการตัดสินใจ
 ไม่ใช่ต้นทุนในอดีต คือ ราคาวัตถุดิบที่ซื้อจากบริษัท A
 แต่เป็นต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้นถ้าซื้อวัตถุดิบจากบริษัท B
 ซึ่งต้นทุนดังกล่าวคือต้นทุนในอนาคตที่คาดไว้ และเป็ น
ต้นทุนที่แตกต่างกันในแต่ละทางเลือก
รูปแบบของการวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนในอดีตไม่มีความหมายต่อการตัดสินใจ
รูปแบบของการวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ
การเสนอรายงานและรูปแบบการวิเคราะห์โดยทั่วไป สามารถ
แสดงรูปแบบการวิเคราะห์ได้ 3 รูปแบบ คือ
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนรวม
(Total Cost Format)
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนส่วนต่างหรือต้นทุนส่วนเพิ่ม
(Differential Cost Format)
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนโอกาสที่เสียไป
(Opportunity Cost Format)
รูปแบบของการวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจ
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนรวม
(Total Cost Format)
เป็นลักษณะของการวิเคราะห์โดยพิจารณา
ทั้งต้นทุน และ
รายได้ที่เกี่ยวข้อง และไม่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจ
ในแต่ละทางเลือก
ตัวอย่าง บริษัทกบน้อย จากัด เป็นบริษัทที่ผลิตโต๊ะทางานเพื่อจาหน่าย ในรอบ
ปีที่ผ่านมา ผลิตโต๊ะได้ 10,000 ตัว และมีต้นทุนตัวละ 2,000 บาท ซึ่งประกอบด้วย
วัตถุดิบทางตรง 500 บาท
ค่าแรงงานทางตรง 400 บาท
ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 500 บาท
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ 600 บาท
ต้นทุนรวม 2,000 บาท
สิ้นปีกิจการมีโต๊ะคงเหลืออยู่ 2,000 ตัว ซึ่งเป็นโต๊ะที่ไม่อยู่ในความต้องการของ
ผู้บริโภคแล้ว ทางบริษัทกาลังพิจารณาเกี่ยวกับทางเลือก 2 ทาง คือ
1. จาหน่ายโต๊ะที่เหลือทั้งหมดในราคาพิเศษ ตัวละ 600 บาท และเสียค่าใช้จ่ายในการ
ขาย ตัวละ 100 บาท
2. แก้ไขโต๊ะใหม่ให้ทันสมัย โดยเสียต้นทุนเพิ่มขึ้นต่อตัวประกอบด้วย วัตถุดิบทางตรง
100 บาท ค่าแรงงานทางตรง 80 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 60 บาท และจะขายได้ตัวละ
1,100 บาท
การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนรวม
การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนรวม
ทางเลือกที่ 1
ราคาขายรวม (2,000 x 600) 1,200,000
หัก ต้นทุนจม (2,000 x 2,000) 4,000,000
ค่าใช้จ่ายในการขาย (2,000 x 100) 200,000 4,200,000
ขาดทุน (3,000,000)
ทางเลือกที่ 2
ราคาขายรวม (2,000 x 1,100) 2,200,000
หัก ต้นทุนจม (2,000 x 2,000) 4,000,000
วัตถุดิบทางตรง (2,000 x 100) 200,000
ค่าแรงงานทางตรง (2,000 x 80) 160,000
ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร (2,000 x 60) 120,000 4,480,000
ขาดทุน (2,280,000)
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนส่วนต่างหรือต้นทุนส่วนเพิ่ม
(Differential Cost Format)
เป็นการวิเคราะห์
 ต้นทุนและรายได้ที่เกี่ยวข้องกับการตัดสินใจในแต่ละ
ทางเลือกที่จะทาการตัดสินใจ
 โดยพิจารณาถึงต้นทุนและรายได้ส่วนที่มีความแตกต่างกัน
ในแต่ละทางเลือก
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนส่วนต่างหรือต้นทุนส่วนเพิ่ม
จากตัวอย่าง บริษัทกบน้อย จากัด
ทางเลือกที่ 2
รายได้จากการขาย 2,200,000
หัก ต้นทุนส่วนเพิ่ม (2,000 x 240) 480,000
กาไรส่วนเพิ่ม 1,720,000
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนโอกาสที่เสียไป
(Opportunity Cost Format)
เป็นการวิเคราะห์ถึง
 ต้นทุนและรายได้ที่เกี่ยวกับการตัดสินใจในแต่ละ
ทางเลือกที่จะทาการตัดสินใจ
 รวมกับต้นทุนโอกาสที่เสียไปและ
 เสนอทางเลือกในการตัดสินใจเพียงลักษณะเดียว
 การวิเคราะห์ในรูปแบบของต้นทุนโอกาสที่เสียไป
จากตัวอย่าง บริษัทกบน้อย จากัด
ประเภทของปัญหาเพื่อการตัดสินใจ
ปัญหาที่ผู้บริหารจะประสบอยู่เสมอ คือ
o การใช้กาลังการผลิตว่างเปล่าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เป็นเรื่องเกี่ยวกับใช้กาลังการผลิตรวมถึงทรัพยากรที่มีอยู่
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เช่น
การรับคาสั่งซื้ อพิเศษเมื่อกิจการมีเครื่องจักรและ
แรงงานว่างอยู่ พอที่จะทาการผลิตเพิ่มได้
ประเภทของปัญหาเพื่อการตัดสินใจ
ปัญหาที่ผู้บริหารจะประสบอยู่เสมอ คือ
o การใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เป็นเรื่องเกี่ยวกับการใช้กาลังการผลิตและทรัพยากรที่
มีอยู่จากัด ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
เช่น
จะเลือกผลิตสินค้าชนิดใดในหลาย ๆ ชนิดเพื่อให้กิจการมีกาไรสูงสุด
ประเภทของปัญหาเพื่อการตัดสินใจ
ปัญหาที่ผู้บริหารจะประสบอยู่เสมอ คือ
o การตัดสินใจระยะสั้นกรณีอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้อ 1 และ 2
เช่น
 การผลิตชิ้นส่วนเองหรือซื้อจากบุคคลภายนอก
 การยกเลิกการผลิตหรือยกเลิกแผนกขายบาง
แผนก เนื่องจากมีผลขาดทุน
ปัญหาและวิธีการคานวณเพื่อการตัดสินใจในแต่ละประเภท
 การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
ในกิจการอุตสาหกรรมซึ่งผลิต ผลิตภัณฑ์ออกจาหน่าย
 บางกิจการจะนาวัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จ่ายใน
การผลิต ซึ่งเข้าสู่กระบวนการผลิตแต่ผลิตผลิตภัณฑ์
ออกมาได้เพียงชนิดเดียว
 บางกิจการอาจใช้วัตถุดิบ แรงงาน และค่าใช้จ่ายใน
การผลิต เข้าสู่ กระบวนการผลิตเดียว แต่ผลิตผลิตภัณฑ์
ได้มากว่า 1 ชนิดขึ้นไป
ตัวอย่าง อุตสาหกรรมรมผลิตน้ามัน ในกระบวนการกลั่น
น้ามันดิบจะได้น้ามันชนิดต่าง ๆ ออกมา
ต้นทุนการผลิต (วัตถุดิบ แรงงาน ค่าใช้จ่ายในการผลิต) ที่เกิดขึ้นใน
กระบวนการผลิตร่วมจะเรียกว่า
ต้นทุนร่วม (Joint Cost)
ต้นทุนร่วมที่เกิดขึ้นในกระบวนการผลิตเดียวและผลิตผลิตภัณฑ์ได้
มากกว่า 1 ชนิด จะเรียกจุดกระบวนการนี้ ว่า
จุดแยกออก(Split of Point)
เช่น น้ามันเบนซิน น้ามันหล่อลื่น น้ามันกาซ ยางมะตอย เป็นต้น ซึ่ง
ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่ได้จากกระบวนการผลิตเดียวกันเราเรียกว่า
ผลิตภัณฑ์ร่วม (Joint Product)
การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
DM
DL
MOH
งาน
ระหว่างทา
สินค้า 1
IDM IDL
ค่าใช้จ่ายส่วนที่
เป็นของโรงงาน
สินค้า 2 ทาต่อ
ขาย
ขาย
การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
ข้อมูลที่ต้องนามาช่วยในการพิจารณาประกอบการตัดสินใจคือ
 รายได้ส่วนที่เพิ่มขึ้น และ
 ต้นทุนส่วนที่ต้องจ่ายเพิ่มขึ้นจากการผลิตต่อ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณา
 ถ้าพิจารณาแล้วเห็นว่า
รายได้ส่วนเพิ่มมี มากกว่า ต้นทุนส่วนเพิ่ม หรือมีกาไรเพิ่ม
มากขึ้นกิจการก็ควรนาผลิตภัณฑ์นั้นไปผลิตต่อแล้วจึงขาย
ตัวอย่าง
บริษัทนิชา จากัด ผลิตภัณฑ์ 2 ชนิด คือ อุ้ยอ้าย และ อุ๋งอิ๋ง ซึ่ง
ผลิตภัณฑ์ทั้ง 2 ชนิด ได้ผ่านกระบวนการผลิตเดียวกัน และมีต้นทุน
ร่วมกันอยู่ 200,000 บาท เมื่อถึง จุดแยกออกจะได้ผลิตภัณฑ์ 2
ชนิด โดย อุ้ยอ้ายผลิตได้ 10,000 หน่วย ราคาขายหน่วยละ 15 บาท
ส่วน อุ๋งอิ๋ง ผลิตได้ 5,000 หน่วย ราคาขายหน่วยละ 10 บาท
บริษัทกาลังตัดสินใจว่า ควรจะนาผลิตภัณฑ์อุ้ยอ้ายไปผลิตต่อ
แล้วขายในราคาหน่วยละ 30 บาท โดยเสียต้นทุนทาต่อหน่วยละ 10
บาทดีหรือไม่
การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
การตัดสินใจเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ร่วม
การวิเคราะห์ในรูปแบบรายได้ส่วนเพิ่ม
ราคาขายหลังการทาต่อ (10,000 x 30) 300,000
หัก ราคาขายถึงจุดแยกออก (10,000 x 15) 150,000
รายได้ส่วนเพิ่ม 150,000หัก ต้นทุนทาต่อ (10,000 x 10)
100,000
รายได้ส่วนเพิ่มจากการทาต่อ 50,000
 การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
การผลิตสินค้าประเภทที่มีส่วนประกอบหลาย ๆ ชนิด
กิจการจึงมีทางเลือกเกี่ยวกับส่วนประกอบต่าง ๆ ว่าชนิดใด
ควรผลิตเอง และชนิดใดควรซื้ อจากบุคคลภายนอก และ
บ่อยครั้งที่พบว่า ถ้ากิจการผลิตชิ้ นส่วนขึ้ นเองจะประหยัด
ต้นทุนได้มากกว่าการซื้ อจากบุคคลภายนอก
แต่ ทั้งนี้ กิจการจะต้องพิจารณาอย่างอื่นประกอบด้วย
เช่น มีกาลังการผลิตว่างเปล่าหรือไม่ คนงานมีความสามารถที่
จะผลิตชิ้นส่วนนั้น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ เป็นต้น
การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
หลักเกณฑ์ในการพิจารณา
 ให้เลือกทางที่ช่วยในการประหยัดต้นทุนและทาให้บริษัทมี
กาไรเพิ่มขึ้ น
 ต้นทุนคงที่ที่เกิดจากการปันส่วน ถือเป็น ต้นทุนการ
ผลิตที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ไม่ต้องนามาพิจารณาเพราะถึงแม้จะ
ผลิตหรือไม่ผลิตก็ยังคงต้องเกิดขึ้ นเสมอ
การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
ตัวอย่าง 1
โรงงานแห่งหนึ่ง ได้ผลิตสินค้าชนิดพิเศษออกจาหน่ายซึ่งกาลังเป็ นที่ต้องการของ
ตลาดในปัจจุบัน ทางฝ่ายผู้จัดการโรงงานกาลังพิจารณาว่าควรผลิตชิ้ นส่วนประกอบเอง
หรือซื้ อชิ้ นส่วนประกอบจากบุคคลภายนอกโรงงาน ใน 1 ปี ต้องการชิ้ นส่วนประกอบ
ดังกล่าว 10,000 หน่วยซึ่งตามที่เคยผลิตจะมีต้นทุนการผลิตดังนี้
ต้นทุนต่อหน่วย(บาท) ต้นทุนรวม(บาท)
วัตถุดิบทางตรง 30 300,000
ค่าแรงงานทางตรง 25 250,000
ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร 15 150,000
ค่าใช้จ่ายการผลิตคงที่ทางตรง 10 100,000
ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่จัดสรร 12 120,000
รวม 92 920,000
ถ้ามีบุคคลภายนอกมาเสนอที่จะรับผลิตให้โดยเสนอราคามาที่หน่วยละ 75 บาท
ให้ท่านช่วยบริษัทแห่งนี้ พิจารณาว่าควรเลือกทางใดเพราะเหตุใด
การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
การคานวณเป็นดังนี้
ต้นทุนต่อหน่วย(บาท) ต้นทุนรวม(บาท)
ผลิตเอง ซื้ อ ผลิตเอง ซื้ อ
ซื้ อจากภายนอก - 72 - 720,000
วัตถุดิบทางตรง 30 - 300,000 -
ค่าแรงงานทางตรง 25 - 250,000 -
MOH ผันแปร 15 - 150,000 -
MOH คงที่ทางตรง 10 - 100,000 - .
รวม 80 72 800,000 720,000
จากการพิจารณาสรุปได้ว่า บริษัทควรซื้ อชิ้ นส่วนประกอบจากภายนอก
เพราะการซื้ อชิ้ นส่วนจากภายนอกจะมีต้นทุนถูกกว่าผลิตเอง หน่วยละ 8
บาท (80-72) และจานวนต้นทุนรวมถูกกว่าเท่ากับ 80,000 บาท
(800,000 – 720,000)
การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
ตัวอย่าง 2
บริษัทนิชา จากัด กาลังพิจารณาตัดสินใจเกี่ยวกับชิ้ นส่วนการ
ผลิต A ซึ่งจะใช้ประกอบในรถยนต์บังคับ ซึ่งชิ้ นส่วน A นี้ บริษัท
เคยซื้ อจากบุคคลภายนอกในราคาชิ้ นละ 210 บาท ซึ่งเป็ นราคาที่
รวมค่าใช้จ่ายต่าง ๆ เกี่ยวกับการสั่งซื้ อไว้แล้ว บริษัทได้เล็งเห็นว่า
กาลังการผลิตของกิจการยังมีเหลือพอที่จะทาการผลิตชิ้ นส่วนได้เอง
โดยไม่ต้องมีการลงทุนเกี่ยวกับสินทรัพย์ถาวร นอกจากต้นทุนใน
การผลิตอื่น ๆ
ต้นทุนการผลิตต่อหน่วยประกอบด้วยวัตถุดิบทางตรง 80 บาท
ค่าแรงงานทางตรง 60 บาท ค่าใช้จ่ายการผลิตผันแปร 40 บาท
ในการสั่งซื้ อกิจการจะสั่งซื้ อครั้งละ 8,000 หน่วย
การตัดสินใจผลิตเองหรือซื้ อจากบุคคลภายนอก (Make Or Buy)
การคานวณเพื่อการตัดสินใจ
ต้นทุนที่ซื้ อชิ้นส่วน A จากภายนอก (8,000 x 210) 1,680,000
ต้นทุนที่กิจการจ่ายสาหรับการผลิตชิ้นส่วน A (8,000 x 180) 1,440,000
ต้นทุนที่ประหยัดได้จากการผลิตชิ้นส่วน A เอง 240,000
จากตัวอย่างจะเห็นว่า
ถ้ากิจการเปลี่ยนมาผลิตชิ้ นส่วน A เอง จะทาให้
ประหยัดต้นทุนการผลิตไปได้ 240,000 บาท และกิจการยังใช้
กาลังการผลิตที่ยังว่างอยู่มาใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่
 การรับคาสั่งซื้ อพิเศษ
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาตัดสินใจ ประกอบด้วย
 ต้องเป็ นการผลิตโดยใช้กาลังการผลิตว่างเปล่าที่มีอยู่ และกิจการมีกาลัง
การผลิตว่างเปล่าเหลืออยู่เพียงพอที่จะผลิตตามจานวนที่สั่งซื้อ
 ราคาที่ขอซื้ อตามคาสั่งซื้ อพิเศษต้องสูงกว่าต้นทุนส่วนเพิ่มที่กิจการจะต้องจ่าย
เพื่อการผลิต ซึ่งกิจการ จะต้องมีกาไรส่วนเพิ่มด้วย
 คาสั่งซื้ อพิเศษจะต้องมีกาไรผันแปร ซึ่งจะได้จากยอดขาย หักดัวย ต้นทุน
การผลิตผันแปรและค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารผันแปร
 ต้นทุนการผลิตผันแปร ได้แก่ วัตถุดิบทางตรง
ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร
 ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารผันแปร ต้องคานึงถึงเงื่อนไข
ที่สั่งซื้ อด้วย เช่น
 ถ้าคาสั่งซื้ อพิเศษสั่งตรงมายังผู้บริหาร กิจการก็ไม่ต้องจ่าย
ค่านายหน้าให้พนักงานขาย
 หรือ ผู้ซื้ อมารับสินค้าไปเอง กิจการก็ไม่ต้องจ่าย
ค่าขนส่งออก เป็นต้น
 ต้นทุนคงที่ในการผลิตและค่าใช้จ่ายในการขายและบริหารคงที่ไม่ต้องนามา
พิจารณาเพราะ การที่จะรับคาสั่งซื้ อพิเศษหรือไม่นั้นจะพิจารณาส่วนที่เป็น
กาไรผันแปรเท่านั้น
การรับคาสั่งซื้ อพิเศษ
ตัวอย่าง 1
บริษัทการบิน จากัด มีกาลังการผลิตเต็มที่ 30,000 หน่วยต่อปี แต่
ขณะนี้ เกิดภาวะเศรษฐกิจตกต่า ทาให้กิจการลดปริมาณการผลิตลงเหลือ
20,000 หน่วยต่อปี และมีต้นทุนการผลิตหน่วยละ 25 บาท
มีบุคคลภายนอกติดต่อให้บริษัทผลิตสินค้าจานวน 8,000 หน่วย ใน
ราคาหน่วยละ 40 บาท และมีต้นทุนการผลิตหน่วยละ 26 บาท และ
ค่าใช้จ่ายในการขายผันแปรหน่วยละ 3 บาท กิจการควรพิจารณาข้อเสนอนี้
หรือไม่
การพิจารณา กิจการจะต้องดูว่ามีกาลังการผลิตว่างเปล่าอยู่หรือไม่
ซึ่งจากตัวอย่างกิจการมีกาลังการผลิตว่างเปล่าอยู่ 10,000 หน่วย ซึ่ง
เพียงพอที่จะทาการผลิตตามที่ลูกค้าสั่ง การวิเคราะห์ทาได้โดย
ขายต่อหน่วย 40 บาท
หัก ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย
ต้นทุนการผลิต 26
ค่าใช้จ่ายในการขาย 3 29 บาท
กาไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย 11 บาท
จากการคานวณกิจการควรรับคาสั่งซื้อพิเศษนี้ เพราะจะทาให้กิจการมีกาไร
เพิ่มขึ้นหน่วยละ11 บาท หรือกาไรรวมเพิ่มขึ้น 88,000 บาท
(8,000 หน่วย x กาไรส่วนเพิ่มหน่วยละ 11 บาท)
การรับคาสั่งซื้ อพิเศษตัวอย่าง 2 บริษัท พลอยงาม จากัด ผลิตสินค้าชนิดหนึ่งซึ่งเป็ นที่ต้องการของตลาด
กาลังผลิตปกติของบริษัทต่อปี เท่ากับ 50,000 หน่วย ปัจจุบันบริษัทผลิตและจาหน่าย
สินค้า ณ ระดับกาลังการผลิตปกติ กาลังการผลิตสูงสุดของโรงงานเท่ากับ 100,000
หน่วย ต่อไปนี้ เป็ นราคาขายต่อหน่วยและรายละเอียดเกี่ยวกับต้นทุนการผลิตต่อหน่วย
ราคาขาย 50
ต้นทุนการผลิต :
วัตถุดิบทางตรง 8 ค่าแรงงานทางตรง 4
ค่าใช้จ่ายในการผลิตผันแปร 2 ค่าใช้จ่ายในการผลิตคงที่ 3
ค่าใช้จ่ายในการขายและบริหาร :
ค่าใช้จ่ายในการขายผันแปร(ค่านายหน้า) 1
ค่าใช้จ่ายในการขายคงที่ 1.50
ค่าใช้จ่ายในการบริหารคงที่ 3
บริษัทได้รับคาสั่งซื้ อพิเศษจากลูกค้าชาวต่างประเทศ ขอซื้ อสินค้าของบริษัท
จานวน 30,000 หน่วย โดยจะขอซื้ อในราคาหน่วยละ 25 บาท คาสั่งซื้ อพิเศษนี้ สั่งตรง
มายังผู้บริหาร และมีเงื่อนไขว่าจะมารับสินค้าด้วยตัวเอง
ให้ท่านช่วยบริษัทแห่งนี้ พิจารณาว่าควรรับคาสั่งซื้ อนี้ หรือไม่เพราะเหตุใด
การรับคาสั่งซื้ อพิเศษ
การคานวณ (แบบต้นทุนต่อหน่วย)
ขายต่อหน่วย 25 บาท
หัก ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย
ต้นทุนการผลิตผันแปร(8+4+2) 14
กาไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย 11 บาท
การคานวณ (แบบต้นทุนรวม)
ขาย (30,000 x 25) 750,000 บาท
หัก ต้นทุนส่วนเพิ่มต่อหน่วย
ต้นทุนการผลิตผันแปร 30,000 x 14 420,000 บาท
กาไรส่วนเพิ่มต่อหน่วย 330,000 บาท
สรุป
ผลจากการวิเคราะห์บริษัทควรที่จะยอมรับคาสั่งซื้ อพิเศษนี้
เพราะจะทาให้บริษัทมีกาไรเพิ่มขึ้ น 330,000 บาท
( 30,000 x 11 )
 การตัดสินใจยกเลิกแผนก หรือยกเลิกผลิตภัณฑ์
สาเหตุมาจาก
 การประสบปัญหาการขาดทุนจากการดาเนินงานติดต่อกัน
หลาย ๆ เดือน หรือหลายงวดบัญชี
 ต้องรับภาระต้นทุนและค่าใช้จ่ายค่อนข้างสูงทาให้เกิด
ผลขาดทุน
หลักในการพิจารณา
 การตัดสินใจยกเลิกแผนกดาเนินการ
ตัวอย่าง
ห้างสรรพสินค้ากนกกาญจน์ มีแผนกดาเนินงาน 3 แผนก คือ
แผนก ก แผนก ข และแผนก ค ฝ่ายบริหารกาลังพิจารณาว่าควรจะ
ยุบแผนก ก ซึ่งเป็นแผนกที่มีผลขาดทุนสุทธิดีหรือไม่ รายละเอียด
เกี่ยวกับรายได้ ค่าใช้จ่ายของแต่ละแผนกในปีปัจจุบันปรากฎดังนี้
แผนก ก แผนก ข แผนก ค รวม
ขาย 200,000 160,000 20,000 380,000
ต้นทุนขายและค่าใช้จ่ายผันแปร
160,000 112,000 12,000 284,000
กาไรส่วนเกิน 40,000 48,000 8,000 96,000
ค่าใช้จ่ายคงที่ (เช่น เงินเดือน, ค่าเสื่อมราคา, ค่าเบี้ยประกัน)
ต้นทุนรายแผนก 30,000 20,000 3,000 53,000
ต้นทุนปันส่วน 12,000 20,000 4,000 36,000
ค่าใช้จ่ายคงที่รวม 42,000 40,000 7,000 89,000
กาไรสุทธิ (2,000) 9,000 1,000 7,000 .
หมายเหตุ :
ต้นทุนรายแผนกหมายถึงต้นทุนคงที่ทางตรงของแต่ละแผนกซึ่ง
รวมถึงเงินเดือนของคนงานในแผนกและต้นทุนอื่น ๆ ที่สามารถหลีกเลี่ยง
ได้ ถ้ากิจการยกเลิกการดาเนินงานในแผนกนั้น และสมมติว่าสินทรัพย์รวม
ที่ลงทุนในการดาเนินงานไม่มีผลกระทบต่อการตัดสินใจ
การตัดสินใจยกเลิกแผนกดาเนินการ
จากตัวอย่าง
จะเห็นว่าผลการดาเนินงานในแผนก ก มีผลขาดทุนสุทธิ
2,000 บาท ซึ่งผู้บริหารของห้างสรรพสินค้ากาลังพิจารณาตัดสินใจ
เกี่ยวกับแผนก ก เป็น 2 ทางเลือก คือ
 ยกเลิกการดาเนินงานของแผนก ก
 ดาเนินงานในแผนก ก ต่อไป
หลักในการวิเคราะห์ว่าจะยกเลิกแผนก ก หรือไม่นั้น
ให้พิจารณาจากกาไรส่วนเกินที่จะนาไปชดเชยต้นทุนรวมและต้นทุน
อื่น ๆ เช่น
ถ้ายกเลิกแผนก ก แล้ว จะทาให้กาไรส่วนเกินที่นาไปชดเชยต้นทุน
รวมและต้นทุนอื่น ๆ ลดลง ก็จะทาให้กาไรโดยรวมของกิจการลดลง ก็ไม่
การตัดสินใจยกเลิกแผนกดาเนินการ
วิธีวิเคราะห์ทางเลือกเพื่อการตัดสินใจดาเนินงานแผนก ก ต่อไป ยกเลิกแผนก ก ผลต่าง
(ก + ข + ค) (ข + ค)
ขาย 380,000 180,000 200,000
ค่าใช้จ่ายผันแปร 284,000 124,000 160,000
กาไรส่วนเกิน 96,000 56,000 40,000
ค่าใช้จ่ายคงที่รายแผนก 53,000 23,000 30,000
กาไรส่วนเกิน 43,000 33,000 10,000
ต้นทุนรวมและต้นทุนอื่น 36,000 36,000 -
กาไรสุทธิ 7,000 (3,000) 10,000
จากการวิเคราะห์ข้าแสดงให้เห็นว่า
ถ้าห้างสรรพสินค้ายกเลิกแผนก ก จะทาให้กิจการขาดกาไรส่วนเกินที่จะ
นาไปชดเชยต้นทุนรวมและต้นทุนอื่นๆ ของแผนกไปเป็ นจานวนเงิน
10,000 บาท และทาให้กาไรสุทธิลดลง 3,000 บาท
การตัดสินใจยกเลิกแผนกดาเนินการ
จากตัวอย่างเดิม
ถ้ากิจการยกเลิกแผนก ก และนาพื้นที่ว่างไปขยายกิจการในแผนก ข
ซึ่งทาให้ยอดขายเพิ่มขึ้น 100,000 บาท และมีกาไรส่วนเกินจากการขาย 30 %
ต้นทุนคงที่เพิ่มขึ้นอีก 14,000 บาท
 ถ้ากิจการมีกาไรส่วนเกิน 30 %
ต้นทุนผันแปรต้องเพิ่มขึ้น 70 % ของยอดขาย
(100,000 X 70 % = 70,000 บาท)
แผนก ข แผนก ค รวม
ขาย 260,000 20,000 280,000
ค่าใช้จ่ายผันแปร 182,000 12,000 194,000
กาไรส่วนเกิน 78,000 8,000 86,000
ค่าใช้จ่ายคงที่รายแผนก 34,000 3,000 37,000
กาไรส่วนเกิน 44,000 5,000 49,000
ต้นทุนรวมและต้นทุนอื่น ๆ 36,000
กาไรสุทธิ 13,000
 การตัดสินใจยกเลิกการผลิตผลิตภัณฑ์บางชนิด
มีแนวทางในการพิจารณา ดังนี้
 ผลิตภัณฑ์ชนิดใดถ้ามีกาไรส่วนเกินอยู่ และถ้าหากยกเลิก
ผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นแล้ว ต้นทุนและค่าใช้จ่ายคงที่ทั้งหมดหลีกเลี่ยง
ไม่ได้ ก็ไม่ควรยกเลิกผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น เพราะหากยกเลิกแล้ว จะ
ทาให้กาไรส่วนเกินของผลิตภัณฑ์นั้นหายไปทั้งหมด แต่ต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายคงที่ยังจ่ายเท่าเดิม ดังนั้นถ้า ยกเลิกผลิตภัณฑ์ชนิดนั้น
จะทาให้ผลขาดทุนสูงขึ้นเท่ากับกาไรส่วนเกินของผลิตภัณฑ์ที่ยกเลิก
 ผลิตภัณฑ์ชนิดใดถ้ามีกาไรส่วนเกิน และถ้าหากยกเลิก
ผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นแล้ว จะทาให้ต้นทุนและค่าใช้จ่ายคงที่ลดลงได้
มากกว่ากาไรส่วนเกิน ก็ควรยกเลิกผลิตภัณฑ์ชนิดนั้นเพราะจะทา
ให้กิจการมีผลขาดทุนลดลงเท่ากับส่วนต่างของต้นทุนและ
ค่าใช้จ่ายคงที่ที่ลดลงกับกาไรส่วนเกินของผลิตภัณฑ์ที่ยกเลิก
 การยกเลิกผลิตภัณฑ์ชนิดใดชนิดหนึ่ง อาจส่งผลกระทบต่อ
ผลิตภัณฑ์ชนิดอื่นที่กิจการขายอยู่ด้วยก็ได้ ดังนั้น การพิจารณา
ยกเลิกผลิตภัณฑ์จึงควรพิจารณาในภาพรวม โดยจะตัดสินใจเลือก
ทางเลือกที่ทาให้กิจการได้รับประโยชน์สูงสุด
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร

More Related Content

What's hot

ร้อยละในชีวิตประจำวัน
ร้อยละในชีวิตประจำวันร้อยละในชีวิตประจำวัน
ร้อยละในชีวิตประจำวัน
kroojaja
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
Ornkapat Bualom
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
Rock Rockie
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
Ornkapat Bualom
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
smile-girl
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
maruay songtanin
 

What's hot (20)

สถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจสถิติสำหรับธุรกิจ
สถิติสำหรับธุรกิจ
 
Chapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่นChapter3 ความยืดหยุ่น
Chapter3 ความยืดหยุ่น
 
ร้อยละในชีวิตประจำวัน
ร้อยละในชีวิตประจำวันร้อยละในชีวิตประจำวัน
ร้อยละในชีวิตประจำวัน
 
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภคChapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
Chapter4 พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพบทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
บทที่ 1 การเพิ่มผลิตภาพ
 
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติบทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
บทที่ 4 อุปสงค์และอุปทานในทางปฏิบัติ
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภคทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมของผู้บริโภค
 
พฤติกรรมผู้บริโภค
 พฤติกรรมผู้บริโภค พฤติกรรมผู้บริโภค
พฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอนบทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
บทที่ 6 แนวคิดหลักการและขั้นตอน
 
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุนบทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
บทที่ 9 รายได้ประชาชาติ การบริโภค การออม และการลงทุน
 
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิตChapter5 ทฤษฎีการผลิต
Chapter5 ทฤษฎีการผลิต
 
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณคำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
คำอุปสรรคที่ใช้แทนตัวพหุคูณ
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน1.4 สถิติเชิงอนุมาน
1.4 สถิติเชิงอนุมาน
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
01cost concept
01cost concept01cost concept
01cost concept
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้งConflict management การจัดการความขัดแย้ง
Conflict management การจัดการความขัดแย้ง
 

Similar to การบัญชีบริหาร (9)

04 budget
04 budget04 budget
04 budget
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
Thai budget
Thai budgetThai budget
Thai budget
 
Gamecost
GamecostGamecost
Gamecost
 
Econ presentation 4
Econ presentation 4Econ presentation 4
Econ presentation 4
 
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิตบทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
บทที่ 7 ต้นทุนการผลิต และรายรับจากการผลิต
 
8 abc
8 abc8 abc
8 abc
 
8 abc
8 abc8 abc
8 abc
 
การผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิตการผลิตและต้นทุนการผลิต
การผลิตและต้นทุนการผลิต
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 

การบัญชีบริหาร