SlideShare a Scribd company logo
1 of 36
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม
ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย
ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง
การศึกษาเท่านั้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
สังคมไทยมีลักษณะเฉพาะและมีความแตกต่างจากสังคมอื่น ๆ ถึงแม้ว่าใน
ปัจจุบันสังคมไทยจะรับอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกที่เข้ามาผสมผสานอย่าง
รวดเร็ว ทาให้สังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง แต่สังคมไทยส่วนใหญ่ก็ยังคง
สามารถอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมไทยไว้ได้ ลักษณะของสังคมไทยรวมถึง
วัฒนธรรม ประเพณี จารีต วิถีประชา มารยาทไทย ศิลปะไทยและค่านิยมของคนไทย
จะแสดงออกถึงความเป็นไทยได้อย่างเด่นชัด ในบทนี้จะได้ศึกษาถึงลักษณะของ
สังคม วัฒนธรรม และประเพณีของไทย ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและเป็นสิ่งที่ควรค่าแก่
การอนุรักษ์และถ่ายทอดเป็นมรดกสู่อนุชนรุ่นหลังสืบไป
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สังคม คือ บุคคลจานวนหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยมีวัตถุประสงค์
ระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์ที่ช่วยกันวางไว้เป็นตัวเชื่อมโยงประสานบุคคล
เหล่านั้นเข้าด้วยกัน
 “สังคมไทย” จึงหมายถึง บุคคลที่เกิดในประเทศไทย ถือสัญชาติไทย หรือ
บุคคลที่ย้ายมาอยู่ในประเทศไทยอย่างถาวร มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันปฏิบัติตน
ตามวัตถุประสงค์ระเบียบ แบบแผนและกฎเกณฑ์ที่ช่วยกันวางไว้
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม
2. สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความผูกพันในระหว่างเครือญาติอย่างใกล้ชิด
3. สังคมไทยเป็นสังคมที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา
4. สังคมไทยเป็นสังคมที่เทิดทูนพระมหากษัตริย์
5. สังคมไทยเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญในเรื่องอาวุโส ให้เกียรติยกย่องผู้ใหญ่
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นแบบแผนในการปฏิบัติหน้าที่ที่ทุกคนในสังคมปฏิบัติกันโดยทั่วไปจนเกิดเป็น
ความเคยชินไม่ต้องเป็นศีลธรรมและกฎหมายบังคับ ผู้ไม่ปฏิบัติตามก็จะไม่ได้รับโทษ
แต่จะถูกติฉิน นินทาเป็นต้น และนอกจากนี้ยังหมายรวมไปถึงแนวทางปฏิบัติของ
บุคคลที่ได้มาจากครอบครัว ซึ่งเป็นผู้อบรมสั่งสอน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นหลักคาสอนที่ได้จากศาสนา มีลักษณะเป็นข้อห้ามมิให้กระทาการบางอย่างที่
สังคมไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะสิ่งชั่วและสิ่งผิด หากผู้ใดฝ่าฝืนได้รับโทษรุนแรง เช่น
การห้ามลูกเนรคุณพ่อแม่ หรือห้ามมิให้จาหน่ายยาเสพติด เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เป็นบทลงโทษที่ตราไว้เป็นลายลักษณ์อักษรกาหนดโทษไว้แน่นอนมีเจ้าหน้าที่เป็น
ผู้รักษากฏหมายของบ้านเมืองไว้ไม่ให้มีผู้ใดฝ่าฝืนได้ ทั้งนี้กฎหมายนั้นจะต้อง
สอดคล้องกับวิถีประชาและกฎศีลธรรมด้วยจึงมีผลในการบังคับใช้ ซึ่งสามารถทาให้
สังคมดาเนินไปได้อย่างมีระเบียบ (ผศ.ดร.ฐิรชญา มณีเนตร , 2553, หน้า 93-
94)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 หมายถึง ลักษณะของสังคมไทยที่เห็นเด่นชัด และมีความแตกต่างจากสังคมอื่น ๆ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. สังคมไทยรวมอานาจไว้ที่ส่วนกลาง กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของประทศ สถาบัน
และสิ่งที่มีความสาคัญเกือบทุกอย่างในประเทศรวมอยู่ที่กรุงเทพมหานคร อานาจทางการเมือง
การปกครอง สถาบันการศึกษาชั้นสูง โรงพยาบาลดี ๆ ถนนและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ
ล้วนอยู่ที่ศูนย์กลาง คือกรุงเทพมหานคร
2. สังคมไทยเป็นสังคมเจ้านาย ทั้งนี้เพราะค่านิยม และได้อบรมสั่งสอนกันมาโดยลาดับ
ผู้ใหญ่มักให้พรแก่ผู้น้อยว่า “ขอให้ได้เป็นใหญ่เป็นโตอยู่สุขสบาย ไม่ต้องทางานหนักและมั่งคั่ง
ไปด้วยบริวาร” ปัจจุบันนิยมการมีตาแหน่งทางราชการมีตาแหน่งทางราชการตาแหน่งทาง
สังคม
3. สังคมไทยมีปรัชญาชีวิตที่สงบสุข ทั้งนี้เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา ซึ่งมี
ปรัชญาเชื่อในกฎแห่งกรรม ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว พระพุทธศาสนาสอนให้คนรังเกียจการ ฆ่า
สัตว์ สอนให้รู้จักให้อภัยไม่จองเวร ในด้านการดาเนินชีวิตสอนให้คนแสวงหาความสุขโดยใช้วิธี
สันโดษและเสียสละ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
4. สังคมไทยยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์
5. สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพ
ทางการเกษตร
6. สังคมไทยเป็นสังคมลักษณะชาวบ้าน ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ 85% เป็น
ชาวชนบทและมีอาชีพทางการเกษตร ทาให้ความสัมพันธ์ของคนไทยเป็นไปใน
ลักษณะสนิทสนมกันเป็นส่วนตัว และมีความเป็นกันเอง สนใจในเรื่องน้อยหน้าและ
ไม่น้อยหน้า เรื่องมีเกียรติและ ไม่มีเกียรติ
7. สังคมไทยชอบความหรูหราฟุ่มเฟือยการไม่ยอมน้อยหน้าใคร การอยากจะเป็นผู้มี
เกียรติได้รับการยกย่องจากสังคม ทาให้เกิดการแข่งขันกันทางสังคม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีจิตใจโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
ลักษณะนิสัยดังกล่าวเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก เช่น การยิ้ม ประเทศญี่ปุ่นได้เชิญ
ประเทศไทยไปเป็นวิทยากรเรื่องการยิ้ม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 กิริยาอาการที่ควรประพฤติปฏิบัติอย่างมีขอบเขต หรือมีระเบียบแบบแผนอัน
เหมาะสมแก่กาลเทศะและสังคม มารยาทไทยเป็นการเจาะจงในแบบแผนการ
ประพฤติปฏิบัติแบบไทย ที่บรรพบุรุษได้พิจารณากาหนดขึ้นและดัดแปลงแก้ไขใช้สืบ
ทอดกันมา นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความประพฤติด้านการควบคุมกิริยาวาจาให้อยู่ใน
กรอบที่สังคมไทยเห็นว่าเรียบร้อยถูกต้องและยอมรับ สาหรับมารยาทไทยบรรพบุรุษ
ไทยได้มีการสร้างสมและดัดแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะของคนไทย ซึ่งมีลักษณะ
พิเศษไม่เหมือนกันฃาติใด ดังนั้นการประพฤติปฏิบัติด้านมารยาท สามารถบ่งบอกถึง
ชนชั้นของบุคคลที่ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี เช่นสุภาษิตไทยโบราณกล่าวว่า “สาเนียงส่อ
ภาษา กิริยาส่อสกุล”
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยม (Values) หมายถึง สิ่งสาคัญขั้นมูลฐานที่ทาให้บุคคลตัดสินใจว่าควรจะ
ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างไร ค่านิยมเป็นความคิดเห็นพ้องต้องกันของคนใน
สังคม มีทั้งค่านิยม ที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ ค่านิยมที่สามารถ
ประเมินค่าพฤติกรรมให้เป็นที่ยอมรับจนเป็นเอกลักษณ์ที่บ่งลักษณะเฉพาะของคน
ในชาติ ซึ่งมีวัฒนธรรมเป็นหลักพื้นฐาน การปลูกฝึกค่านิยมควรส่งเสริมคุณภาพของ
ค่านิยมทางจิตใจมากกว่าวัตถุ เช่น ค่านิยมในคาว่าผู้ดี
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สิ่งที่คนไทยในสังคมหนึ่งยกย่องว่าดีปรารถนาจะได้เป็นและมีความสุขที่ได้ปฏิบัติ แต่
ต้องเข้าใจว่าค่านิยมในสังคมหนึ่งถือว่าดีว่าถูกต้องและเป็นสิ่งที่ควรกระทา แต่
ค่านิยมดังกล่าวอีกสังคมหนึ่งอาจถือว่าไม่ดี ไม่ถูกต้อง เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทาและไม่
ควรปฏิบัติในทานองเดียวกัน “ค่านิยม” ในสังคมไทยที่ว่าดี ว่าถูกต้อง อาจ
เปลี่ยนแปลงไปจากค่านิยมเดิมได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและกาลเวลา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของสังคมไทยที่ยึดถือและปฏิบัติสืบทอดมาเป็นเวลาช้านานก่อนรับอิทธิพล
จากนานาชาติ หรือค่านิยมดั้งเดิมที่คนไทยได้รับการสืบทอดมาจากบรรพบุรุษ
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สังคมไทยนิยมให้ผู้ชายเป็นใหญ่ ตัวอย่างเช่น พระมหากษัตริย์ไทยต้องเป็นชาย ผู้นา
หมู่บ้านของสังคมไทยในอดีตล้วนเป็นชาย เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ
ปลัดอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรประจาหมู่บ้านล้วนเป็นชาย ผู้หญิงไทยใน
อดีตจะได้รับการสั่งสอนให้เคารพ เชื่อฟัง และซื่อสัตย์ต่อสามี ต้องยกย่องรับใช้สามี
และเคารพ เช่น ก่อนนอนต้องกราบสามี เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 คนในสังคมไทยเคารพพุทธศาสนา ทาให้พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการกาหนด
ค่านิยมของคนไทย เช่น เชื่อเรื่องบุญและบาป การทาดีได้ดีและการทาชั่วได้ชั่ว การ
ทาความดีไว้ในชาตินี้จะส่งผลบุญให้มีความสุขในบั้นปลายชีวิตและ ในชาติหน้า
จากความเชื่อดังกล่าวคนไทยจึงประพฤติปฏิบัติตนตามคาสั่งสอนของพระสัมมา
สัมพุทธเจ้า รู้จักทาบุญทาทานเพื่อสร้างสม “บุญ” และคนไทยในสังคมชนบท
พระพุทธศาสนา จะเป็นตัวกาหนดกฏเกณฑ์ทางสังคมได้มากกว่าคนไทยในสังคม
เมือง
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 คนไทยจะได้รับการสั่งสอนให้รู้จักบุญคุณคน ต้องเคารพและตอบแทนผู้มีพระคุณ
เช่น พ่อ แม่ ครู อาจารย์ พี่ ป้า น้า อา และผู้ที่เคยให้ความอุปถัมภ์ เข้าทานอง
สุภาษิตที่ว่า “ต้องรู้จักข้าวแดงแกงร้อน” หรือ “อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัว ปั้น
ควายให้ลูกท่านเล่น” หรือการแสดงความกตัญญู โดยการรดน้าอวยพรผู้ที่ตนเคารพ
นับถือ ในวันขึ้นปีใหม่ของไทย วันสงกรานต์
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ความคิด ความเข้าใจและการยอมรับนับถือ เชื่อมั่นในสิ่งใดโดยไม่ต้องมีเหตุผลใดมา
สนับสนุนหรือพิสูจน์ ทั้งนี้บางอย่างอาจมีหลักฐานอย่างเพียงพอ ที่จะพิสูจน์ได้ หรือ
อาจจะไม่มีหลักฐานที่จะนามาใช้พิสูจน์ให้เห็นจริงเกี่ยวกับสิ่งนั้นก็ได้ คนไทย ในอดีต
มีค่านิยมความเชื่อหลายด้าน เช่น ความเชื่อทางไสยศาสตร์ ความเชื่อทาง
พระพุทธศาสนา ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลางและฤกษ์ยาม ความเชื่อเกี่ยวกับความฝัน
และคาทานาย ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทาและไม่
ควรทา
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของสังคมไทยที่เกิดจากการได้รับอิทธิพลของนานาชาติ และนามาพัฒนา
ค่านิยมของคนไทยให้เปลี่ยนแปลงไป ไม่เหมือนกับค่านิยมในสังคมไทย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เดิมค่านิยมในชนบทนิยมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ปัจจุบันสังคมไทยในเมืองนิยม
ว่าจ้างแรงงานในการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น จ้างแม่ครัวมาทาอาหารเวลาจัดงาน จ้าง
ช่างดอกไม้มาจัดดอกไม้แทนการช่วยเหลือกัน จัดจ้างแม่บ้านดูแลกิจการงานภายใน
บ้าน และค่านิยมดังกล่าวได้แผ่ขยายเข้าไปในชนบทไทยด้วย ดังจะเห็นว่าปัจจุบัน
การทางานไถนา หว่านข้าวและเกี่ยวข้าว ไม่มีการลงแขก แต่ใช้วิธีว่าจ้างแรงงาน
ทั้งสิ้น นอกจากนั้นในสังคมไทยปัจจุบันหันมานิยมยกย่องคนที่มีฐานะดี มีเศรษฐกิจ
ดี ดังนั้นคนมีเงินจึงเป็นมาตราฐานชี้วัดฐานะของคนไทยในสังคมไทยด้วย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของสังคมไทยในการสร้างบ้านเรือน เดิมคนไทยนิยมบ้านทรงไทยตามความ
นิยมของคนไทยในแต่ละภาค ปัจจุบันคนไทยหันกลับไปนิยมสร้างบ้านแบบยุโรป
การสร้างสถานที่หน่วยงานของไทยแบบยุโรป อาคาร ร้านค้า ย่านธุรกิจแบบยุโรป ซึ่ง
มีลักษณะเป็นแท่งเป็นกล่องขนาดสูงใหญ่ แม้มีการรณรงค์ให้อนุรักษ์วัฒนธรรม
สร้างอาคารแบบทรงไทย เช่น การสร้างอาคารแบบล้านนาที่จังหวัดเชียงใหม่ต้องมี
สัญลักษณ์ “กาแล” ติดบนหลังคา เราจะเห็นว่าอาคารที่สร้างบริเวณจังหวัด
เชียงใหม่จะมีลักษณะอาคาร ตามแบบยุโรปแต่ติด “กาแล” หลักฐานนี้ทาให้
วัฒนธรรมการสร้างอาคารแบบทรงไทยล้านนา เสียไป ปัญหาต่อไปคือค่านิยมเรื่อง
การทาความเคารพของคนไทย ปัจจุบันนิยมจับมือหรือ โค้งคานับแบบฝรั่ง ทาให้
วัฒนธรรมแบบไทย ๆ เช่น ไหว้หายไปจากสังคมไทย เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของคนไทยในเรื่องการยกย่องผู้มีตาแหน่ง เช่น ผู้แทนราษฎรเมื่อได้รับ
ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ฐานะจะเปลี่ยนไป พร้อมกับ การเปลี่ยนแปลง
ฐานะของภริยาและลูก ๆ ก็เปลี่ยนด้วย เช่น ได้รับการยกย่องสรรเสริญ การให้ความ
เคารพ ให้ความเกรงใจและให้เกียรติเป็นประธานในงานพิธีเป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของคนไทยในปัจจุบัน ทุกคนมีค่าใช้จ่ายในการครองชีพมากทาให้พ่อแม่ไม่มี
เวลาอบรมสั่งสอนลูก ทาให้บุตรธิดาซึ่งเป็นเยาวชนของชาติขาด การอบรมเป็นผู้ไม่มี
ระเบียบวินัย ทุกคนไปไหนมาไหนด้วยความรีบจนบางครั้งต้องขับรถแซงซ้าย แซง
ขวา หรือไม่ขับรถตามกฎจราจรทาให้การจราจรติดขัด นอกจากนี้เราจะเห็นว่าคน
ไทย ขาดระเบียบวินัยในการเดินเข้าไปทาพิธีรดน้าศพ การทาพิธีบรรจุศพทุกคนไม่
นิยมเข้าแถว แต่นิยมเบียดเสียดกันเข้าไปทาพิธี “เหมือนควายแย่งกันออกจากคอก”
ทาให้ไม่เหมาะกับบรรยากาศงานพิธี
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ค่านิยมของคนไทยในปัจจุบันทุกคนแก่งแย่งกันหาเงินคนไทยส่วนใหญ่ หาเงินโดย
การทาลายทรัพยากรธรรมชาติของประเทศฃาติ เช่น พ่อค้าทาการตัดไม้จนหมดป่า
ทาให้พ่อค้าร่ารวย แต่ประชากรไทยส่วนใหญ่ของประเทศต้องประสบปัญหาฝนไม่
ตกตามฤดูกาล อากาศร้อนจัด และเกิดความแห้งแล้งทั่วไป หรือกรณีโรงงาน
อุตสาหกรรมขนาดใหญ่และขนาดเล็กปล่อยของเสียลงแม่น้าคูคลอง จึงทาให้น้าเสีย
ปลาในลาคลองตายหรือเป็นพิษ ซึ่งเป็นเหตุ ทาให้เกิดความเสียหายต่อส่วนร่วม
(ผศ.ดร.ฐิรชญา มณีเนตร , 2553, หน้า 104-109)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยที่อยู่ร่วมกันได้ด้วยการสื่อความหมายใช้ชีวิต
ประกอบกิจกรรมและสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ด้วยลักษณะไทย ๆ เป็นผลรวมของการสั่ง
สมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ภูมิปัญญา ภูมิธรรม และภูมิปัญญาของ
บรรพบุรุษไทย ซึ่งถ่ายทอดสืบต่อกันมา ช่วยให้ชาวไทยในแต่ละสังคมนั้น ๆ อยู่รอดมี
ความเจริญสืบมาและมีความเป็นอยู่เช่นปัจจุบัน วัฒนธรรมเป็นเครื่องผดุงศีลธรรม
เป็นปัจจัยแห่งความเจริญงอกงามและ ความแข็งแรงมั่นคงของชาติ วัฒนธรรมคือ
ชาติเพราะแสดงออกให้ปรากฏทั่วไปว่าเป็นชาติ วัฒนธรรมไทยเป็นคารวมของ
สัญลักษณ์แห่งชาติไทย ภาษาไทยก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่ง ของชาติไทยเช่นกัน
สมมติว่ามีคนนั่งรวมกันอยู่หลายชาติหลายภาษาด้วยกัน ถ้าคนเหล่านั้นพูดออกมา
ด้วยภาษาของตนเองเราก็จะรู้ทันทีว่าคนนั้นเป็นคนชาติอะไร ถ้าพูดภาษาไทยคนนั้น
ย่อมเป็นคนไทยแน่นอน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิต ที่มนุษย์สร้างขึ้นมานั่นเอง ไม่ว่าจะเป็น
การละเล่น การแสดง การร้องเพลง พฤติกรรม และบรรดาผลงานทั้งมวลที่มนุษย์ ได้
สร้างสรรค์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานด้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรม ตลอดจนความคิด
ความเชื่อ ความรู้ ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบความรู้สึก
ความประพฤติและกิริยาอาการ หรือการกระทาใด ๆ ของมนุษย์ในส่วนรวม ลงรูป
เป็นพิมพ์เดียวกันและแสดงออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ
ประเพณี ความกลมเกลียว ความก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีงามของ
ประชาชน ซึ่งวัฒนธรรมของคนแต่ละภาคในประเทศไทยก็มีความเหมือนและ
แตกต่างกันบ้างตามแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย รวมทั้งการสืบทอดหรืออาจมีการ
ดัดแปลงบ้างเพื่อให้มีความเป็นสมัยนิยมมากขึ้น รวมทั้งสามารถประพฤติปฏิบัติกัน
ได้อย่างทั่วถึงด้วยนั้นเอง (โอเคเนชั่น, 2554)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ตั้งแต่ในอดีตมานั้นคนไทยมีเอกลักษณ์ด้านการแต่งกายที่ใช้ผ้าไทยซึ่งทาจาก ผ้า
ไหม ผ้าทอมือต่าง ๆ นามาทาเป็นผ้าสไบสาหรับผู้หญิงไทย ส่วนผู้ชายก็มีการแต่ง
กายที่นิยมสาหรับชาวบ้านก็คงหนีไม่พ้นผ้าขาวม้าซึ่ง นิยมใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณ
จนถึงปัจจุบันก็ยังมีอยู่ (โอเคเนชั่น, 2554)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ด้วยประเทศไทยมีภาษาเป็นของตนเองมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเนื่องจากประเทศ
ไทยไม่เคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศใดในโลก ทาให้เรามีภาษาไทยใช้มาจนถึง
ปัจจุบัน และในประเทศไทยก็มีภาษาทางการ คือภาษากลาง ซึ่งคนในประเทศไม่ว่า
จะอยู่ในภาคไหนก็สามารถสื่อสารกันได้ด้วยภาษากลางนั้น เอง เพราะในประเทศ
ไทยเรามีถึง 4 ภาคหลักและในแต่ละภาคก็ใช้ภาษาที่แตกต่างกันไปบ้างดังนั้น
เพื่อให้คนไทย สามารถสื่อสารตรงกันได้เราจึงมีภาษากลางเกิดขึ้นนั่นเอง (โอเคเนชั่น
, 2554)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 วัฒนธรรมที่มีความสาคัญกับคนไทยไม่น้อยไปกว่าวัฒนธรรมด้านการแต่งกายและ
วัฒนธรรมด้านภาษาคือวัฒนธรรมด้านอาหาร ซึ่งวัฒนธรรมด้านอาหารของคนไทย
นั้นก็มีมาตั้งแต่สมัยอดีตจนมาถึงปัจจุบัน ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีลักษณะอาหารการกินที่
แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมแล้วเราจะเรียกว่าวัฒนธรรมอาหารไทย ซึ่งอาหารไทย
นั้นมีมากมายที่ขึ้นชื่อของไทย และโด่งดังไปทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น ต้มยากุ้ง ผัดไทย
เป็นต้น อาหารถือเป็นวัฒนธรรมอีกอย่างหนึ่งของไทย ที่คนไทยควรให้ความสาคัญ
และถือว่าอาหารไทยก็ไม่แพ้อาหารของชนชาติใด(โอเคเนชั่น, 2554)
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 สิ่งที่คนในสังคมสร้างขึ้น เป็นที่ยอมรับและถ่ายทอดปฏิบัติสือต่อกันมาเป็นเวลานาน
หรือขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งได้ประพฤติปฏิบัติ
สืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับของส่วนรวม ประเพณีเหล่านี้มีลักษณะของการปฏิบัติ
ที่แตกต่างกันออกไป บางอย่างห้ามประพฤติใครฝ่าฝืนถือว่าผิดร้ายแรงต้องถูกสังคม
ลงโทษ แต่บางอย่าง ใครจะประพฤติก็ได้หากไม่ประพฤติก็ไม่ถือว่าผิด บางอย่างก็
เสื่อมไปหรือเลิกราไป เมื่อมวลชนเห็นว่าไม่มีประโยชน์ หรือบางอย่างก็รับเอามาจาก
กลุ่มอื่นแล้วนามาประยุกต์ให้เหมาะสมแก่กลุ่มของตน
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ประเพณีส่วนบุคคล
2. ประเพณีส่วนรวม
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 ประเพณีที่เกี่ยวข้องเฉพาะบุคคลภายในครอบครัวเป็นต้นว่า ประเพณีเกี่ยวกับการ
เกิด ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ ประเพณีทาบุญบ้าน ประเพณีจัดตั้ง
ศาลพระภูมิ ประเพณีการบวช ประเพณีการทาขวัญ ประเพณีการทาบุญอายุ และ
ประเพณีเกี่ยวกับการตาย
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 มักจะเป็นประเพณีการทาบุญ และการสนุกสนานรื่นเริงของกลุ่มชนนั้น ซึ่งถือปฏิบัติ
สืบต่อกันมาได้แก่ ประเพณีทาบุญ ตักบาตร ทาบุญปีใหม่ ทาบุญสงกรานต์
ประเพณีบวชนาค ถวายผ้าอาบน้าฝน ทาบุญทอดผ้าป่า ทาบุญเทศน์มหาชาติ
ทาบุญวันเฉลิมพระชนมพรรษา และทาบุญวันเกิด รวมทั้งประเพณีส่วนรัฐบาลอัน
เป็นประเพณีที่ทางราชการได้จัดขึ้นซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยพระราชพิธีหรือรัฐพิธีต่าง ๆ เช่น
พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยา พระราชพิธีฉัตรมงคล
พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย พระราช
พิธีโล้ชิงช้าและพิธีวางศิลาฤกษ์เป็นต้น
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
 เรื่องของสังคมและวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มี
ด้านหน้าและด้านหลัง สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง
มาช้านาน จนมีความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกันและมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวิถีทางในการดารงชีวิตร่วมกันเป็นแบบอย่างเดียวกันวัฒนธรรมนั้นหมายถึง
บรรดาขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และทุกสิ่งทุกอย่างที่คนในสังคมนั้นสร้าง
ขึ้นมาเพื่อดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีสังคมก็ไม่มีวัฒนธรรม ทั้งสอง
อย่างจึงเป็นของคู่กันอย่างแยกไม่ออก
ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ
1. ลักษณะสังคมไทยหมายถึงอะไร
2. สิ่งใดเป็นตัวกาหนดลักษณะสังคมไทย
3. ในความคิดของท่านหากไม่ปฏิบัติตามเรื่องอะไรจึงจะถือว่าผิดในสังคมไทย
4. ”ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว” จัดเป็นสังคมไทยแบบใด
5. ลักษณะนิสัยของคนไทย หมายถึงอะไร
6. อะไรถือว่าเป็นลักษณะนิสัยของคนไทย
7. ค่านิยมของสังคมไทยในอดีต และค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง
8. ลักษณะครอบครัวของท่านยังยึดถือค่านิยมแบบใด
9. จงยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยด้านต่าง ๆ ของไทย
10. จงยกตัวอย่าง ประเพณีส่วนบุคคลภายในและประเพณีส่วนรวม มาอย่างละตัวอย่าง
พร้อมอธิบาย

More Related Content

What's hot

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningTeetut Tresirichod
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตPadvee Academy
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อTeetut Tresirichod
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายManow Butnow
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้Nattapakwichan Joysena
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยPadvee Academy
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาพระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21Prachyanun Nilsook
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยPaew Tongpanya
 
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรมWannarat Wattana
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายSantichon Islamic School
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueNattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Chapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planningChapter 1 innovation and planning
Chapter 1 innovation and planning
 
ศาสนาชินโต
ศาสนาชินโตศาสนาชินโต
ศาสนาชินโต
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556Value chain27 09-2556
Value chain27 09-2556
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
อาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้ายอาชญากรรมวายร้าย
อาชญากรรมวายร้าย
 
ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้ประเพณีภาคใต้
ประเพณีภาคใต้
 
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทยสถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
สถาบันพระมหากษัตริย์กับปวงชนชาวไทย
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
เทคนิคการสอนในศตวรรษที่21
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
135 402 cross-cultural management11 การสื่อสารต่างวัฒนธรรม
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissueตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
ตัวอย่างแผนธุรกิจPocket tissue
 

Similar to Chapter 2 thai culture and traditions

ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังWat Thai Washington, D.C.
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมBoonlert Aroonpiboon
 
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5Kunnai- เบ้
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1Taraya Srivilas
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมkorakate
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)teewara56
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2Pisan Chueachatchai
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์peye1991
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์peye1991
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesTeetut Tresirichod
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานีTaraya Srivilas
 
ค่านิยม12ประการ
ค่านิยม12ประการค่านิยม12ประการ
ค่านิยม12ประการsiriratbow
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองTum Meng
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to Chapter 2 thai culture and traditions (20)

ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
เฉลยสถาบันหลักของชาติ M.5
 
ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1ถอดเทปสันติธานี 1
ถอดเทปสันติธานี 1
 
หลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคมหลักสูตรสังคม
หลักสูตรสังคม
 
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
Internal Quality Assurance in Standard 6 (2015)
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud251298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
51298376 raaylaeiiydh-ngwichaakaar-2-20354-prablaasud2
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differencesChapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
Chapter 5 cultural dimensions and management of cultural differences
 
สันติธานี
สันติธานีสันติธานี
สันติธานี
 
ค่านิยม12ประการ
ค่านิยม12ประการค่านิยม12ประการ
ค่านิยม12ประการ
 
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเองทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
ทำ - ธรรมนูญ : ธรรมนูญประชาชนเพื่อการจัดการตนเอง
 
ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3ประวัติศาสตร์ไทย 3
ประวัติศาสตร์ไทย 3
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 

More from Teetut Tresirichod

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldTeetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementTeetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfTeetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfTeetut Tresirichod
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoTeetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyTeetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryTeetut Tresirichod
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesTeetut Tresirichod
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Teetut Tresirichod
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementTeetut Tresirichod
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeTeetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 
Chapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activitiesChapter 6 business technology management activities
Chapter 6 business technology management activities
 
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
Chapter 5 importing technology and creating innovations in the context of inn...
 
Chapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation managementChapter 4 strategic innovation management
Chapter 4 strategic innovation management
 
Chapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challengeChapter 3 innovation challenge
Chapter 3 innovation challenge
 

Chapter 2 thai culture and traditions

  • 1. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ การนาเสนอภาพนิ่งนี้จัดทาขึ้นจากเอกสารประกอบการสอน รายวิชา การบริหารวัฒนธรรม ข้ามชาติ ของท่านอาจารย์พรรณปพร จันทร์ฉาย ผู้จัดทาการนาเสนอภาพนิ่ง มิได้มีเจตนาละเมิดลิขสิทธิ์ แต่จัดทาขึ้นเพื่อวัตถุประสงค์ทาง การศึกษาเท่านั้น
  • 2. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ สังคมไทยมีลักษณะเฉพาะและมีความแตกต่างจากสังคมอื่น ๆ ถึงแม้ว่าใน ปัจจุบันสังคมไทยจะรับอิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตกที่เข้ามาผสมผสานอย่าง รวดเร็ว ทาให้สังคมไทย มีการเปลี่ยนแปลงไปบ้าง แต่สังคมไทยส่วนใหญ่ก็ยังคง สามารถอนุรักษ์และสืบทอดวัฒนธรรมไทยไว้ได้ ลักษณะของสังคมไทยรวมถึง วัฒนธรรม ประเพณี จารีต วิถีประชา มารยาทไทย ศิลปะไทยและค่านิยมของคนไทย จะแสดงออกถึงความเป็นไทยได้อย่างเด่นชัด ในบทนี้จะได้ศึกษาถึงลักษณะของ สังคม วัฒนธรรม และประเพณีของไทย ที่มีเอกลักษณ์เฉพาะและเป็นสิ่งที่ควรค่าแก่ การอนุรักษ์และถ่ายทอดเป็นมรดกสู่อนุชนรุ่นหลังสืบไป
  • 3. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สังคม คือ บุคคลจานวนหนึ่งที่มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน โดยมีวัตถุประสงค์ ระเบียบแบบแผนและกฎเกณฑ์ที่ช่วยกันวางไว้เป็นตัวเชื่อมโยงประสานบุคคล เหล่านั้นเข้าด้วยกัน  “สังคมไทย” จึงหมายถึง บุคคลที่เกิดในประเทศไทย ถือสัญชาติไทย หรือ บุคคลที่ย้ายมาอยู่ในประเทศไทยอย่างถาวร มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กันปฏิบัติตน ตามวัตถุประสงค์ระเบียบ แบบแผนและกฎเกณฑ์ที่ช่วยกันวางไว้
  • 4. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม 2. สังคมไทยเป็นสังคมที่มีความผูกพันในระหว่างเครือญาติอย่างใกล้ชิด 3. สังคมไทยเป็นสังคมที่ยึดมั่นในพระพุทธศาสนา 4. สังคมไทยเป็นสังคมที่เทิดทูนพระมหากษัตริย์ 5. สังคมไทยเป็นสังคมที่ให้ความสาคัญในเรื่องอาวุโส ให้เกียรติยกย่องผู้ใหญ่
  • 5. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นแบบแผนในการปฏิบัติหน้าที่ที่ทุกคนในสังคมปฏิบัติกันโดยทั่วไปจนเกิดเป็น ความเคยชินไม่ต้องเป็นศีลธรรมและกฎหมายบังคับ ผู้ไม่ปฏิบัติตามก็จะไม่ได้รับโทษ แต่จะถูกติฉิน นินทาเป็นต้น และนอกจากนี้ยังหมายรวมไปถึงแนวทางปฏิบัติของ บุคคลที่ได้มาจากครอบครัว ซึ่งเป็นผู้อบรมสั่งสอน
  • 6. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นหลักคาสอนที่ได้จากศาสนา มีลักษณะเป็นข้อห้ามมิให้กระทาการบางอย่างที่ สังคมไม่เห็นด้วย โดยเฉพาะสิ่งชั่วและสิ่งผิด หากผู้ใดฝ่าฝืนได้รับโทษรุนแรง เช่น การห้ามลูกเนรคุณพ่อแม่ หรือห้ามมิให้จาหน่ายยาเสพติด เป็นต้น
  • 7. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เป็นบทลงโทษที่ตราไว้เป็นลายลักษณ์อักษรกาหนดโทษไว้แน่นอนมีเจ้าหน้าที่เป็น ผู้รักษากฏหมายของบ้านเมืองไว้ไม่ให้มีผู้ใดฝ่าฝืนได้ ทั้งนี้กฎหมายนั้นจะต้อง สอดคล้องกับวิถีประชาและกฎศีลธรรมด้วยจึงมีผลในการบังคับใช้ ซึ่งสามารถทาให้ สังคมดาเนินไปได้อย่างมีระเบียบ (ผศ.ดร.ฐิรชญา มณีเนตร , 2553, หน้า 93- 94)
  • 8. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  หมายถึง ลักษณะของสังคมไทยที่เห็นเด่นชัด และมีความแตกต่างจากสังคมอื่น ๆ
  • 9. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. สังคมไทยรวมอานาจไว้ที่ส่วนกลาง กรุงเทพมหานครเป็นศูนย์กลางของประทศ สถาบัน และสิ่งที่มีความสาคัญเกือบทุกอย่างในประเทศรวมอยู่ที่กรุงเทพมหานคร อานาจทางการเมือง การปกครอง สถาบันการศึกษาชั้นสูง โรงพยาบาลดี ๆ ถนนและสิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ ล้วนอยู่ที่ศูนย์กลาง คือกรุงเทพมหานคร 2. สังคมไทยเป็นสังคมเจ้านาย ทั้งนี้เพราะค่านิยม และได้อบรมสั่งสอนกันมาโดยลาดับ ผู้ใหญ่มักให้พรแก่ผู้น้อยว่า “ขอให้ได้เป็นใหญ่เป็นโตอยู่สุขสบาย ไม่ต้องทางานหนักและมั่งคั่ง ไปด้วยบริวาร” ปัจจุบันนิยมการมีตาแหน่งทางราชการมีตาแหน่งทางราชการตาแหน่งทาง สังคม 3. สังคมไทยมีปรัชญาชีวิตที่สงบสุข ทั้งนี้เนื่องจากได้รับอิทธิพลจากพระพุทธศาสนา ซึ่งมี ปรัชญาเชื่อในกฎแห่งกรรม ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว พระพุทธศาสนาสอนให้คนรังเกียจการ ฆ่า สัตว์ สอนให้รู้จักให้อภัยไม่จองเวร ในด้านการดาเนินชีวิตสอนให้คนแสวงหาความสุขโดยใช้วิธี สันโดษและเสียสละ
  • 10. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4. สังคมไทยยึดมั่นในสถาบันพระมหากษัตริย์ 5. สังคมไทยเป็นสังคมเกษตรกรรม ประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศประกอบอาชีพ ทางการเกษตร 6. สังคมไทยเป็นสังคมลักษณะชาวบ้าน ประชาชนส่วนใหญ่ประมาณ 85% เป็น ชาวชนบทและมีอาชีพทางการเกษตร ทาให้ความสัมพันธ์ของคนไทยเป็นไปใน ลักษณะสนิทสนมกันเป็นส่วนตัว และมีความเป็นกันเอง สนใจในเรื่องน้อยหน้าและ ไม่น้อยหน้า เรื่องมีเกียรติและ ไม่มีเกียรติ 7. สังคมไทยชอบความหรูหราฟุ่มเฟือยการไม่ยอมน้อยหน้าใคร การอยากจะเป็นผู้มี เกียรติได้รับการยกย่องจากสังคม ทาให้เกิดการแข่งขันกันทางสังคม
  • 11. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มีความเป็นอยู่ที่เรียบง่าย มีจิตใจโอบอ้อมอารี เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ช่วยเหลือซึ่งกันและกัน ลักษณะนิสัยดังกล่าวเป็นที่ยอมรับกันทั่วโลก เช่น การยิ้ม ประเทศญี่ปุ่นได้เชิญ ประเทศไทยไปเป็นวิทยากรเรื่องการยิ้ม
  • 12. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  กิริยาอาการที่ควรประพฤติปฏิบัติอย่างมีขอบเขต หรือมีระเบียบแบบแผนอัน เหมาะสมแก่กาลเทศะและสังคม มารยาทไทยเป็นการเจาะจงในแบบแผนการ ประพฤติปฏิบัติแบบไทย ที่บรรพบุรุษได้พิจารณากาหนดขึ้นและดัดแปลงแก้ไขใช้สืบ ทอดกันมา นอกจากนี้ยังรวมไปถึงความประพฤติด้านการควบคุมกิริยาวาจาให้อยู่ใน กรอบที่สังคมไทยเห็นว่าเรียบร้อยถูกต้องและยอมรับ สาหรับมารยาทไทยบรรพบุรุษ ไทยได้มีการสร้างสมและดัดแปลงให้เหมาะสมกับลักษณะของคนไทย ซึ่งมีลักษณะ พิเศษไม่เหมือนกันฃาติใด ดังนั้นการประพฤติปฏิบัติด้านมารยาท สามารถบ่งบอกถึง ชนชั้นของบุคคลที่ปฏิบัติได้เป็นอย่างดี เช่นสุภาษิตไทยโบราณกล่าวว่า “สาเนียงส่อ ภาษา กิริยาส่อสกุล”
  • 13. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยม (Values) หมายถึง สิ่งสาคัญขั้นมูลฐานที่ทาให้บุคคลตัดสินใจว่าควรจะ ปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติอย่างไร ค่านิยมเป็นความคิดเห็นพ้องต้องกันของคนใน สังคม มีทั้งค่านิยม ที่พึงประสงค์และค่านิยมที่ไม่พึงประสงค์ ค่านิยมที่สามารถ ประเมินค่าพฤติกรรมให้เป็นที่ยอมรับจนเป็นเอกลักษณ์ที่บ่งลักษณะเฉพาะของคน ในชาติ ซึ่งมีวัฒนธรรมเป็นหลักพื้นฐาน การปลูกฝึกค่านิยมควรส่งเสริมคุณภาพของ ค่านิยมทางจิตใจมากกว่าวัตถุ เช่น ค่านิยมในคาว่าผู้ดี
  • 14. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สิ่งที่คนไทยในสังคมหนึ่งยกย่องว่าดีปรารถนาจะได้เป็นและมีความสุขที่ได้ปฏิบัติ แต่ ต้องเข้าใจว่าค่านิยมในสังคมหนึ่งถือว่าดีว่าถูกต้องและเป็นสิ่งที่ควรกระทา แต่ ค่านิยมดังกล่าวอีกสังคมหนึ่งอาจถือว่าไม่ดี ไม่ถูกต้อง เป็นสิ่งที่ไม่ควรกระทาและไม่ ควรปฏิบัติในทานองเดียวกัน “ค่านิยม” ในสังคมไทยที่ว่าดี ว่าถูกต้อง อาจ เปลี่ยนแปลงไปจากค่านิยมเดิมได้ ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมและกาลเวลา
  • 16. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สังคมไทยนิยมให้ผู้ชายเป็นใหญ่ ตัวอย่างเช่น พระมหากษัตริย์ไทยต้องเป็นชาย ผู้นา หมู่บ้านของสังคมไทยในอดีตล้วนเป็นชาย เช่น ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ ปลัดอาเภอ กานัน ผู้ใหญ่บ้าน สารวัตรประจาหมู่บ้านล้วนเป็นชาย ผู้หญิงไทยใน อดีตจะได้รับการสั่งสอนให้เคารพ เชื่อฟัง และซื่อสัตย์ต่อสามี ต้องยกย่องรับใช้สามี และเคารพ เช่น ก่อนนอนต้องกราบสามี เป็นต้น
  • 17. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  คนในสังคมไทยเคารพพุทธศาสนา ทาให้พุทธศาสนามีอิทธิพลต่อการกาหนด ค่านิยมของคนไทย เช่น เชื่อเรื่องบุญและบาป การทาดีได้ดีและการทาชั่วได้ชั่ว การ ทาความดีไว้ในชาตินี้จะส่งผลบุญให้มีความสุขในบั้นปลายชีวิตและ ในชาติหน้า จากความเชื่อดังกล่าวคนไทยจึงประพฤติปฏิบัติตนตามคาสั่งสอนของพระสัมมา สัมพุทธเจ้า รู้จักทาบุญทาทานเพื่อสร้างสม “บุญ” และคนไทยในสังคมชนบท พระพุทธศาสนา จะเป็นตัวกาหนดกฏเกณฑ์ทางสังคมได้มากกว่าคนไทยในสังคม เมือง
  • 18. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  คนไทยจะได้รับการสั่งสอนให้รู้จักบุญคุณคน ต้องเคารพและตอบแทนผู้มีพระคุณ เช่น พ่อ แม่ ครู อาจารย์ พี่ ป้า น้า อา และผู้ที่เคยให้ความอุปถัมภ์ เข้าทานอง สุภาษิตที่ว่า “ต้องรู้จักข้าวแดงแกงร้อน” หรือ “อยู่บ้านท่านอย่านิ่งดูดาย ปั้นวัว ปั้น ควายให้ลูกท่านเล่น” หรือการแสดงความกตัญญู โดยการรดน้าอวยพรผู้ที่ตนเคารพ นับถือ ในวันขึ้นปีใหม่ของไทย วันสงกรานต์
  • 19. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ความคิด ความเข้าใจและการยอมรับนับถือ เชื่อมั่นในสิ่งใดโดยไม่ต้องมีเหตุผลใดมา สนับสนุนหรือพิสูจน์ ทั้งนี้บางอย่างอาจมีหลักฐานอย่างเพียงพอ ที่จะพิสูจน์ได้ หรือ อาจจะไม่มีหลักฐานที่จะนามาใช้พิสูจน์ให้เห็นจริงเกี่ยวกับสิ่งนั้นก็ได้ คนไทย ในอดีต มีค่านิยมความเชื่อหลายด้าน เช่น ความเชื่อทางไสยศาสตร์ ความเชื่อทาง พระพุทธศาสนา ความเชื่อเกี่ยวกับโชคลางและฤกษ์ยาม ความเชื่อเกี่ยวกับความฝัน และคาทานาย ความเชื่อเกี่ยวกับพิธีกรรมต่าง ๆ ความเชื่อเกี่ยวกับสิ่งที่ควรทาและไม่ ควรทา
  • 20. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยมของสังคมไทยที่เกิดจากการได้รับอิทธิพลของนานาชาติ และนามาพัฒนา ค่านิยมของคนไทยให้เปลี่ยนแปลงไป ไม่เหมือนกับค่านิยมในสังคมไทย
  • 21. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เดิมค่านิยมในชนบทนิยมพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน ปัจจุบันสังคมไทยในเมืองนิยม ว่าจ้างแรงงานในการทากิจกรรมต่าง ๆ เช่น จ้างแม่ครัวมาทาอาหารเวลาจัดงาน จ้าง ช่างดอกไม้มาจัดดอกไม้แทนการช่วยเหลือกัน จัดจ้างแม่บ้านดูแลกิจการงานภายใน บ้าน และค่านิยมดังกล่าวได้แผ่ขยายเข้าไปในชนบทไทยด้วย ดังจะเห็นว่าปัจจุบัน การทางานไถนา หว่านข้าวและเกี่ยวข้าว ไม่มีการลงแขก แต่ใช้วิธีว่าจ้างแรงงาน ทั้งสิ้น นอกจากนั้นในสังคมไทยปัจจุบันหันมานิยมยกย่องคนที่มีฐานะดี มีเศรษฐกิจ ดี ดังนั้นคนมีเงินจึงเป็นมาตราฐานชี้วัดฐานะของคนไทยในสังคมไทยด้วย
  • 22. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยมของสังคมไทยในการสร้างบ้านเรือน เดิมคนไทยนิยมบ้านทรงไทยตามความ นิยมของคนไทยในแต่ละภาค ปัจจุบันคนไทยหันกลับไปนิยมสร้างบ้านแบบยุโรป การสร้างสถานที่หน่วยงานของไทยแบบยุโรป อาคาร ร้านค้า ย่านธุรกิจแบบยุโรป ซึ่ง มีลักษณะเป็นแท่งเป็นกล่องขนาดสูงใหญ่ แม้มีการรณรงค์ให้อนุรักษ์วัฒนธรรม สร้างอาคารแบบทรงไทย เช่น การสร้างอาคารแบบล้านนาที่จังหวัดเชียงใหม่ต้องมี สัญลักษณ์ “กาแล” ติดบนหลังคา เราจะเห็นว่าอาคารที่สร้างบริเวณจังหวัด เชียงใหม่จะมีลักษณะอาคาร ตามแบบยุโรปแต่ติด “กาแล” หลักฐานนี้ทาให้ วัฒนธรรมการสร้างอาคารแบบทรงไทยล้านนา เสียไป ปัญหาต่อไปคือค่านิยมเรื่อง การทาความเคารพของคนไทย ปัจจุบันนิยมจับมือหรือ โค้งคานับแบบฝรั่ง ทาให้ วัฒนธรรมแบบไทย ๆ เช่น ไหว้หายไปจากสังคมไทย เป็นต้น
  • 23. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยมของคนไทยในเรื่องการยกย่องผู้มีตาแหน่ง เช่น ผู้แทนราษฎรเมื่อได้รับ ตาแหน่งนายกรัฐมนตรี หรือรัฐมนตรี ฐานะจะเปลี่ยนไป พร้อมกับ การเปลี่ยนแปลง ฐานะของภริยาและลูก ๆ ก็เปลี่ยนด้วย เช่น ได้รับการยกย่องสรรเสริญ การให้ความ เคารพ ให้ความเกรงใจและให้เกียรติเป็นประธานในงานพิธีเป็นต้น
  • 24. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยมของคนไทยในปัจจุบัน ทุกคนมีค่าใช้จ่ายในการครองชีพมากทาให้พ่อแม่ไม่มี เวลาอบรมสั่งสอนลูก ทาให้บุตรธิดาซึ่งเป็นเยาวชนของชาติขาด การอบรมเป็นผู้ไม่มี ระเบียบวินัย ทุกคนไปไหนมาไหนด้วยความรีบจนบางครั้งต้องขับรถแซงซ้าย แซง ขวา หรือไม่ขับรถตามกฎจราจรทาให้การจราจรติดขัด นอกจากนี้เราจะเห็นว่าคน ไทย ขาดระเบียบวินัยในการเดินเข้าไปทาพิธีรดน้าศพ การทาพิธีบรรจุศพทุกคนไม่ นิยมเข้าแถว แต่นิยมเบียดเสียดกันเข้าไปทาพิธี “เหมือนควายแย่งกันออกจากคอก” ทาให้ไม่เหมาะกับบรรยากาศงานพิธี
  • 25. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ค่านิยมของคนไทยในปัจจุบันทุกคนแก่งแย่งกันหาเงินคนไทยส่วนใหญ่ หาเงินโดย การทาลายทรัพยากรธรรมชาติของประเทศฃาติ เช่น พ่อค้าทาการตัดไม้จนหมดป่า ทาให้พ่อค้าร่ารวย แต่ประชากรไทยส่วนใหญ่ของประเทศต้องประสบปัญหาฝนไม่ ตกตามฤดูกาล อากาศร้อนจัด และเกิดความแห้งแล้งทั่วไป หรือกรณีโรงงาน อุตสาหกรรมขนาดใหญ่และขนาดเล็กปล่อยของเสียลงแม่น้าคูคลอง จึงทาให้น้าเสีย ปลาในลาคลองตายหรือเป็นพิษ ซึ่งเป็นเหตุ ทาให้เกิดความเสียหายต่อส่วนร่วม (ผศ.ดร.ฐิรชญา มณีเนตร , 2553, หน้า 104-109)
  • 26. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  วิถีชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยที่อยู่ร่วมกันได้ด้วยการสื่อความหมายใช้ชีวิต ประกอบกิจกรรมและสร้างสรรค์สิ่งต่าง ๆ ด้วยลักษณะไทย ๆ เป็นผลรวมของการสั่ง สมประสบการณ์ ความรู้ ความสามารถ ภูมิปัญญา ภูมิธรรม และภูมิปัญญาของ บรรพบุรุษไทย ซึ่งถ่ายทอดสืบต่อกันมา ช่วยให้ชาวไทยในแต่ละสังคมนั้น ๆ อยู่รอดมี ความเจริญสืบมาและมีความเป็นอยู่เช่นปัจจุบัน วัฒนธรรมเป็นเครื่องผดุงศีลธรรม เป็นปัจจัยแห่งความเจริญงอกงามและ ความแข็งแรงมั่นคงของชาติ วัฒนธรรมคือ ชาติเพราะแสดงออกให้ปรากฏทั่วไปว่าเป็นชาติ วัฒนธรรมไทยเป็นคารวมของ สัญลักษณ์แห่งชาติไทย ภาษาไทยก็เป็นสัญลักษณ์อย่างหนึ่ง ของชาติไทยเช่นกัน สมมติว่ามีคนนั่งรวมกันอยู่หลายชาติหลายภาษาด้วยกัน ถ้าคนเหล่านั้นพูดออกมา ด้วยภาษาของตนเองเราก็จะรู้ทันทีว่าคนนั้นเป็นคนชาติอะไร ถ้าพูดภาษาไทยคนนั้น ย่อมเป็นคนไทยแน่นอน
  • 27. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  วัฒนธรรม หมายถึง วิถีการดาเนินชีวิต ที่มนุษย์สร้างขึ้นมานั่นเอง ไม่ว่าจะเป็น การละเล่น การแสดง การร้องเพลง พฤติกรรม และบรรดาผลงานทั้งมวลที่มนุษย์ ได้ สร้างสรรค์ขึ้น ไม่ว่าจะเป็นงานด้านจิตรกรรม สถาปัตยกรรม ตลอดจนความคิด ความเชื่อ ความรู้ ลักษณะที่แสดงความเจริญงอกงาม ความเป็นระเบียบความรู้สึก ความประพฤติและกิริยาอาการ หรือการกระทาใด ๆ ของมนุษย์ในส่วนรวม ลงรูป เป็นพิมพ์เดียวกันและแสดงออกมาให้ปรากฏเป็นภาษา ศิลปะ ความเชื่อถือ ระเบียบ ประเพณี ความกลมเกลียว ความก้าวหน้าของชาติและศีลธรรมอันดีงามของ ประชาชน ซึ่งวัฒนธรรมของคนแต่ละภาคในประเทศไทยก็มีความเหมือนและ แตกต่างกันบ้างตามแต่ละพื้นที่ของประเทศไทย รวมทั้งการสืบทอดหรืออาจมีการ ดัดแปลงบ้างเพื่อให้มีความเป็นสมัยนิยมมากขึ้น รวมทั้งสามารถประพฤติปฏิบัติกัน ได้อย่างทั่วถึงด้วยนั้นเอง (โอเคเนชั่น, 2554)
  • 28. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ตั้งแต่ในอดีตมานั้นคนไทยมีเอกลักษณ์ด้านการแต่งกายที่ใช้ผ้าไทยซึ่งทาจาก ผ้า ไหม ผ้าทอมือต่าง ๆ นามาทาเป็นผ้าสไบสาหรับผู้หญิงไทย ส่วนผู้ชายก็มีการแต่ง กายที่นิยมสาหรับชาวบ้านก็คงหนีไม่พ้นผ้าขาวม้าซึ่ง นิยมใช้มาตั้งแต่สมัยโบราณ จนถึงปัจจุบันก็ยังมีอยู่ (โอเคเนชั่น, 2554)
  • 29. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ด้วยประเทศไทยมีภาษาเป็นของตนเองมาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันเนื่องจากประเทศ ไทยไม่เคยตกเป็นเมืองขึ้นของประเทศใดในโลก ทาให้เรามีภาษาไทยใช้มาจนถึง ปัจจุบัน และในประเทศไทยก็มีภาษาทางการ คือภาษากลาง ซึ่งคนในประเทศไม่ว่า จะอยู่ในภาคไหนก็สามารถสื่อสารกันได้ด้วยภาษากลางนั้น เอง เพราะในประเทศ ไทยเรามีถึง 4 ภาคหลักและในแต่ละภาคก็ใช้ภาษาที่แตกต่างกันไปบ้างดังนั้น เพื่อให้คนไทย สามารถสื่อสารตรงกันได้เราจึงมีภาษากลางเกิดขึ้นนั่นเอง (โอเคเนชั่น , 2554)
  • 30. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  วัฒนธรรมที่มีความสาคัญกับคนไทยไม่น้อยไปกว่าวัฒนธรรมด้านการแต่งกายและ วัฒนธรรมด้านภาษาคือวัฒนธรรมด้านอาหาร ซึ่งวัฒนธรรมด้านอาหารของคนไทย นั้นก็มีมาตั้งแต่สมัยอดีตจนมาถึงปัจจุบัน ซึ่งแต่ละพื้นที่จะมีลักษณะอาหารการกินที่ แตกต่างกันออกไป แต่โดยรวมแล้วเราจะเรียกว่าวัฒนธรรมอาหารไทย ซึ่งอาหารไทย นั้นมีมากมายที่ขึ้นชื่อของไทย และโด่งดังไปทั่วโลก ไม่ว่าจะเป็น ต้มยากุ้ง ผัดไทย เป็นต้น อาหารถือเป็นวัฒนธรรมอีกอย่างหนึ่งของไทย ที่คนไทยควรให้ความสาคัญ และถือว่าอาหารไทยก็ไม่แพ้อาหารของชนชาติใด(โอเคเนชั่น, 2554)
  • 31. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  สิ่งที่คนในสังคมสร้างขึ้น เป็นที่ยอมรับและถ่ายทอดปฏิบัติสือต่อกันมาเป็นเวลานาน หรือขนบธรรมเนียมประเพณีเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมไทย ซึ่งได้ประพฤติปฏิบัติ สืบต่อกันมาและเป็นที่ยอมรับของส่วนรวม ประเพณีเหล่านี้มีลักษณะของการปฏิบัติ ที่แตกต่างกันออกไป บางอย่างห้ามประพฤติใครฝ่าฝืนถือว่าผิดร้ายแรงต้องถูกสังคม ลงโทษ แต่บางอย่าง ใครจะประพฤติก็ได้หากไม่ประพฤติก็ไม่ถือว่าผิด บางอย่างก็ เสื่อมไปหรือเลิกราไป เมื่อมวลชนเห็นว่าไม่มีประโยชน์ หรือบางอย่างก็รับเอามาจาก กลุ่มอื่นแล้วนามาประยุกต์ให้เหมาะสมแก่กลุ่มของตน
  • 33. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  ประเพณีที่เกี่ยวข้องเฉพาะบุคคลภายในครอบครัวเป็นต้นว่า ประเพณีเกี่ยวกับการ เกิด ประเพณีการแต่งงาน ประเพณีขึ้นบ้านใหม่ ประเพณีทาบุญบ้าน ประเพณีจัดตั้ง ศาลพระภูมิ ประเพณีการบวช ประเพณีการทาขวัญ ประเพณีการทาบุญอายุ และ ประเพณีเกี่ยวกับการตาย
  • 34. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  มักจะเป็นประเพณีการทาบุญ และการสนุกสนานรื่นเริงของกลุ่มชนนั้น ซึ่งถือปฏิบัติ สืบต่อกันมาได้แก่ ประเพณีทาบุญ ตักบาตร ทาบุญปีใหม่ ทาบุญสงกรานต์ ประเพณีบวชนาค ถวายผ้าอาบน้าฝน ทาบุญทอดผ้าป่า ทาบุญเทศน์มหาชาติ ทาบุญวันเฉลิมพระชนมพรรษา และทาบุญวันเกิด รวมทั้งประเพณีส่วนรัฐบาลอัน เป็นประเพณีที่ทางราชการได้จัดขึ้นซึ่งเกี่ยวเนื่องด้วยพระราชพิธีหรือรัฐพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีบรมราชาภิเษก พระราชพิธีถือน้าพิพัฒน์สัตยา พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีพืชมงคลและจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พระราชพิธีตรียัมปวาย พระราช พิธีโล้ชิงช้าและพิธีวางศิลาฤกษ์เป็นต้น
  • 35. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ  เรื่องของสังคมและวัฒนธรรมเป็นสิ่งที่แยกจากกันไม่ได้เปรียบเสมือนเหรียญเงินที่มี ด้านหน้าและด้านหลัง สังคม หมายถึง กลุ่มคนที่อยู่รวมกันในบริเวณใดบริเวณหนึ่ง มาช้านาน จนมีความรู้สึกว่าเป็นพวกเดียวกันและมีภาษา ขนบธรรมเนียมประเพณี และวิถีทางในการดารงชีวิตร่วมกันเป็นแบบอย่างเดียวกันวัฒนธรรมนั้นหมายถึง บรรดาขนบธรรมเนียมประเพณี ภาษา และทุกสิ่งทุกอย่างที่คนในสังคมนั้นสร้าง ขึ้นมาเพื่อดารงชีวิตอยู่ร่วมกัน เพราะฉะนั้นถ้าไม่มีสังคมก็ไม่มีวัฒนธรรม ทั้งสอง อย่างจึงเป็นของคู่กันอย่างแยกไม่ออก
  • 36. ดร.ธีทัต ตรีศิริโชติ 1. ลักษณะสังคมไทยหมายถึงอะไร 2. สิ่งใดเป็นตัวกาหนดลักษณะสังคมไทย 3. ในความคิดของท่านหากไม่ปฏิบัติตามเรื่องอะไรจึงจะถือว่าผิดในสังคมไทย 4. ”ทาดีได้ดี ทาชั่วได้ชั่ว” จัดเป็นสังคมไทยแบบใด 5. ลักษณะนิสัยของคนไทย หมายถึงอะไร 6. อะไรถือว่าเป็นลักษณะนิสัยของคนไทย 7. ค่านิยมของสังคมไทยในอดีต และค่านิยมของสังคมไทยในปัจจุบัน มีอะไรบ้าง 8. ลักษณะครอบครัวของท่านยังยึดถือค่านิยมแบบใด 9. จงยกตัวอย่างวัฒนธรรมไทยด้านต่าง ๆ ของไทย 10. จงยกตัวอย่าง ประเพณีส่วนบุคคลภายในและประเพณีส่วนรวม มาอย่างละตัวอย่าง พร้อมอธิบาย