Successfully reported this slideshow.
Your SlideShare is downloading. ×

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001

Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
Ad
หนังสือเรียนรายวิช​าเศรษฐกิจพอเพียง​
​(ทช 31001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต
หลักสูตร​การ​ศึกษานอกระบบ...
หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต
รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 31001)
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ISBN		 : 	 978-974-232-393...
คำ�นำ�
	 สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ได​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​
ชุด​ใหม​นี้...
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement
Advertisement

Check these out next

1 of 52 Ad

More Related Content

Slideshows for you (20)

Viewers also liked (9)

Advertisement

Similar to เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001 (20)

Recently uploaded (20)

Advertisement

เศรษฐกิจพอเพียง ม.ปลาย ทช31001

  1. 1. หนังสือเรียนรายวิช​าเศรษฐกิจพอเพียง​ ​(ทช 31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต หลักสูตร​การ​ศึกษานอกระบบระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 สำ�นัก​งาน​สงเสริม​การ​ศึกษานอกระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตามอัธยาศัย​ สำ�นัก​งาน​ปลัด​กระทรวง​ศึกษาธิการ กระทรวง​ศึกษาธิการ​
  2. 2. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชา เศรษฐกิจพอเพียง (ทช 31001) ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ISBN : 978-974-232-393-6 พิมพครั้ง​ที่ : 1 / 2553 จำ�นวน​พิมพ : 5,000 ​เลม เอกสาร​ทาง​วิชาการ​หมายเลข 64/2552
  3. 3. คำ�นำ� สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ได​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​ ชุด​ใหม​นี้​ขึ้น เพื่อ​สำ�หรับ​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ที่​มี​วัตถุ​ประสงค​ใน​การ​พัฒนา​ผูเรียน​ให​มี​คุณธรรม จริยธรรม มี​สติปญญา​และ​ศักยภาพ​ใน​การ​ ประกอบ​อาชีพการ​ศึกษาตอ​และ​สามารถ​ดำ�รงชีวิต​อยู​ใน​ครอบครัว ชุมชน สังคม​ได​อยาง​มี​ความ​สุข โดย​ผูเรียน​ สามารถ​นำ�​หนังสือเรียน​ไป​ใช​ใน​การ​เรียน​การ​สอน​ดวย​วิธีการ​ศึกษา​คนควา​ดวย​ตน​เอง ปฏิบัติ​กิจกรรม รวมทั้ง​ แบบฝกหัด​เพื่อ​ทดสอบ​ความ​รูความ​เขาใจ​ใน​สาระ​เนื้อหา โดย​เมื่อ​ศึกษา​แลว​ยัง​ไมเขาใจ สามารถ​กลับ​ไป​ศึกษา​ ใหม​ได ผูเรียน​อาจจะ​สามารถ​เพิ่มพูน​ความรู​หลังจาก​ศึกษา​หนังสือเรียน​นี้ โดย​นำ�​ความรู​ไป​แลกเปลี่ยน​กับ​เพื่อน​ ใน​ชั้นเรียน ศึกษา​จาก​ภูมิปญญา​ทองถิ่น จาก​แหลง​เรียนรู​และ​จาก​สื่อ​อื่นๆ ใน​การ​ดำ�เนินการ​จัดทำ�​หนังสือเรียน​ตาม​หลักสูตร​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ ระดับ​การ​ศึกษา​ขั้น​พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ไดรับ​ความ​รวมมือ​ที่​ดี​จาก​ผูทรงคุ​วุฒิ​และ​ผู​เกี่ยวของ​หลาย​ทาน​ซึ่ง​ชวยกัน​คนควา​และ​เรียบเรียง​ เนื้อหา​สา​ระ​จาก​สื่อ​ตาง ๆ เพื่อให​ได​สื่อ​ที่​สอดคลองกับ​หลักสูตร​และ​เปน​ประโยชน​ตอ​ผูเรียน​ที่อยู​นอก​ระบบ​ อยาง​แทจริง สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​ขอบคุณ​คณะ​ที่ปรึกษา​ คณะ​ผู​เรียบเรียง ตลอดจน​คณะ​ผูจัดทำ�​ทุกทาน​ที่​ได​ให​ความ​รวมมือ​ดวยดี ไว ณ โอกาสนี้ สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย หวัง​วา​หนังสือเรียน​ชุด​นี้​จะ​เปน​ ประโยชน​ใน​การ​จัดการ​เรียน​การ​สอน​ตามสมควร หาก​มี​ขอ​เสนอแนะ​ประการใด สำ�นักงาน​สงเสริม​การ​ศึกษา​ นอก​ระบบ​และ​การ​ศึกษา​ตาม​อัธยาศัย ขอ​นอม​รับ​ไว​ดวย​ความ​ขอบคุณ​ยิ่ง (นาย​อภิ​ชาติ จี​ระ​วุฒิ) เลขาธิการ กศน.​
  4. 4. หนา คำ�นำ� คำ�แนะนำ�​ในการ​ใช​หนังสือเรียน โครงสราง​รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง 1 บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง 7 บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน 19 บท​ที่ 4 สถานการณ​ของ​ประเทศ​ไทย​และ​สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง 25 ภาค​ผนวก 35 บรรณานุกรม 36 สารบัญ
  5. 5. หนังสือ​เรียน​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ทช 31001 ระดับ​มัธยมศึกษา​ตอนปลาย เปน​หนังสือ​เรียน​ที่​จัด​ทำ�ขึ้น สำ�หรับ​ผูเรียน​ที่​เปน​นักศึกษา​นอก​ระบบ ใน​การ​ศึกษา​หนังสือ​เรียน​สาระ ผูเรียน​ควร​ปฏิบัติ​ดังนี้ 1. ศึกษา​โครงสราง​รายวิ​ขา​ให​เขา​ใน​ใน​หัวขอ​และ​สาระ​ทักษะ​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต รายวิชา​เศรษฐกิจ​พอเพียง สำ�คัญ ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง และ​ขอบขาย​เนื้อหา​ของ​รายวิชา​นั้น ๆ โดย​ละเอียด 2. ศึกษา​รายละเอียด​เนื้อหา​ของ​แตละ​บท​อยาง​ละเอียด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด และ​ทำ�​กิจกรรม​ตาม กำ�หนด แลว​ตรวจสอบ​กับ​แนว​ตอบ​กิจกรรม​ตามที่​กำ�หนด ถา​ผูเรียน​ตอบ​ผิด​ควร​กลับ​ไป​ศึกษา​และ​ทำ�ความ​เขาใจ​ ใน​เนื้อหา​นั้น​ใหม​ให​เขาใจ กอน​ที่จะ​ศึกษา​เรื่อง​ตอ ๆ ไป 3. ปฏิบัติ​กิจกรรม​ทาย​เรื่อง​ของ​แตละ​เรื่อง เพื่อ​เปนการ​สรุป​ความรู ความ​เขาใจ​ของ​เนื้อหา​ใน​เรื่อง​นั้น ๆ อีกครั้ง และ​การ​ปฏิบัติ​กิจกรรม​ของ​แตละ​เนื้อหา แตละ​เรื่อง ผูเรียน​สามารถ​นำ�ไป​ตรวจสอบ​กับ​ครู​และ​เพื่อน ๆ ที่​ รวม​เรียน​ใน​รายวิชา​และ​ระดับ​เดียวกัน​ได หนังสือ​เรียน​เลม​นี้​มี 4 บท บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน บท​ที่ 4 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง บท​ที่ 5 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย ​ คำ�​แนะนำ�​ใน​การ​ใช​หนังสือเรียน
  6. 6. สาระสำ�คัญ เศรษฐกิจ​พอเพียง เปน​ปรัชญา​ที่​พระบาท​สมเด็จ​พระเจาอยูหัว ทรง​พระ​ราช​ดำ�รัส​ชี้​แนะแนว ทาง​การ​ดำ�รงอยู​และ​การ​ปฏิบัติตน​ของ​ประชาชน​ใน​ทุก​ระดับ​ให​ดำ�เนิน​ชีวิต​ไป​ในทาง​สายกลาง โดย เฉพาะ​การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​เพื่อให​กาว​ทัน​ตอ​โลก​ยุค​โลกาภิวัตนความ​พอเพียงหมายถึงความ​พอประมาณ ความ​มี​เหตุผล รวมถึง​ความ​จำ�เปน​ที่จะ​ตอง​มี​ระบบ​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี​พอสมควร​ตอ​ผล​กระทบ​ใด ๆ อัน​ เกิด​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ทั้งนี้​จะ​ตอง​อาศัย​ความ​รอบรู ความ​รอบคอบ​และ​ความ​ ระมัดระวัง​อยางยิ่ง​ใน​การนำ�​วิชาการ​ตาง ๆ มา​ใช​ใน​การ​วางแผน​และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน และ​ขณะ​ เดียวกัน​จะ​ตอง​เสริมสราง​พื้นฐาน​จิตใจ​ของ​คนใน​ชาติ​ให​มี​สำ�นึก​ใน​คุณธรรม ความ​ซื่อสัตย​สุจริต​และ​ให​ มี​ความ​รอบรู​ที่​เหมาะสม​ดำ�เนิน​ชีวิต​ดวย​ความ​อดทน ความ​เพียร มี​สติปญญา​และ​ความ​รอบคอบ เพื่อให​ สมดุล​และ​พรอม​ตอ​การ​รองรับ​การ​เปลี่ยนแปลง​อยาง​รวดเร็ว​และ​กวางขวาง ทั้ง​ดาน​วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม​ และ​วัฒนธรรม​จาก​โลก​ภายนอก​ได​เปน​อยาง​ดี ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง 1. อธิบาย​แนวคิด หลักการ ความ​หมาย ความ​สำ�คัญ​ของ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได 2. บอก​แนว​ทางใน​การนำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต 3. เห็น​คุณคา​และ​ปฏิบัติ​ตามหลัก​เศรษฐกิจ​พอเพียง 4. ปฏิบัติ​ตน​เปนแบบอยาง​ในการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​ตาม​หลักปรัชญา เศรษฐกิจ​พอเพียง​ใน​ชุมชน 5. แนะนำ� สงเสริม​ให​สมาชิก​ใน​ครอบครัว​เห็น​คุณคา​และ​นำ�ไป​ปฏิบัติ​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต 6. มี​สวนรวม​ในชุมชน​ในการ​ปฏิบัติ​ตน​ตาม​หลักปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ขอบขาย​เนื้อหา บท​ที่ 1 ความ​พอเพียง บท​ที่ 2 ชุมชน​พอเพียง บท​ที่ 3 การ​แกปญหา​ชุมชน บท​ที่ 4 สถานการณ​โลก​กับ​ความ​พอเพียง บท​ที่ 5 สถานการณ​ของ​ประเทศไทย โครงสรางรา​ยวิชา​เศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย ทช 31001
  7. 7. ความ​พอเพียง​ บท​ที่ 1 สาระสำ�คัญ เศรษฐกิจ​พอเพียง​เปน​ปรัชญา​ที่​ยึดหลัก​ทาง​สายกลางที่​ชี้​แนวทาง​ดำ�รงอยู​และ​ปฏิบัติ​ของ​ประชาชน​ ใน​ทุก​ระดับ ตั้งแต​ครอบครัว​ไป​จนถึง​ระดับ​รัฐ ทั้ง​ใน​การ​พัฒนา​และ​บริหาร​ประเทศ ให​ดำ�เนิน​ไป​ในทาง​สาย กลาง​มี​ความ​พอเพียง และ​มี​ความ​พรอมที่จะ​จัดการ​ตอ​ผล​กระทบ​จาก​การ​เปลี่ยนแปลง​ทั้ง​ภายนอก​และ​ภายใน ซึ่ง​จะ​ตอง​อาศัย​ความรู รอบคอบ และ​ระมัดระวัง ใน​การ​วางแผน และ​ดำ�เนินการ​ทุก​ขั้นตอน เศรษฐกิจ​พอ เพียง​ไมใช​เพื่อ​การ​ประหยัด แต​เปนการ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุล​และ​ยั่งยืน เพื่อให​สามารถ​อยู​ได​แม​ใน​โลก​ โลกา​ภิวัฒน​ที่​มี​การ​แขงขัน​สูง ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง นักศึกษา​มีความรู​ความ​เขาใจ และ​วิเคราะห​แนวคิด​หลักการ​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ได ขอบขาย​เนื้อหา เรื่องที่ 1 ความ​เปนมา ความ​หมาย หลัก​แนวคิด เรื่องที่ 2 ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง เรื่องที่ 3 การ​จัดการ​ความรู ​
  8. 8. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​2 ​เรื่อง​ที่ 1 ความ​เปนมา ​ความ​หมาย ​หลัก​แนวคิด ​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช​ได​พัฒนา​หลัก​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​เพื่อ​ที่​จะ​ให​ พสกนิ​กร​ชาวไทย​ได​เขา​ถึง​ทาง​สายกลาง​ของ​ชีวิต​และ​เพื่อ​คงไว​ซึ่ง​ทฤษฎี​ของ​การ​พัฒนา​ที่​ยั่งยืน ​ทฤษฎี​นี้​เปน​พื้นฐาน​ ของ​การ​ดำ�รงชีวิต​ซึ่ง​อยู​ระหวาง ​สังคม​ระดับ​ทองถิ่น​และ​ตลาด​ระดับ​สากล ​จุดเดน​ของ​แนว​ปรัชญา​นี้​คือ ​แนวทาง​ ที่​สมดุล ​โดย​ชาติ​สามารถ​ทันสมัย ​และ​กาว​สู​ความ​เปน​สากล​ได ​โดย​ปราศจาก​การ​ตอตาน​กระ​แส​โลกา​ภิวัฒน ​ ​ ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มี​ความ​สำ�คัญ​ใน​ชวง​ป ​พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​เมื่อ​ป​ที่​ประเทศ​ไทย​ตองการ​รักษา​ความ​มั่นคง​และ​ เสถียรภาพ​เพื่อ​ที่​จะ​ยืนหยัด​ใน​การ​พึ่งตนเอง​และ​พัฒนา​นโยบาย​ที่​สำ�คัญ​เพื่อ​การ​ฟนฟู​เศรษฐกิจ ​ของ​ประเทศ​โดย​ การ​สราง​แนวคิด​เศรษฐกิจ​ที่​พึ่งตนเอง​ได ​ซึ่ง​คน​ไทย​จะ​สามารถ​เลี้ยงชีพ​โดย​อยู​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอเพียง​ พระบาท​สมเด็จ​พระเจา​อยู​หัว​มี​พระ​ราช​ดำ�ริ​วา ​“​มัน​ไมได​มี​ความ​จำ�เปน​ที่​เรา​จะ​กลาย​เปน​ประเทศ​อุตสาหกรรม​ ใหม ​(​N​I​C​)​ ​“​ ​ ​พระองค​ได​ทรง​อธิบาย​วา ​ความ​พอเพียง​และ​การ​พึ่งตนเอง ​คือ ​ทาง​สายกลาง​ที่​จะ​ปอง​กัน​การ​เปลี่ยน​ แปลง​ความ​ไมมั่นคง​ของ​ประเทศ​ได ​ ​ เรื่อง​ที่ 2 ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​“​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​จำ�เปน​ตอง​ทำ�ตาม​ลำ�ดับขั้น ​ตอง​สราง​พื้นฐาน ​คือ ​ความ​พอมีพอกิน ​พอ​ใช​ของ​ ประชาชน​สวน​ใหญ​เปน​เบื้องตน​กอน ​โดย​ใช​วิธีการ​และ​ใช​อุปกรณ​ที่​ประหยัด ​แต​ถูกตอง​ตามหลัก​วิชา​เมื่อ​ได​พื้น ฐาน​มั่นคง​พรอม​พอควร​และ​ปฏิบัติ​ได​แลว​จึง​คอย​สราง​คอย​เสริม​ความ​เจริญ​และ​ฐานะ​เศรษฐกิจ​ขั้น​ที่​สูงขึ้น​โดย​ ลำ�ดับตอไป ​หาก​มุง​แต​จะ​ทุมเท​สราง​ความ​เจริญ ​ยก​เศรษฐกิจ​ขึ้น​ให​รวดเร็ว​แต​ประการ​เดียว ​โดย​ไม​ให​แผน​ปฏิบัติ​ การ​สัมพันธกับ​สภาวะ​ของ​ประเทศ​และ​ของ​ประชาชน​โดย​สอดคลอง​ดวย ​ก็​จะ​เกิด​ความ​ไม​สมดุล​ใน​เรื่อง​ตางๆ​ ​ ขึ้น ​ซึ่ง​อาจ​กลาย​เปนความ​ยุงยาก​ลมเหลว​ได​ใน​ที่สุด” พระ​บรม​ราโชวาท ​ใน​พิธี​พระราชทาน​ปริญญาบัตร​ของ ​มหาวิทยาลัย​เกษตรศาสตร ​ณ ​หอประชุม​มหาวิทยาลัย ​เกษตรศาสตร ​ วันพฤหัสบดี​ที่ ​1​8​ ​กรกฎาคม ​พ.​ศ.​ ​2​5​1​7​ ​ ​ ​“​ ​ ​คน​อื่น​จะ​วา​อยางไร​ก็ชาง​เขา​จะ​วา​เมืองไทย​ลาสมัย ​วา​เมืองไทย​เชย ​วา​เมืองไทย​ไมมี​สิ่ง​ใหม​แต​เรา​ อยู ​อยาง​พอมีพอกิน ​และ​ขอ​ให​ทุกคน​มี​ความ​ปรารถนา​ที่​จะ​ให​เมืองไทย​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ชวย​กัน​รักษา​ สวนรวม ​ให​อยู​ที​พอสมควร ​ขอ​ย้ำ�​พอควร ​พอ​อยู​พอ​กิน ​มี​ความ​สงบ​ไม​ให​คน​อื่น​มา​แยง​คุณสมบัติ​ไป​จาก​เรา​ได”​ ​พระ​ราช​กระ​แส​รับสั่ง​ใน​เรื่อง​เศรษฐกิจ​พอเพียง​แก​ผู​เขาเฝา​ถวายพระพร​ชัย​มงคล ​เนื่อง​ใน​วัน​เฉลิม​พระ​ชนมพรรษา​แต​พุทธศักราช ​ 2​5​1​7​ ​ ​“​ ​การ​จะ​เปน​เสือ​นั้น​มัน​ไม​สำ�คัญ ​สำ�คัญ​อยู​ที่​เรา​พอ​อยู​พอ​กิน ​และ​มี​เศรษฐกิจ​การ​เปน​อยู​แบบ​พอมีพอ กิน ​แบบ​พอมีพอกิน ​หมายความวา ​อุมชู​ตัวเอง​ได ​ให​มี​พอเพียง​กับ​ตัวเอง ”​ ​ พระ​ราชำ�​ดำ�รัส ​“​เศรษฐกิจ​แบบ​พอเพียง”​ ​พระบาท​สมเด็จพระปร​มินทร​มหา​ภูมิ​พล​อดุลย​เดช ​พระราชทาน​ เมื่อ​วัน​ที่ ​ 4​ ​ ธันวาคม พ.​ศ.​ ​2​5​4​0​ ​​​​​​​
  9. 9. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 3 ​ ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ทรง​ปรับปรุง​พระราชทาน​เปน​ที่มา​ของ​นิยาม ​“​3​ ​หวง ​2​ ​เงื่อนไข”​ ​ที่​ คณะ​อนุกรรมการ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�นักงาน​คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ ​ นำ�มา​ใช​ใน​การ​รณรงค​เผย​แพร ​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ผาน​ชองทาง​ตางๆ​ ​อยู​ใน​ปจจุบัน ​ซึ่ง​ประกอบดวย​ ความ ​“​ ​พอประมาณ ​ ​มี​เหตุผล ​ ​มี​ภูมิ​คุม​กัน ​”​ ​บน​เงื่อนไข ​“​ความรู ​และ ​คุณธรรม”​ ​ อภิชัย ​พัน​ธเสน ​ผู​อำ�นวยการ​สถาบัน​การ​จัดการ​เพื่อ​ชนบท​และ​สังคม ​ได​จัด​แนวคิด​เศรษฐกิจ​พอ​เพียง วา​เปน ​“​ขอเสนอ​ใน​การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ทาง​เศรษฐกิจ​ตาม​แนวทาง​ของ​พุทธธรรม​อยาง​แทจริง”​ ​ทั้งนี้​เนื่องจาก​ใน​ พระ​ราช​ดำ�รัส​หนึ่ง ​ได​ให​คำ�​อธิบาย​ถึง ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา ​“​คือ​ความ​พอประมาณ ​ซื่อตรง ​ไม​โลภมาก ​และ​ตอง​ ไม​เบียดเบียน​ผูอื่น”​ ​ ​ ระบบ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​มุงเนน​ให​บุคคล​สามารถ​ประกอบ​อาชีพ​ได​อยาง​ยั่งยืน ​และ​ใช​จายเงิน​ให​ได​มา​ อยาง​พอเพียง​และ​ประหยัด ​ตามกำ�ลัง​ของ​เงิน​ของ​บุคคล​นั้น ​โดย​ปราศจาก​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​และ​ถา​มี​เงิน​เหลือ ​ก็​ แบง​เก็บ​ออมไว​บางสวน ​ชวยเหลือ​ผูอื่น​บางสวน ​และ​อาจ​จะ​ใชจาย​มา​เพื่อ​ปจจัย​เสริม​อีก​บางสวน ​(​ปจจัย​เสริม​ใน​ ที่นี้​เชน ​ทองเ​ที่ยว ​ความ​บันเทิง ​เปนตน)​ ​สาเหตุ​ที่​แนวทาง​การ​ดำ�รงชีวิต​อยาง​พอเพียง ​ได​ถูก​กลาว​ถึง​อยาง​กวาง ขวาง​ใน​ขณะนี้​เพราะ​สภาพ​การ​ดำ�รงชีวิต​ของ​สังคม​ทุนนิยม​ใน​ปจจุบัน​ได​ถูก​ปลูกฝง ​สราง ​หรือ​กระตุน ​ให​เกิด​ การ​ใชจาย​อยาง​เกินตัว​ใน​เรื่อง​ที่​ไม​เกี่ยวของ​หรือ​เกิน​กวา​ปจจัย​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​เชน ​การ​บริโภค​เกินตัว ​ความ​ บันเทิง​หลากหลาย​รูป​แบบ​ความ​สวย​ความ​งาม ​การ​แตงตัว​ตาม​แฟชั่น ​การ​พนัน​หรือ​เสี่ยงโชค ​เปนตน ​จน​ทำ�​ให​ ไมมีเงิน​เพียงพอ​เพื่อ​ตอบสนอง​ความ​ตองการ​เหลา​นั้น ​สงผล​ให​เกิด​การ​กู​หนี้​ยืม​สิน ​เกิด​เปน​วัฏจักร​ที่​บุคคล​หนึ่ง​ ไม​สามารถ​หลุด​ออกมา​ได ​ถา​ไม​เปลี่ยน​แนวทาง​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​​ ​ ​ ​ ทางสายกลาง พอประมาณ มีภูมิคุมกันมีเหตุผล เงื่อนไข​ความรู (รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง) เงื่อนไข คุณธรรม (ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน แบง​เปน) ชีวิต เศรษฐกิจ สังคม สมดุล มั่นคง ยั่งยืน
  10. 10. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​4 ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​คือ​การ​ยึดหลัก ​5​ ​ประการ ​ที่​สำ�คัญ​ใน​การ​ดำ�เนินการ​ได​แก ​ 1​.​ ​ทาง​สายกลาง​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต ​ตั้ง​แต​ระดับ​ครอบครัว ​ชุมชน ​และ​ระดับ​รัฐ​รวม​ถึง​เศรษฐกิจ​ใน​ทุก​ระดับ 2​.​ มี​ความ​สมดุล ​มี​ความ​สมดุล​ระหวาง​คน ​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​เศรษฐกิจ ​มี​ความ​สมดุล​ใน​การ​ผลิต​ ที่​หลากหลาย ​ใช​ทรัพยากร​ที่​มี​อยู​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ 3​.​ ​มี​ความ​พอประมาณ ​ความ​พอเพียง​ใน​การ​ผลิต​และ​การ​บริโภค ​บน​พื้นฐาน​ของ​ความ​พอประมาณ​ อยาง​มี​เหตุผล ​ไม​ขัดสน ​ไม​ฟุมเฟอย ​ใน​การ​ใช​ทรัพยากร​ธรรมชาติ​และ​เทคโนโลยี​ที่​มี​ความ​พอเพียง ​ 4​.​ ​มี​ระบบ​ภูมิ​คุม​กัน ​มี​ภูมิ​คุม​กัน​ใน​การ​ดำ�รงชีวิต ​มี​สุขภาพ​ดี ​มี​ศักยภาพ ​มี​ทักษะ​ใน​การ​แกไข​ปญหา​ และ​มี​ความ​รอบรู​อยาง​เหมาะสม​พรอม​รับ​ผล​กระทบ​ของ​การ​เปลี่ยน​แปลง​ทั้ง​จาก​ภายนอก​และ ภาย​ในประเทศ ​ 5​.​ ​รูเทา​ทันโลก ​มีความรู ​มี​สติปญญา ​ความ​รอบคอบ ​มี​ความ​อดทน ​ มี​ความ​เพียร ​มี​จิต​สำ�นัก​ใน​คุณธรรม ​ และ​ความ​ซื่อสัตย ​ ​นาย​แพทย​ปราชญ ​ ​บุญย​วงศ​วิโรจน ​ ​ปลัด​กระทรวง​สาธารณสุข​บรรยาย​เรื่อง ​การ​ขับ​เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ระดับ​ ชุมชนใน​ลักษณะ​บูรณาการ ​ เรื่อง​ที่ 3 ​การ​จัดการ​ความรู ​ ​​​​​ ​แม​วาการ​อธิบาย ​ถึง​คุณลักษณะ​และ​เงื่อนไข​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​จะ​ใช​คำ�​วา​ความรู ​อันเปน​ที่​ ตกลง​และ​เขา​ใจ​กัน​ทั่วไป ​ ​แต​หาก​พิจารณา​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ที่​ได​ทรง​พระ​กรุณา​ปรับปรุง​แกไข ​ ​และ​ พระราชทาน​พระบรมราชานุญาต ​ ​ให​นำ�ไป​เผย​แพร​อยาง​ละเอียด​นั้น ​กลับ​พบ​คำ�​วา ​“​ความ​รอบรู” ​ซึ่ง​กิน​ความ​ มากกวา​คำ�​วา ​“​ ​ความรู ​“​ ​คือ​นอกจาก​จะ​อาศัย​ความรู​ใน​เชิง​ลึก​เกี่ยวกับ​งาน​ที่​จะ​ทำ�​แลว ​ ​ยัง​จำ�เปน​ตอง​มีความรู​ ใน​เชิง​กวาง ​ ​ ​ได​แก​ความ​รูความ​เขา​ใจ​ใน​ขอ​เท็จ​เกี่ยวกับ​สภาวะ​แวดลอม ​ ​และ​สถานการณ​ที่​เกี่ยวพัน​กับ​งาน​ที่​จะ​ ทำ�​ทั้งหมด ​ ​โดยเฉพาะ​ที่​พระองค​ทาน​ทรง​เนน ​คือ​ระบบ​ชีวิต​ของ​คน​ไทย​อัน​ได​แก​ความ​เปน​อยู ​ความ​ตองการ ​ วัฒนธรรม ​และ​ความ​รูสำ�นึก​คิด​โดย​เบ็ดเสร็จ ​ ​จึง​จะ​ทำ�งาน​ให​บรรลุ​เปาหมาย​ได ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ การนำ�​องคประกอบ​ดาน​ความรู​ไป​ใช​ใน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ไป​ประยุกต​ใช​ในทาง​ธุรกิจ ​ ​จึง​มิได ​จำ�กัด​อยู​เพียง​ความรู ​ ​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​เศรษฐกิจ ​ที่​คำ�นึง​ถึง​ความ​อยูรอด ​ ​กำ�ไร ​หรือ​การ​เจริญ​เติบโต​ของ​ กิจการ​แตเพียง​อยางเดียว ​ ​แต​รวม​ถึง​ความรู​ที่​เกี่ยวของ​กับ​มิติ​ทาง​สังคม ​สิ่ง​แวดลอม ​และ​วัฒนธรรม​ของ​คน​ใน​ ทองถิ่น​นั้นๆ​ ​สอดคลอง​ตามหลัก ​การ​ไมติด​ตำ�รา ​ ​เชน ​ไม​ควร​นำ�​เอา​ความรู​จาก​ภายนอก ​หรือ​จาก​ตางประเทศ ​ ​มา​ ใชกับ​ประเทศ​ไทย​โดย​ไม​พิจารณา​ถึง​ความ​แตกตาง ​ ​ในดาน​ตางๆ​อยาง​รอบคอบ​ระมัดระวัง ​ ​หรือ​ไม​ควร​ผูกมัด​ กับ​วิชาการ​ทฤษฎี ​และ​เทคโนโลยี​ที่​ไม​เหมาะสมกับ​สภาพ​ชีวิต ​ ​และ​ความ​เปน​อยู​ที่​แทจริง​ของ​คน​ไทย​และ​สังคม​ไทย ยิ่ง​ไป​กวา​นั้น ​ความรู ​ ​ที่​ปรากฏ​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​ ​ยัง​ประกอบ​ไป​ดวย ​ ​ความ​ระลึก​รู (​สติ)​กับ ​ความ​รูชัด ​(​ปญญา)​ ​ซึ่ง​ถือเปน​องคประกอบ​สำ�คัญ​ที่​วิชาการ​หรือ​ทฤษฎี ​ใน​ตะวันตก​ที่​เกี่ยวกับ​การ”​ จัดการ​ความรู ​ ​ยัง​ไม​ครอบคลุม​ถึง ​หรือยัง​ไมพัฒนา​กาวหนา​ไป​ถึงขั้น​ดังกลาว ​จึง​ไมมี​แนวคิด ​หรือ​เครื่องมือ​ทาง​ การ​บริหาร​จัดการ​ความรู​ใดๆ​ที่​มี​ความ​ละเอียด​ลึกซึ้ง​เทากับ​ที่​ปรากฏ​อยู​ใน​ปรัชญา​ของ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​อีก​แลว ​ ​ ​ ​ ​ ​ ​ พิพัฒน ​ ​ยอด​พฤติ​การ ​ ​ได​กลาว​ไว​ใน​บทความ ​เรื่อง​ที่​มัก​เขา​ใจ​ผิด​เกี่ยวกับ​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงวา
  11. 11. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 5 ​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มี​รากฐาน​มาจาก​แนวคิด​ใน​การ​สราง​ความ ​“​พอ​มี”​ ​(​คือ​การ​ผลิต)​ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​(​การ​บริโภค)​ ให​เกิดขึ้น​แก​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ ​เพราะ​ถา​ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ยัง​ยากไร​ขัดสน ​ยังมี​ ชีวิต​ความ​เปน​อยู​อยาง​แรน​แคน ​ ​การ​พัฒนา​ประเทศ​ก็​ยัง​ถือวา​ไม​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ ​ ​เศรษฐกิจ​พอเพียง ​สำ�หรับ​คน​ทุก​กลุม ​มิ​ใช​แค​เกษตรกร ​การ​สราง​ความ​ความ ​“​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​ใน​เศรษฐกิจ​พอ​เพียงนี้ ​ ​มุงไป​ที่​ประชาชน​ใน​ทุก​กลุม​สาขา​อาชีพ​ที่​ยังมี​ชีวิต​ แบบ ​“​ไม​พอ​กิน-​ไม​พอ​ใช”​ ​หรือยัง​ไม​พอเพียง ​ซึ่ง​มิได​จำ�กัด​อยู​เพียง​แค​คน​ชนบท ​หรือ​เกษตรกร ​เปน​แต​เพียงวา ​ ประชาชน​สวน​ใหญ​ของ​ประเทศ​ที่​ยัง​ยากจน​นั้น​มี​อาชีพ​เกษตรกร​มากกวา​สาขา​อาชีพ​อื่น ​ ​ทำ�​ให​ความ​สำ�คัญ​ลำ�ดับ​ แรก​จึง​มุง​เขาสู​ภาคเกษตร​หรือ​ชนบท​ที่​แรน​แคน ​จน​มี​รูปธรรม​ของ​การ​ประยุกต​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​ออกมา​ เปน​เกษตร​ทฤษฎี​ใหม ​อันเปน​ที่​ประจัก​ใน​ความ​สำ�เร็จ​ของ​การ​ยกระดับ​ชีวิต​ความ​เปน​อยู​ของ​เกษตรกร​ให ​“​พอ​มี”​ ​ “​พอ​กิน-​พอ​ใช”​ ​หรือ​สามารถ​พึ่งตนเอง​ได ​ใน​หลาย​พื้น​ที่​ทั่วประเทศ ​
  12. 12. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​6 กิจกรรมที่ 1 1.ให​นักศึกษา​แบงกลุมแลกเปลี่ยน​และ​วิเคราะห​ประเด็น​ภายใน​กลุม​แลว​เลือก​ผูแทน​กลุมออกมา​ นำ�เสนอ ตาม​ใบ​งาน​ตอไปนี้ 1. ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง หมายถึง​อะไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. 2. เศรษฐกิจ​พอเพียง ทาน​สามารถ​ปรับใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยางไร ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ............................................................................................................................................................. ​ ใบ​งาน​ที่ 1
  13. 13. ชุมชน​พอเพียง​ บท​ที่ 2 สาระสำ�คัญ ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ เปนกำ�ลัง​สำ�คัญ​ใน​การ​ขับ​ เคลื่อน​เศรษฐกิจ​พอเพียง นัก​วิชาการ​หลาย​ทาน​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​เรื่อง​การ​พัฒนา​ชุมชน เพื่อ​มุงสู​การ​เปน​ ชุมชน​ที่​พอเพียง รวมทั้ง​ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ และ​ตัวอยาง​ของ​ชุมชนพอเพียง​ ดาน​พลังงาน ผล​การ​เรียนรู​ที่คาดหวัง 1. นักศึกษา​สามารถ​อธิบาย และ​วิเคราะห​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน องคกร​ตามหลัก​ปรัชญา​ เศรษฐกิจ​พอเพียง 2. อธิบาย​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชนองคกรและ​ประยุกต​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​อยาง​สมดุลพรอม​รับ​ ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ของ​ชุมชน​ได ขอบขาย​เนื้อหา ​เรื่อง​ที่ 1 ความ​หมายโครงสราง​ของชุมชน ​เรื่อง​ที่ 2 กา​รพัฒนา​ชุมชน ​
  14. 14. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​8 เรื่องที่ 1 ความหมายโครงสรางของชุมชน ความ​หมาย​ของ​ชุมชน ชุมชน​ หมายถึง​ถิ่นฐาน​ที่อยู​ของ​กลุมคน ถิ่นฐาน​นี้​มี​พื้นที่​อางอิง​ได และ​ กลุมคน​นี้​มี​การ​อยูอาศัย​รวมกัน มี​การ​ทำ�​กิจกรรม เรียนรู ติดตอ สื่อสาร รวมมือ​และ​พึ่งพา​อาศัย​กัน มี​วัฒนธรรม​ และ​ภูมิปญญา​ประจำ�ถิ่น มี​จิตวิญญาณ และ​ความ​ผูกพัน​อยู​กับ​พื้นที่​แหงนั้น อยู​ภายใต​การ​ปกครอง​เดียวกัน โครงสราง​ของ​ชุมชน ประกอบดวย 3 สวน​คือ 1. กลุมคน หมายถึง การ​ที่​คน 2 คน​หรือ​มากกวา​นั้น​เขามา​ติดตอ​เกี่ยวของ​กัน และ​มี​ปฏิสัมพันธ​ตอกัน​ ทาง​สังคม​ใน​ชั่วเวลา​หนึ่ง​ดวย ความ​มุงหมาย​อยาง​ใด​อยาง​หนึ่ง​รวมกัน 2. สถาบัน​ทาง​สังคม เมื่อ​คน​มา​อยู​รวมกัน​เปนกลุม​แลว และ​มี​วิวัฒนาการ​ไป​ถึงขั้น​ตั้ง​องคกร​ทาง​สังคม​ แลว ก็​จะ​มี​การ​กำ�หนด​แบบแผน​ของ​การ​ปฏิบัติ​ตอกัน​ของ​สมาชิก​ใน​กลุม​เพื่อ​สามารถ​ดำ�เนินการ​ตาม​ภารกิจ 3. สถานภาพ​และ​บทบาท​สถานภาพ หมายถึง ตำ�แหนง​ทาง​สังคม​ของ​คนใน​กลุม​หรือ​สังคม​บทบาท หมายถึง พฤติกรรม​ที่​คนใน​สังคม​ตอง​ทำ�ตาม​สถานภาพ​ใน​กลุม​หรือ​สังคม ​เรื่อง​ที่ 2 การพัฒนา​ชุมชน ชุมชน​ที่​มี​ความ​สามารถ​ใน​การ​บริหาร​จัดการ​ชุมชน​อยาง​มี​ประสิทธิภาพ ตอง​มี​องคประกอบ​สำ�คัญ​ หลาย​ประการ​และ​สามารถ​พัฒนา​หรือ​ควบคุม​องคประกอบ​เหลานั้น​ได โดย​ผู​ศึกษา​ไว​ดังนี้ มี​นัก​วิชาการ​หลาย​ ทาน​ที่​ได​ศึกษา​และ​วิเคราะห​องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน​ไว​ตาม​แนวคิด​การ​พัฒนา​ชุมชน ดัง​ตอไปนี้ สนท​ยา พลตรี (2533 : 65 – 68) ได​กลาว​ถึง​การ​พัฒนา​ชุมชน​วา​มี​องคประกอบ 2 ประการ สรุป​ได​ดังนี้ 1. การ​เขา​มี​สวนรวม​ของ​ประชาชน​เอง เพื่อที่จะ​ปรับปรุง​ระดับ​ความ​เปนอยู​ให​ดีขึ้น โดย​จะ​ตอง​พึ่ง ตนเอง​ให​มาก​ที่สุด​เทาที่จะ​เปนได และ​ควร​เปนความ​ริเริ่ม​ของ​ชุมชน​เอง​ดวย 2. การ​จัดให​มี​การ​บริการ​ทาง​เทคนิค​และ​บริการ​อื่น ๆ ที่จะ​เรงเรา​ให​เกิด​ความคิด​ริเริ่ม การ​ชวย​ตน​เอง 3. ชวยเหลือ​กัน​และ​กัน อันเปน​ประโยชน​มาก​ที่สุด คณะกรรมการ​พัฒนาการ​เศรษฐกิจ​และ​สังคม​แหงชาติ (2539 : 1 – 2) ได​กลาว​ถึง​ลักษณะ​การ​พัฒนา​คน​ และ​สิ่งแวดลอม ซึ่ง​อาจ​ถือวา​เปน​องคการ​พัฒนา​ชุมชน​ดวย สรุป​ได​ดังนี้ 1. การ​พัฒนา​คน​ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้ ดาน​จิตใจ ดาน​รางกาย ดาน​สติปญญา ดาน​บุคลิกภาพ 2. การ​พัฒนา​สภาพแวดลอม​ให​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา ประกอบดวย 4 ดาน​ดังนี้ ดาน​เศรษฐกิจ ดาน​ครอบครัว​และ​ชุมชน ดาน​ทรัพยากร​และ​สิ่งแวดลอม ดาน​การ​บริหาร​จัดการ​และ​การเมือง
  15. 15. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 9 ​ สุพั​ตรา สุภาพ (2536 : 124 – 126) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​มี​อิทธิพล​ตอ​การ​เปลี่ยนแปลง​ทาง​สังคม ซึ่ง​เปน​ องค​ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​มี 7 ประการ​ดังนี้ 1. สิ่งแวดลอม​ทาง​ธรรมชาติ หาก​มี​ความ​สมบูรณ​จะ​สงผลให​ชุมชน​มี​การ​พัฒนา​ได​รวดเร็ว​และ​มั่นคง 2. การ​เปลี่ยน​แปล​ลง​ดาน​ประชากร การ​เพิ่ม​ประชากร​มี​คุณภาพ​สามารถ​สราง​ให​เกิด​การ​พัฒนา​ดาน​ เศรษฐกิจ สังคม และ​การเมือง​ทันสมัย​ขึ้น 3. การ​ได​อยู​โดดเดี่ยว​และ​ติดตอ​เกี่ยวของชุมชน​ใด​ที่​มี​การ​ติดตอกัน​ทำ�​ใหการ​พัฒนา​เปนไป​อยาง​รวดเร็ว 4. โครงสราง​ของ​สังคม​และ​วัฒนธรรมชุมชน​ที่​มี​การ​เคารพ​ผูอาวุโส​จะ​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​นอยคานิยม​ ตาง ๆ ชวย​ให​รูวา​ชุมชน​มี​การ​เปลี่ยนแปลง​เกิด​การ​พัฒนาขึ้น​มาก​นอย​เพียงไร 5. ทัศนคติ​และ​คานิยม การ​มี​คานิยม​ดาน​อาชีพ ดาน​บริโภค เปน​สวน​ของ​การ​ชัด​การ​พัฒนา​ใน​ชุมชน​ นั้น​ได 6. ความ​ตองการ​รับรู การ​ยอมรับ​สิ่ง​ประดิษฐ​ใหม ๆ จะ​เปน​เครื่องชี้​ทิศทาง​และ​อัตรา​การ​เปลี่ยนแปลง​ ของ​ชุมชน 7. พื้นฐาน​ทาง​วัฒนธรรม ถา​มี​ฐาน​ที่​ดี​สิ่ง​ใหม​ที่จะ​เกิดขึ้น​ยอม​ดี​ตาม​พื้นฐาน​เดิม​ดวย พลาย​พล คุม​ทรัพย (2533 : 44 – 47) ได​กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​สามารถ​ใช​ใน​การ​พัฒนา​ชุมชน ซึ่ง​เปน​องค​ ประกอบการ​พัฒนา​ชุมชน วา​ประกอบดวย 3 ปจจัย ดังนี้ 1. โครงสราง​ทาง​สังคม ครอบครัว​ที่​มี​ขนาดเล็ก​และ​มี​โครงสราง​ไมซับซอน​จะ​สงผลให​ชุมชน​นั้น​ พัฒนา​ได​ดีกวา​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​ทาง​ครอบครัว​ที่​ซับซอน 2. โครงสราง​ทาง​ชนชั้น ใน​ชุมชน​ที่​มี​โครงสราง​แบบ​เปด ที่​สามารถ​เปลี่ยนแปลง​ฐานะ​ทาง​สังคม​ได​ งาย ชุมชน​นั้น​จะ​เกิด​การ​พัฒนา 3. ความ​แตกตาง​ทาง​เผาพันธุ เชื้อชาติ และ​ศาสนา ความ​แตก​ตางหาก​เกิดขึ้น​ใน​ชุมชน​ใด​ยอม​เปน​ อุปสรรค​ตอ​การ​พัฒนา ตามลำ�ดับ​ความ​แตกตาง ​ ยุวัฒนวุฒิ​เมธี(2531:58–63)กลาว​ถึง​ปจจัย​ที่​เกื้อกูล​ใหการ​พัฒนา​ชนบท​บรรลุ​ความ​สำ�เร็จจำ�​เปนตอ​ การ​พัฒนา วาดวย​องคประกอบ และ​สวนประกอบ​ยอย​ของ​องคประกอบ ดังนี้ 1. นโยบาย​ระดับชาติ ฝายบริหาร​จะ​สามารถ​ดำ�เนินการ​แผน​พัฒนา​ได​ตอเนื่อง และ​มี​เวลา​พอที่จะ​เห็น​ ความ​ถูกตอง คุมคา มี​แนวทาง​ประสาน​ประโยชน​ระหวาง​รัฐ​และ​เอกชน และ​ความ​รวมมือ​ระหวาง​ประเทศ​จะ​ ตอง​เกื้อกูล​ตอ​การ​พัฒนา 2. องคการ​บริหาร​การ​พัฒนา​ชนบท ที่​มี​องคกร​กลาง​ทำ�หนาที่​ประสาน​นโยบาย​แผนงาน​และ​โครงการ​ อยาง​มี​ประสิทธิภาพ​และ​มี​อำ�นาจ​เด็ดขาด​ใน​การ​ลงทุน​ใน​หนวย​ปฏิบัติ​ตอง​ดำ�เนินการ​ตาม​นโยบาย แผนงาน และ​ โครงการ​ใน​แผน​ระดับชาติ และ​จัด​งบ​ประมาณการ​ติดตาม​ควบคุม​ที่​มี​ประสิทธิภาพ 3. วิทยา​การ​ที่​เหมาะสม​และ​การ​จัดการ​บริการ​ที่​สมบูรณ เลือก​พื้นที่​และ​กลุม​เปาหมาย​ที่​สอดคลองกับ​ ความ​เปนจริง และ​เลือก​วิทยา​การ​ที่​ประชาชน​จะ​ไดรับ​ให​เหมาะสม 4. การ​สนับสนุน​ระดับ​ทองถิ่น ความ​รับผิดชอบ​ของ​การ​สนับสนุน​งาน​ใน​ทอง​ถิ่นที่​มี​ประสิทธิภาพ​จะ​ เกิด​การ​พัฒนา​อยาง​แทจริง​ใน​ระยะยาว 5. การ​ควบคุม​ดูแล​และ​ติดตาม​ผล​การ​ปฏิบัติ​งาน ควร​เปนไปตาม​แผนงาน​และ​โครงการ​ทุก​ระดับ​และ​ ครอบคลุม​ทุก​พื้นที่ พรอมทั้ง​ให​สถาบัน​การ​ศึกษา​ทองถิ่น​ติดตาม​ประเมินผล ​
  16. 16. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​10 อัชญา เคารพา​พงศ(2541 : 82 – 83)กลาว​ถึง​ปจจัย​สวนประกอบ​ที่​มือทธิ​พล​ตอ​การ​พัฒนา สรุป​ได​ดังนี้ 1. ผูนำ� ไดแก ผูนำ�​ทองถิ่น ทั้ง​เปนทางการ​และ​ไม​เปนทางการ​ใน​หมูบาน และ​จาก​องคกร​ภาครัฐ มี​ สวน​ให​ชุมชน​พัฒนา​ในทาง​ที่​ดีขึ้น เปน​ประโยชน ชุมชน​มี​เจตคติ​ที่​ดี​ยอมรับ​สิ่ง​ใหม​และ​สราง​พลัง​ตอสู​เพื่อ​การ​ เปลี่ยนแปลง 2. สังคม – วัฒนธรรม การ​ไดรับ​วัฒนธรรม​จาก​สังคมเมือง​มา​ปฏิบัติ​ทำ�ให​ชุมชน​เกิด​การ​เปลี่ยนแปลง 3. สิ่งแวดลอม การ​ปรับปรุง​สภาพแวดลอม​ภูมิศาสตร​ชุมชน สงผลให​ที่ดิน​อุดมสมบูรณ​ราคา​สินคา เกษตร​ดี ความ​เปนอยู​สะดวกสบาย​กวา​เดิม 4. ประวัติ​ศาสตร เหตุการณ​สำ�คัญ​ในอดีต​มีผลตอ​การ​พัฒนา​ความ​สามัคคี รัก​พวกพอง ชวยเหลือ​ซึ่ง​ กัน​และ​กัน ปรียา พรหม​จันทร (2542 : 25) ได​สรุป​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ได​ดังนี้ 1. ดาน​เศรษฐกิจ ชุมชน​ที่​เศรษฐกิจ​ดี​การ​พัฒนา​ชุมชน​สามารถ​พัฒนา​ไดดี​ดวย 2. ดานสังคม วัฒนธรรม และ​สิ่งแวดลอม เปน​บริบท​ที่​ปรับ​เปลี่ยน​สภาพ​ชุมชน​ไป​ตาม​ปจจัย 3. ดาน​การเมือง หมาย​รวมถึง​การเมือง​ระดับชาติ​และ​ชุมชน​ระดับ​ทองถิ่น 4. ดาน​ประวัติ​ศาสตร โดย​อาศัย​ประสบการณ​และ​วิกฤต​ของ​ชุมชน​เปน​ฐาน​และ​บทเรียน​การ​พัฒนา ชุมนุม นอกจากนี้​ปรียา พรหม​จันทร ยัง​ได​จำ�แนก​ออก​เปน​องคประกอบ​ที่​เปน​ปจจัย​การ​พัฒนา​ชุมชน​ปจจัย​ โดย​ตรง เชน คน ทุน ทรัพยากร การ​จัดการ เปนตน และ​ปจจัย​โดย​ออม เชน ภาวะ​เศรษฐกิจ สังคม การเมือง การ​ ปกครอง เปนตน ไพบูลย ​วัฒนศิริ​ธรรม (2549) ได​กลาว​ถึง​การ​สราง​และ​พัฒนา​คน​รุนใหม​เพื่อ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น มี​ ปจจัย​สำ�คัญ 4 ประการ ซึ่ง​ถือเปน​องคปะก​อบ​การ​พัฒนา​ชุมชน ดังนี้ 1. สังคม​ดี สิ่งแวดลอม​ดี มี​โอกาส​ใน​อาชีพ และ​กิจกรรม​ที่​หลากหลาย รวมไปถึง​วิถี​ชีวิต ศิลป​ วัฒนธรรม ความ​อบอุน ความ​สุข ความ​เจริญ​กาว​หนาที่​พึง​คาดหวัง​ใน​อนาคต​ดวย 2. ระบบ​การ​ศึกษา​ของ​ชาติ มี​เปาหมาย​ใน​การ​ผลิต​คน​เพื่อ​การ​พัฒนา​ชุมชน​หรือ​ทองถิ่น ให​เปนที่​พึง ปรารถนา​ของ​ทองถิ่น​เพียงไร 3. รัฐธรรมนูญ​และ​นโยบาย​ของ​รัฐ ที่​เอื้อ​ตอ​การ​พัฒนา​ชุมชน​ทองถิ่น​ให​เปนที่​พึงปรารถนา​นาอยู บทบาท​ของ​ชุมชน มี​สิ่ง​สำ�คัญ 3 ประการ คือ ความ​รัก​และ​ความ​ดี การ​เรียนรู​ที่​มากกวา​ความรู และ​การ​จัดการ​กับ​ ปจจัย​ชุมชน​ตาง ๆ กิจกรรม​ที่​ชุมชน​ตอง​รับผิดชอบ​คือ - ตั้ง​คณะกรรมการ​บริหาร - ประเมิน​สภาพ​ของ​ชุมชน - เตรียม​แผนการ​ปฏิบัติ - หา​ทรัพยากร​ที่​จำ�เปน - ทำ�ให​แนใจ​วา​กิจกรรม​ของ​ชุมชน​ทั้งหมด จะ​ตอง​มี​การ​ติดตาม​และ​การ​บริหาร​ที่​มี ประสิทธิภาพ​ สูงสุด​สำ�หรับ​การ​ปฏิบัติ​งาน
  17. 17. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 11 แบบจำ�ลองชุมชนที่มีการบริหารจัดการที่ดี​ แผนชุมชนที่มีพลัง​
  18. 18. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​12 กระบวนการ​ชุมชน 1. วิเคราะห​ชุมชน 2. การ​เรียนรู​และ​การ​ตัดสินใจ​ของ​ชุมชน 3. การ​วางแผน​ชุมชน 4. การ​ดำ�เนิน​กิจกรรม​ชุมชน 5. การ​ประเมินผล​การ​ดำ�เนินงาน​ของ​ชุมชน องค​ประกอบการ​ขับ​เคลื่อน​ชุมชน 1. โครงสราง​พื้นฐาน​ทาง​สังคม​ของ​ชุมชน 2. ความคิด​พื้นฐาน​ของ​ประชาชน 3. บรรทัดฐาน​ของ​ชุมชน 4. วิถี​ประชาธิปไตย ตัวอยาง​ชุมชน​พอเพียง​ที่​ประสบ​ความ​สำ�เร็จ กุด​กะ​เสียน วันนี้​ที่​ยิ้ม​ได เวลา​ติดขัด​ก็​ไป​กู...เขา​มา​ทำ�​ทุน พอ​หาได ขาย​ได​ก็​เอาไป​ฝาก...เขา” เขา​ใน​ความ​หมาย ของ​คนใน​ ชุมชนกุด​กะ​เสียน คือ สถาบัน​การเงิ​น​ชุมชนกุด​กะ​เสียน​รวมใจ ทามกลาง​ภาวะ​เศรษฐกิจ​เงินเฟอ​พุง ดอกเบี้ย​เพิ่ม ทั้ง​เงินกู เงินฝาก (ติดลบ​เมื่อ​เทียบกับ​เงินเฟอ) ทุ กอยาง​อยู​ใน​ชวง​ขา​ขึ้น(ราคา) จะ​มี​ที่​ลดลง​คง​เปน​กำ�ลังใจ​ประชาชน​โดยเฉพาะ​คนเมือง ยิ้ม​ฝนๆ เผชิญ​ชะตา​ใน​ยุค​ ขาว(แก)ยาก น้ำ�มัน​แพง​กัน​ไป แตกตางจาก​คนใน​ชุมชน​บานกุด​กะ​เสียน ต.เขื่องใน อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี หมูบาน​รางวัล​ พระราชทาน “เศรษฐกิจ​พอเพียง อยู​เย็น​เปนสุข” สมเด็จพระ​เทพรั​ตน​ราช​สุดา สยาม​บรม​ราช​กุมารี ซึ่ง​มี​นายส​ มาน ทวี​ศรี กำ�นัน​ตำ�บล​เขื่องใน เปน​ผูนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​คนใน​ชุมชน
  19. 19. ​หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​ 13 จาก​หมูบาน​ที่​มี​อาชีพ​ทำ�​นาป​ละ 2 ครั้ง แต​เนื่องจาก​สภาพ​พื้นที่​เปน​ที่ลุม​มี​น้ำ�ทวม​ถึง ทำ�ให​มี​ปญหา​น้ำ� ทวม​นาจึง​ตองหา​ปลา​แลก​ขาวตอมา​ประกอบ​อาชีพ​คาขาย​สียอมผา ทำ�ให​มี​ปญหา​หนี้สิน​เพราะ​ตอง​ไป​กู​นายทุน​ ดอกเบี้ย​สูง แต​สภาพ​ใน​ปจจุบัน​ของกุด​กะ​เสียน ผูคน​ยิ้มแยม​แจม​ใจ เนื่องจาก​เศรษฐกิจ​ของ​หมูบาน​ดีขึ้น​มาก สืบ​ เนื่องจาก​การ​ริเริ่ม​ของ​ผูนำ�​ชุมชน​ที่​เห็น​ปญหา​ของ​หมูบาน จึง​ได​สงเสริม​ให​มี​การ​ตั้ง​กลุม​ออมทรัพย​จนกระทั่ง​ พัฒนา​มา​เปน​ธนาคารกุด​กะ​เสียน​รวมใจ โดย​การ​ปลอย​สินเชื่อ​ใน​อัตรา​ดอกเบี้ย​ต่ำ�​ให​คนใน​ชุมชน​ไป​ประกอบ​ อาชีพ อาชีพ​หลัก​ทำ�นา คาขาย เฟอรนิเจอร เครื่องใช​ไฟฟา ชุด​เครื่อง​นอน ชุด​เครื่องครัว ฯลฯ ทั้ง​มี​การ​รวมกลุม​อาชีพ กลุม​เลี้ยง​โค กลุม​ทำ�​น้ำ�ยา​ลางจาน น้ำ�​ยาสระผม กลุม​เพาะ​เห็ด กลุม​เกษตรกร​ ทำ�นา กลุม​จักสาน หนึ่ง​ใน​ชุมชน​ตัวอยาง​ที่​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน กระทรวง​มหาดไทย คัดเลือก​มา​เปน​ตนแบบ​ใน​การ​สง เสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง​อยาง​ยั่งยืน นาย​ปรีชา บุตร​ศรี อธิบดี​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน​กลาว​วา ประเด็น​ยุทธศาสตร​หนึ่ง​ใน​การ​สงเสริม​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน คือ การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​เพื่อ ให​ผูนำ�​ชุมชน​เปนกำ�ลัง​หลัก​ใน​การ​บริหาร​การ​จัดการ​ชุมชน​ให​ชุมชน​เขมแข็ง​และ​พึ่งตนเอง​ได​ในที่สุด
  20. 20. หนังสือเรียน​สาระทักษะการดำ�เนินชีวิต รายวิชาเศรษฐกิจพอเพียง ระดับมัธยมศึกษา​ตอน​ปลาย (ทช 31001)​14 ยุทธศาสตร​ใน​การ​ทำ�งาน​ของ​กรมการ​พัฒนา​ชุมชน ทั้ง 5 ประเด็น ประกอบดวย การ​พัฒนา​ทุน​ชุมชน​ การ​พัฒนา​เศรษฐกิจ​ชุมชน​ให​เขมแข็ง การ​เพิ่ม​ขีด​ความ​สามารถ​ผูนำ�​ชุมชน​นำ�​ขับ​เคลื่อน​แผน​ชุมชน และ​การ​สง เสริม​การ​จัดการ​ความรู​ชุมชน บน​พื้นฐาน​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง ซึ่ง​มี​เปาหมาย​สราง​ผูนำ�​ชุมชน ระดับ​แกนนำ�​ ทั่วประเทศ​จำ�นวน691,110คน​ภายใน4ปใน​ป2551ดำ�เนินการ​ใน217หมูบาน​ทั่วประเทศเพื่อให​ได​ผูนำ�​ชุมชน ที่​มี​ภาวะผูนำ� มี​คุณธรรม จริยธรรม องคความรู เปนกลุม​แกนนำ�​ใน​การ​ขับ​เคลื่อน​และ​ผลักดัน​นโยบาย​ของ​รัฐ​ใน​ ระดับ​ชุมชน ให​มี​ทิศทาง​การ​พัฒนา​ชุมชน สอดคลองกับ​การ​พัฒนา​ประเทศ “สิ่ง​ที่​ทำ�ให​หมูบาน​ไดรับ​การ​คัดเลือก​มาจาก​การ​ดำ�เนินการ​ทั้ง6ดานประกอบดวยการ​ลด​รายจายเพิ่ม​ รายได การ​เรียนรู อนุรักษ เอื้ออาทร และ​การ​ประหยัด สิ่ง​ที่​คณะกรรมการ​มา​ดู​แลว​ประทับใจ​ที่สุด คือ สถาบัน​ การเงิน”นายส​มาน​กลาว ซึ่ง​ได​นำ�​ปรัชญา​เศรษฐกิจ​พอเพียง​มา​ใช​ใน​การ​ดำ�เนินการ​บริหาร​ธนาคาร​ชุมชน กุด​ กะ​เสียน​รวมใจ การ​ประหยัด อดออม อ​อม​เพื่อ​นำ�ไปใช​ใน​การ​ผลิต ไม​นำ�ไปใช​ฟุมเฟอย ให​กู​โดย​ถือ​หลัก​ความ​ พอประมาณ ถือ​หลัก​มีเหตุมีผล และ​มี​ภูมิ​คุมกัน​ใน​ตัว​ที่​ดี ภายใต​เงื่อนไข​ความรู คือ รอบรู รอบคอบ ระมัดระวัง และ​เงื่อนไข​คุณธรรม ซื่อสัตย สุจริต ขยัน อดทน​และ​แบงปน​ปจจุบัน​มี​เงินทุน​หมุนเวียน​ประมาณ 14 ลาน​บาท สมาชิก​สถาบัน​การเงิน​ชุมชน ประกอบดวย​หมู​ที่ 10,11,12 บานกุด​กะ​เสียน ตำ�บล​เขื่องใน ซึ่ง​มี​สมาชิก 246 ครัว เรือน 285 คน มี​จำ�นวน​สมาชิก​เงินฝาก 464 คน “สราง​ผล​ดี​ให​ชุมชน ผู​กู กู​ถูก คน​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​สูง ตั้งแต​รอยละ 2 สูงสุด​หาก​มี​เงินฝาก 5 แสน​บาท​ ขึ้น​ไป​ดอกเบี้ย​รอยละ 5 บาท​ไม​หัก​ภาษี​ดอกเบี้ย​กู​งาย​กวา แต​ให​กู​เฉพาะ​คนใน​ชุมชน เทานั้น สวน​ผูฝาก​นอก​ ชุมชน ก็​ฝาก​ได​ดอกเบี้ย​เทา​คนใน​ชุมชน แต​กู​ไมได ทำ�ให​ประชาชน​ประหยัด​ดอกเบี้ย​เงินกู​ได ชุมชน ก็​พึงพอใจ เสีย​ดอกเบี้ย​นอยกวา​และ​ยัง​ได​สวัสดิการ​กลับ​คืน​สู​ชุมชน “ นายส​มาน ทวี​ศรี ประธาน​กรรมการ​สถาบัน​การเงิน​ ชุมชน กุด​กะ​เสียน​รวมใจ​กลาว ใน​มุมมอง​ของ​คนใน​ชุมชน บานกุด​กะ​เสียน​ตาง​บอก​เปน​เสียง​เดียวกัน​วาที่​มี​วันนี้​ได​เพราะ “ผูนำ�​ดี” เปน​ผูนำ�​ชุมชน ที่​เขมแข็ง นอกจาก​การ​ยอมรับ​ของ​คนใน​ชุมชน แลว​ยังมี​รางวัล​มากมาย​รับรอง อาทิ ผูใหญ​บาน​ ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2523กำ�นัน​ยอดเยี่ยม​แหนบ​ทองคำ�​ป2546ประกาศ​เกียรติคุณ“คนดี​ศรี​อุบล” ป2550 และ​รางวัล​ผูนำ�​ชุมชน ดีเดน​ระดับ​เขต​ป 2550 ใน​ฐานะ​ที่​เปน​แกนนำ�​สราง​รอยยิ้ม​ให​ชุมชน ตัวอยาง​ของ​ชุมชน​พอเพียง​ดาน​พลังงาน ตลอด 3 ป (2549-2551) ของ​การ​เดินหนา​โครงการ​จัดทำ�​แผน​พลังงาน​ชุมชน 80 ชุมชน สนอง​พระ​ ราช​ดำ�ริ “เศรษฐกิจ​พอเพียง” ของ​สำ�นัก​นโยบาย​และ​ยุทธศาสตร สำ�นักงาน​ปลัด​กระทรวง​พลังงาน ดวย​มอง เห็น​ศักยภาพ​ชุมชน​ใน​การ​จัดการ​ดาน​พลังงาน​ที่​ชุมชน​ทำ�​เอง​ได ภายใต​การ​บริหาร​จัดการ​ทรัพยากร​ทอง​ถิ่นที่​ สามารถ​นำ�มา​เปลี่ยน​เปน​พลังงาน​ทดแทน​ใช​ใน​การ​ดำ�เนิน​ชีวิต​นั้น​ทำ�ได​จริง “แผน​พลังงาน​ชุมชน” คือ สิ่ง​ที่เกิด​ขึ้นกับ​ทุก​ชุมชน​ที่​เขารวม​ใน​ระยะเวลา​ที่​ตางกัน​พรอมกับ​กลไก​การ​ ทำ�งาน​รวมกัน ระหวาง​ภาค​ชุมชน​และ​ภาค​วิชาการ โดยเฉพาะ​เจาหนาที่​พลังงาน​จังหวัด หรือ​สำ�นักงาน​พลังงาน​ ภูมิภาคซึ่ง​เปน​ตัวแทน​กระทรวง​พลังงาน​ไป​เผยแพร​ความรู​สราง​ความ​เขาใจ“พลังงาน​เรื่อง​ใกล​ตัว”และ​นำ�เสนอ​ เทคโนโลยี​พลังงาน​ทางเลือก หรือ​พลังงาน​ทดแทน​หลาก​หลายประเภท ให​ชาวบาน​เลือก​นำ�ไป​ใชได​อยาง​เหมาะ

×