SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
บทที 1
บทนํา
1. หลักการและเหตุผล
ประเทศไทยมีเขตทีตังอยู่ในซีกโลกเหนือระหว่างเส้นรุ้งที 6 – 20 องศาเหนือ สภาพ
ภูมิอากาศทีแตกต่างกันทําให้เกิดความหลากหลายในการกระจายของผลผลิตไม้เมืองร้อนออกสู่
ตลาดอย่างต่อเนืองตลอดปี พืนทีปลูกไม้ผลตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในปี พ.ศ.
2548 ประมาณ 9.68 ล้านไร่ แบ่งออกเป็นมะม่วง 22.68% ทุเรียน 10.08% ลําไย 10.07% กล้วยนําว้า
8.33% เงาะ 6.79% และผลไม้อืน ๆ 42.05% ให้ผลผลิต 12.69 ล้านตัน การส่งออกทังในรูปผลสด
และผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 1.4 ล้านตัน ด้วยมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท หรือประมาณ 6.6% ของ
มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ไม้ผลเมืองร้อนของประเทศไทยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตาม
ความสําคัญทางด้านเศรษฐกิจ คือ กลุ่มที 1 - ไม้ผลทีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจมากและมีมูลค่าการ
ส่งออกสูง จํานวน 10 ชนิด ได้แก่ ลําไย, ทุเรียน, มังคุด, ลินจี, มะม่วง, ส้มโอ, เงาะ, สับปะรด,
มะพร้าวนําหอม และมะขามกลุ่มที 2 - ไม้ผลทีมีศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคตหรือเป็นไม้ผล
ท้องถินหรือพืนเมือง มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าการส่งออก ได้แก่ กระท้อน, ชมพู่,
น้อยหน่า, พุทรา, มะปราง, ฝรัง, ลองกอง, ลางสาด, สละ, ขนุน, มะนาว, องุ่น และกล้วย เป็นต้นการ
ผลิตผลไม้ตามปกติอาศัยธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักหากเป็นการผลิตเพือบริโภคเองในครัวเรือนผู้
ปลูกก็สามารถรอคอยจนกระทังถึงฤดูกาลออกดอกและติดผลตามปกติ แต่การปลูกเพือการค้า ซึง
ราคาของผลิตผลจะแตกต่างกันขึนอยู่กับปริมาณผลิตผลในขณะนันๆ และคุณภาพของผลไม้คือถ้า
เป็นช่วงจังหวะทีมีผลไม้ชนิดนันออกสู่ตลาดมาก เช่น ในฤดูกาลออกดอกติดผลตามปกติราคาของ
ผลิตผลก็จะตําลงแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีผลไม้ออกมาสู่ตลาดน้อยราคาก็ย่อมต้องสูงขึน ดังนัน ผู้
ทีปลูกไม้ผลเป็นการค้าหลายราย จึงมีความต้องการทีจะผลิตผลไม้นอกฤดูกาลปกติ เพือทีจะได้
จําหน่ายผลไม้ในปริมาณเท่าเดิมแต่ได้ราคาเพิมมากขึน ทังนีการผลิตผลไม้นอกฤดูกาลจําเป็นต้อง
อาศัยความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีทีจําเป็นต้องใช้จึงจะได้ผลตามทีต้องการผลไม้นับเป็นพืช
เศรษฐกิจทีสําคัญของประเทศไทยโดยสามารถทํารายได้เข้าประเทศไทยปีละหลายล้านบาทและ
ผลไม้ยังเป็นทีนิยมบริโภคกันทัวไปทังภายในประเทศและต่างประเทศนอกจากความต้องการ
บริโภคผลไม้นับวันจะมีเพิมมากขึนเรือยๆเนืองจากมีจํานวนประชากรทีเพิมสูงมากขึน ในการผลิต
ผลไม้ถือได้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศทีมีสภาพพืนทีและภูมิอากาศทีเหมาะสมต่อการผลิตผลไม้
เมืองร้อนหลากหลายชนิด ส่วนฤดูกาลให้ผลผลิตผลไม้แต่ละชนิดก็ยังแตกต่างกันไปในแต่ละสภาพ
พืนทีของแต่ละภาค จึงเป็นข้อดีทีประเทศไทยมีผลไม้หลากหลายชนิดหมุนเวียนออกสู่ตลาด และ
ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสําคัญเกียวกับการดูแลสุขภาพเป็นอย่างมากในการเลือกซือผลไม้และ
ส่วนใหญ่จะเลือกซึอผลไม้ทีมีความสดและใหม่เพราะยังคงคุณค่าทางวิตามินได้ทังหมดซึงผลได้แต่
ละชนิดจะมีประโยชน์และสรรพคุณทีแตกต่างกันออกไปดีกว่าเลือกซือผลไม้แช่แข็งอีกทังผลไม้สด
ยังหาซือได้ง่ายตามตลาดสดทัวไปและสามารถเลือกซือได้ตามปริมาณทีต้องการจากการสํารวจ
พบว่ากลุ่มเป้ าหมายไม่มีความรู้ในการทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายและไม่มีแบบฟอร์มการบันทึกบัญชี
รายรับ – รายจ่ายทีดี จึงทําให้ไม่รู้ว่าในแต่ละวันได้รับรายได้เท่าไรและเพียงพอต่อการใช้จ่ายในการ
ลงทุนวันต่อไปหรือไม่
จากการสัมภาษณ์ แม่ค้าขายผลไม้ จํานวน 5 ราย พบว่า แม่ค้าขายผลไม้นัน ไม่ได้มีการจด
บันทึกรายรับ – รายจ่าย เนืองจากไม่มีความรู้ ในเรืองการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายและไม่ได้ให้
ความสําคัญเกียวกับการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย จึงทําให้ไม่สามารถรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย
ทีชัดเจน ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงมี ความประสงค์ทีจะเข้าไปช่วยเหลือในการให้บริการความรู้และ
การจัดทําแบบฟอร์มในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ทีถูกต้องตามหลักการทางบัญชี เพือแม่ค้า
ขายผลไม้สามารถบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง และสามารถสรุปรายได้ ค่าใช้จ่าย ในการขายผลไม้
ได้เพือทีจะได้ทราบถึงผลกําไรขาดทุนอย่างชัดเจน
กลุ่มของข้าพเจ้าได้ตระหนักถึงความสําคัญในการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย จึงมี
แนวคิดในการให้บริการความรู้การบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย และมีการจัดทําแบบฟอร์มการ
บันทึกบัญชี รายรับ – รายจ่ายอย่างง่าย เพือแม่ค้าขายผลไม้จะได้มีความรู้ในการบันทึกบัญชี รายรับ
–รายจ่าย สามารถบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายได้ด้วยตนเอง ซึงจะทําให้รับรู้รายได้ ค่าใช้จ่ายและ
ผลกําไรขาดทุนทีเกิดขึน
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ในการจัดทําบัญชีรายรับ– รายจ่าย ได้ถูกต้อง
2.2 เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายนําข้อมูลการทําบัญชีไปวางแผนในการซือผลไม้
3.3เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้กําไรขาดทุนทีแท้จริง
3. ขอบเขตของโครงการ
ในการดําเนินกิจกรรมโครงการกิจการตามโครงการบริการความรู้เกียวกับการทําบัญชีรายรับ –
รายจ่ายให้กับกลุ่มแม่ค้าในครังนีโดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือแม่ค้าขายผลไม้ใน ตําบลในเมือง อําเภอ
เมือง จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 5 ราย ประกอบด้วย
1.นางชิวพร ขันเยียม
ทีอยู่ บ้านเลขที 10/5ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
2.นางสุวรรณ แสงมงคล
ทีอยู่ บ้านเลขที 25ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
3.นางสุธร ศรีทะวี
ทีอยู่ บ้านเลขที 219/1 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
4.นางสาวอนุศรา สิงห์ดี
ทีอยู่ บ้านเลขที 155/5 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
5. นางจินตนา รอดวัน
ทีอยู่ บ้านเลขที 155/8 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ
4.1ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ในการจัดทําบัญชีรายรับ– รายจ่าย ได้ถูกต้อง
4.2 ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายนําข้อมูลการทําบัญชีไปวางแผนในการซือผลไม้
4.3 ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้กําไรขาดทุนทีแท้จริง
5. นิยามศัพท์
5.1 ต้นทุน
หมายถึง ค่าใช้จ่ายทีได้จ่ายไปเพือให้ได้สินค้า หรือผลของกิจการต้นทุนทางธุรกิจต้นทุน
คงที ต้นทุนในการดําเนินงาน ต้นทุนในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการจัดจําหน่าย ต้นทุนทางสังคม
ต้นทุนผันแปร ต้นทุนต่อหน่วย ประมาณการต้นทุน ต้นทุนหน่วยท้ายสุด ต้นทุนแรงงาน ค่าเสีย
โอกาส ต้นทุนรวม การวิเคราะห์ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ราคา ความสามารถในการทํากําไร การบัญชี
ต้นทุนทีแท้จริง ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ราคาเงา
5.2 ผลไม้
หมายถึง สิงทีเป็นผลผลิตทีเกิดขึนจากพืช โดยลักษณะรวมๆจะมีรูปทรงคล้ายทรงกลม
หรือทรงรี ซึงอาจมีความแตกต่างกันบ้างตามสายพันธุ์ โดยปกติผลไม้จะต้องมีเปลือกหรือสิงห่อหุ้ม
เนือทีอยู่ข้างใน โดยปกติผลไม้แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันทังขนาดของผล ลักษณะของเปลือก
เนือในและเมล็ด
5.3 แม่ค้า
หมายถึง บุคคลทีมีอาชีพค้าขายของชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าของกิน ของใช้ หรือของเล่นทุกชนิด
และส่วนมากก็จะทําการค้าขายทีตลาด หรือร้านค้า
5.4 รายได้
หมายถึง ผลตอบแทนทีกิจการได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการตามปกติของกิจการ
รวมทังผลตอบแทนอืนๆ ทีไม่ได้เกิดจากการดําเนินงานตามปกติ
5.5 รายได้จากการขาย
หมายถึง รายได้ทีเกิดจากการขายสินค้าหรือบริการอันเป็นรายได้จากการดําเนินงานตาม
ปกติ เช่น กิจการซือขายสินค้า รายได้ของกิจการ คือ รายได้จากการขายสินค้า ส่วนกิจการให้บริการ
เช่นซ่อมเครืองไฟฟ้า รายได้ของกิจการ คือ รายได้ค่าซ่อม
5.6 รายได้อืน
หมายถึง รายได้ทีมิได้เกิดจากการดําเนินงานตามปกติของกิจการซึงเป็นรายได้ทีไม่ใช้
รายได้จากการขายสินค้าหรือบริการนันเอง
5.7 ค่าใช้จ่าย
หมายถึง ต้นทุนส่วนทีหักออกจากรายได้ในรอบระยะเวลาทีดําเนินการงานหนึง

More Related Content

More from Yeah Pitloke (20)

บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 
036
036036
036
 
034
034034
034
 
038
038038
038
 
040
040040
040
 

004

  • 1. บทที 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล ประเทศไทยมีเขตทีตังอยู่ในซีกโลกเหนือระหว่างเส้นรุ้งที 6 – 20 องศาเหนือ สภาพ ภูมิอากาศทีแตกต่างกันทําให้เกิดความหลากหลายในการกระจายของผลผลิตไม้เมืองร้อนออกสู่ ตลาดอย่างต่อเนืองตลอดปี พืนทีปลูกไม้ผลตามภาคต่าง ๆ ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2548 ประมาณ 9.68 ล้านไร่ แบ่งออกเป็นมะม่วง 22.68% ทุเรียน 10.08% ลําไย 10.07% กล้วยนําว้า 8.33% เงาะ 6.79% และผลไม้อืน ๆ 42.05% ให้ผลผลิต 12.69 ล้านตัน การส่งออกทังในรูปผลสด และผลิตภัณฑ์ มีปริมาณ 1.4 ล้านตัน ด้วยมูลค่ามากกว่า 40,000 ล้านบาท หรือประมาณ 6.6% ของ มูลค่าการส่งออกสินค้าเกษตร ไม้ผลเมืองร้อนของประเทศไทยสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ตาม ความสําคัญทางด้านเศรษฐกิจ คือ กลุ่มที 1 - ไม้ผลทีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจมากและมีมูลค่าการ ส่งออกสูง จํานวน 10 ชนิด ได้แก่ ลําไย, ทุเรียน, มังคุด, ลินจี, มะม่วง, ส้มโอ, เงาะ, สับปะรด, มะพร้าวนําหอม และมะขามกลุ่มที 2 - ไม้ผลทีมีศักยภาพทางเศรษฐกิจในอนาคตหรือเป็นไม้ผล ท้องถินหรือพืนเมือง มีการบริโภคภายในประเทศมากกว่าการส่งออก ได้แก่ กระท้อน, ชมพู่, น้อยหน่า, พุทรา, มะปราง, ฝรัง, ลองกอง, ลางสาด, สละ, ขนุน, มะนาว, องุ่น และกล้วย เป็นต้นการ ผลิตผลไม้ตามปกติอาศัยธรรมชาติเป็นปัจจัยหลักหากเป็นการผลิตเพือบริโภคเองในครัวเรือนผู้ ปลูกก็สามารถรอคอยจนกระทังถึงฤดูกาลออกดอกและติดผลตามปกติ แต่การปลูกเพือการค้า ซึง ราคาของผลิตผลจะแตกต่างกันขึนอยู่กับปริมาณผลิตผลในขณะนันๆ และคุณภาพของผลไม้คือถ้า เป็นช่วงจังหวะทีมีผลไม้ชนิดนันออกสู่ตลาดมาก เช่น ในฤดูกาลออกดอกติดผลตามปกติราคาของ ผลิตผลก็จะตําลงแต่ในทางตรงกันข้าม ถ้ามีผลไม้ออกมาสู่ตลาดน้อยราคาก็ย่อมต้องสูงขึน ดังนัน ผู้ ทีปลูกไม้ผลเป็นการค้าหลายราย จึงมีความต้องการทีจะผลิตผลไม้นอกฤดูกาลปกติ เพือทีจะได้ จําหน่ายผลไม้ในปริมาณเท่าเดิมแต่ได้ราคาเพิมมากขึน ทังนีการผลิตผลไม้นอกฤดูกาลจําเป็นต้อง อาศัยความรู้ความเข้าใจในเทคโนโลยีทีจําเป็นต้องใช้จึงจะได้ผลตามทีต้องการผลไม้นับเป็นพืช เศรษฐกิจทีสําคัญของประเทศไทยโดยสามารถทํารายได้เข้าประเทศไทยปีละหลายล้านบาทและ ผลไม้ยังเป็นทีนิยมบริโภคกันทัวไปทังภายในประเทศและต่างประเทศนอกจากความต้องการ บริโภคผลไม้นับวันจะมีเพิมมากขึนเรือยๆเนืองจากมีจํานวนประชากรทีเพิมสูงมากขึน ในการผลิต ผลไม้ถือได้ว่าประเทศไทยเป็นประเทศทีมีสภาพพืนทีและภูมิอากาศทีเหมาะสมต่อการผลิตผลไม้ เมืองร้อนหลากหลายชนิด ส่วนฤดูกาลให้ผลผลิตผลไม้แต่ละชนิดก็ยังแตกต่างกันไปในแต่ละสภาพ พืนทีของแต่ละภาค จึงเป็นข้อดีทีประเทศไทยมีผลไม้หลากหลายชนิดหมุนเวียนออกสู่ตลาด และ ประชาชนส่วนใหญ่ให้ความสําคัญเกียวกับการดูแลสุขภาพเป็นอย่างมากในการเลือกซือผลไม้และ ส่วนใหญ่จะเลือกซึอผลไม้ทีมีความสดและใหม่เพราะยังคงคุณค่าทางวิตามินได้ทังหมดซึงผลได้แต่
  • 2. ละชนิดจะมีประโยชน์และสรรพคุณทีแตกต่างกันออกไปดีกว่าเลือกซือผลไม้แช่แข็งอีกทังผลไม้สด ยังหาซือได้ง่ายตามตลาดสดทัวไปและสามารถเลือกซือได้ตามปริมาณทีต้องการจากการสํารวจ พบว่ากลุ่มเป้ าหมายไม่มีความรู้ในการทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายและไม่มีแบบฟอร์มการบันทึกบัญชี รายรับ – รายจ่ายทีดี จึงทําให้ไม่รู้ว่าในแต่ละวันได้รับรายได้เท่าไรและเพียงพอต่อการใช้จ่ายในการ ลงทุนวันต่อไปหรือไม่ จากการสัมภาษณ์ แม่ค้าขายผลไม้ จํานวน 5 ราย พบว่า แม่ค้าขายผลไม้นัน ไม่ได้มีการจด บันทึกรายรับ – รายจ่าย เนืองจากไม่มีความรู้ ในเรืองการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายและไม่ได้ให้ ความสําคัญเกียวกับการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย จึงทําให้ไม่สามารถรับรู้รายได้และค่าใช้จ่าย ทีชัดเจน ทางกลุ่มของข้าพเจ้าจึงมี ความประสงค์ทีจะเข้าไปช่วยเหลือในการให้บริการความรู้และ การจัดทําแบบฟอร์มในการบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่าย ทีถูกต้องตามหลักการทางบัญชี เพือแม่ค้า ขายผลไม้สามารถบันทึกบัญชีได้อย่างถูกต้อง และสามารถสรุปรายได้ ค่าใช้จ่าย ในการขายผลไม้ ได้เพือทีจะได้ทราบถึงผลกําไรขาดทุนอย่างชัดเจน กลุ่มของข้าพเจ้าได้ตระหนักถึงความสําคัญในการบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย จึงมี แนวคิดในการให้บริการความรู้การบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย และมีการจัดทําแบบฟอร์มการ บันทึกบัญชี รายรับ – รายจ่ายอย่างง่าย เพือแม่ค้าขายผลไม้จะได้มีความรู้ในการบันทึกบัญชี รายรับ –รายจ่าย สามารถบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายได้ด้วยตนเอง ซึงจะทําให้รับรู้รายได้ ค่าใช้จ่ายและ ผลกําไรขาดทุนทีเกิดขึน 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ในการจัดทําบัญชีรายรับ– รายจ่าย ได้ถูกต้อง 2.2 เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายนําข้อมูลการทําบัญชีไปวางแผนในการซือผลไม้ 3.3เพือให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้กําไรขาดทุนทีแท้จริง 3. ขอบเขตของโครงการ ในการดําเนินกิจกรรมโครงการกิจการตามโครงการบริการความรู้เกียวกับการทําบัญชีรายรับ – รายจ่ายให้กับกลุ่มแม่ค้าในครังนีโดยมีกลุ่มเป้ าหมายคือแม่ค้าขายผลไม้ใน ตําบลในเมือง อําเภอ เมือง จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 5 ราย ประกอบด้วย 1.นางชิวพร ขันเยียม ทีอยู่ บ้านเลขที 10/5ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 2.นางสุวรรณ แสงมงคล ทีอยู่ บ้านเลขที 25ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 3.นางสุธร ศรีทะวี ทีอยู่ บ้านเลขที 219/1 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก
  • 3. 4.นางสาวอนุศรา สิงห์ดี ทีอยู่ บ้านเลขที 155/5 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 5. นางจินตนา รอดวัน ทีอยู่ บ้านเลขที 155/8 ตําบลในเมือง อําเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก 4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ 4.1ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้ในการจัดทําบัญชีรายรับ– รายจ่าย ได้ถูกต้อง 4.2 ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายนําข้อมูลการทําบัญชีไปวางแผนในการซือผลไม้ 4.3 ประชาชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้กําไรขาดทุนทีแท้จริง 5. นิยามศัพท์ 5.1 ต้นทุน หมายถึง ค่าใช้จ่ายทีได้จ่ายไปเพือให้ได้สินค้า หรือผลของกิจการต้นทุนทางธุรกิจต้นทุน คงที ต้นทุนในการดําเนินงาน ต้นทุนในการผลิต ค่าใช้จ่ายในการจัดจําหน่าย ต้นทุนทางสังคม ต้นทุนผันแปร ต้นทุนต่อหน่วย ประมาณการต้นทุน ต้นทุนหน่วยท้ายสุด ต้นทุนแรงงาน ค่าเสีย โอกาส ต้นทุนรวม การวิเคราะห์ต้นทุน ค่าใช้จ่าย ราคา ความสามารถในการทํากําไร การบัญชี ต้นทุนทีแท้จริง ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน ราคาเงา 5.2 ผลไม้ หมายถึง สิงทีเป็นผลผลิตทีเกิดขึนจากพืช โดยลักษณะรวมๆจะมีรูปทรงคล้ายทรงกลม หรือทรงรี ซึงอาจมีความแตกต่างกันบ้างตามสายพันธุ์ โดยปกติผลไม้จะต้องมีเปลือกหรือสิงห่อหุ้ม เนือทีอยู่ข้างใน โดยปกติผลไม้แต่ละชนิดจะมีความแตกต่างกันทังขนาดของผล ลักษณะของเปลือก เนือในและเมล็ด 5.3 แม่ค้า หมายถึง บุคคลทีมีอาชีพค้าขายของชนิดต่าง ๆ ไม่ว่าของกิน ของใช้ หรือของเล่นทุกชนิด และส่วนมากก็จะทําการค้าขายทีตลาด หรือร้านค้า 5.4 รายได้ หมายถึง ผลตอบแทนทีกิจการได้รับจากการขายสินค้าหรือบริการตามปกติของกิจการ รวมทังผลตอบแทนอืนๆ ทีไม่ได้เกิดจากการดําเนินงานตามปกติ 5.5 รายได้จากการขาย หมายถึง รายได้ทีเกิดจากการขายสินค้าหรือบริการอันเป็นรายได้จากการดําเนินงานตาม ปกติ เช่น กิจการซือขายสินค้า รายได้ของกิจการ คือ รายได้จากการขายสินค้า ส่วนกิจการให้บริการ เช่นซ่อมเครืองไฟฟ้า รายได้ของกิจการ คือ รายได้ค่าซ่อม 5.6 รายได้อืน