SlideShare a Scribd company logo
อัตราสวนตรีโกณมิติ ม.5
รายวิชา คณิตศาสตร รหัสชา ค 32101
     โดย...
              นางจันทรเพ็ญ เมืองสง
                ครู โรงเรยนราชดาริ
                         ี      ํ
อัตราสวนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio)

จากการทีนักเรียนเคยศึกษาเรื่องสามเหลียมที่คลายกันมาแลว จะพบวา
        ่                            ่

   1. สามเหลียมสองรูป ถามีมมทีเ่ ทากัน 3 มุมแลว
              ่              ุ
      สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกัน

   2. ถาสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันแลว อัตราสวนของดาน
      ทีอยูตรงขามมุมเทาจะเทากัน
        ่ 
Y
                          B


                              a       z              x
              c

          A                   C   X
                      b                                  Z
                                             y


จากรูป ถา BAC = YXZ , ABC = XYZ
            ˆ        ˆ    ˆ       ˆ และ     ACB = XZY
                                               ˆ   ˆ

       แลว สามเหลี่ยม ABC คลายกับ สามเหลี่ยม XYZ
                          BC AC AB               a b c
                            =  =                  = =
       ดังนั้นจะได       YZ XZ XY    หรือ       x y z
a x
          และจาก a = b       จะได     =
                 x y                  b y
                   a c                a x
           หรือจาก =          จะได    =
                                      c z
                   x z
                                      b y
           หรือจาก b = c      จะได    =
                   y z                c z

และจากสมบัติดงกลาวเราสามารถนําไปหาความยาวของดานของสามเหลียมได
             ั                                             ่
ในทํานองเดียวกันถาสามเหลียม 2 รูปทีคลายกันเปนสามเหลียมมุมฉากดังรูป
                          ่         ่                  ่
                                       Y
         B

        a            c             x                 z


        C                    A     Z                          X
                 b                               y


   ก็จะได   a x
              =          ,   a x
                              =    ,       b y
                                            =            เชนเดียวกัน
             b y             c y           c z

      อัตราสวนของความยาวของดานคูใดคูหนึงของรูปสามเหลียมมุมฉากนี้
                                      ่              ่
                       เรียกวา อัตราสวนตรีโกณมิติ
ดังนั้น จากรูป เมือสามเหลียม ABC เปนสามเหลียมมุมฉาก มี ABC
                  ่       ่                 ่            ˆ     = 90 °
และยึดมุม A เปนหลัก
 B
                        เรียก AB วา ดานตรงขามมุมฉาก ใหยาว c หนวย
 a           c         เรียก BC วา ดานตรงขามมุม A ใหยาว a หนวย
                       เรียก AC วา ดานประชิดมุม A ใหยาว b หนวย
 C                 A
         b

 หรือในทํานองเดียวกันจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อ ยึดมุม B เปนหลัก
             เรียก AB วา ดานตรงขามมุมฉาก ใหยาว c หนวย
            เรียก AC วา ดานตรงขามมุม B ใหยาว b หนวย
            เรียก BC วา ดานประชิดมุม B ใหยาว a หนวย
และจากรูป สามเหลี่ยม ABC , ABC = 90 ° เมื่อยึด มุม A เปนหลัก
                                  ˆ
  จะไดอตราสวนตรีโกณมิติ ของมุม A ดังนี้
        ั
                         B


                         a                 c


                         C                        A
                                   b
1. ความยาวของดานตรงขามมุม A = a เรียกวา ไซนของมุม A เขียนแทนดวย            sinA
                                c
   ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก
                                               เรียกวา โคไซนของมุม A เขียนแทนดวย cosA
                                       b
2. ความยาวของดานประชิดมุม A       =
                                       c
   ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก
3. ความยาวของดานตรงขามมุม A = a เรียกวา แทนเจนตของ A เขียนแทนดวย           tanA
   ความยาวของดานประชิดมุม A    b

           หมายเหตุ อัตราสวนขางตนใชไดเฉพาะ กรณีมุม A เปนมุมแหลมเทานั้น
จากอัตราสวนไซน โคไซน และแทนเจนต ยังมีอัตราสวนตรีโกณมิติอีก 3 อัตราสวน
ซึ่งกําหนดดวยบทนิยามดังนี้
 4. โคเซแคนทของมุม A หรอ cosecant A ซึ่งเขียนแทนดวย cosecA (อานวา โคเซค เอ)
                            ื
     หมายถึง สวนกลับของ sinA ; sinA ≠ 0 นั่นคือ                 cos ecA =
                                                                                 1
                                                                                     ; sin A ≠ 0
                                                                               sin A
                              a                              c
     นั่นแสดงวา    sin A =           ดังนั้น cos ecA =
                              c                              a
  5. เซแคนทของมุม A หรอ secant A ซึ่งเขียนแทนดวย secA (อานวา เซค เอ)
                       ื
     หมายถึง สวนกลับของ cosA ; cosA ≠ 0 นั่นคือ
                                                                                 1
                                                                     sec A =         ; cos A ≠ 0
                                                                               cos A
       นั่นแสดงวา cos A = b            ดังนั้น sec A = c
                                  c                          b
  6. โคแทนเจนตของมุม A หรือ cotangent A ซึ่งเขียนแทนดวย cotA (อานวา คอตทเอ)
     หมายถึง สวนกลับของ tanA ; tanA ≠ 0
                                                                             1
                                                   นั่นคือ       cot A =
                                                                           tan A
                                                                                 ; tan A ≠ 0

      นั่นแสดงวา     tan A =
                                  a
                                         ดังนั้น   cot A =
                                                                 b
                                  b                              a
ตัวอยาง                จากรูปจงหาคาของ sinA, cosA, tanA, sinC, cosC, tanC,
     B                                       cosecA, cotA, cosecC, secC,

     4              5           วิธีทํา จากทฤษฎีบทพิธาโกรัส จะได
                                       AB 2 = AC 2 − BC 2
     C                      A                = 52 − 42
                                         AB = 25 − 16 = 9 = 3


                           4          3           4
           ดังนัน
                ้   sin A = ; cos A = ; tan A =
                           5          5           3
                           3         4          3
                    sin C = ; cos C = ; tan C =
                           5         5          4
                                5          3           5          5
                    cos ecA =     ; cot A = ; cos ecC = ; sec C =
                                4          4           3          4
สรุป จากรายละเอียดขางตน
     อัตราสวนตรีโกณมิติ หมายถึง อัตราสวนของความยาวของดานคูใดคูหนึ่ง
                                                                 
ของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อยึดมุมใดมุมหนึ่งเปนหลัก(มีขนาดมุมระหวาง 0 – 90 องศา)

     โดยที่ sinA = ขาม            ดังนัน cosecA = ฉาก
                                          ้
                   ฉาก                             ขาม
            cosA = ชิด             ดังนัน secA = ฉาก
                                        ้
                    ฉาก                            ชิด
            tanA = ขาม             ดังนัน cot A = ชิด
                                            ้
                     ชิด                           ขาม

ขอตกลง ขาม ในที่นี้หมายถึง ดานตรงขามมุม A
        ฉาก ในที่นหมายถึง ดานตรงขามมุมฉาก
                   ้ี
        ชิด ในที่นี้หมายถึง ดานประชิดมุม A

More Related Content

What's hot

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
ทับทิม เจริญตา
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
ทับทิม เจริญตา
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมวิเชียร กีรติศักดิ์กุล
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
คุณครูพี่อั๋น
 
Know1
Know1Know1
Know4
Know4Know4
Know2
Know2Know2
Math 2009 05
Math 2009 05Math 2009 05
Math 2009 05
menton00
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติmou38
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7Laongphan Phan
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)sawed kodnara
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 krookay2012
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
111
111111

What's hot (20)

สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1 สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
สมบัติของรูปสามเหลี่ยมที่คล้ายกัน 1
 
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1  (ซ่อมแซม)
แผนที่ 2 รูปสามเหลี่ยมคล้าย 1 (ซ่อมแซม)
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยมชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
ชุดการสอนที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
 
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติสรุปสูตรตรีโกณมิติ
สรุปสูตรตรีโกณมิติ
 
Know1
Know1Know1
Know1
 
Know4
Know4Know4
Know4
 
Know2
Know2Know2
Know2
 
สอบ
สอบ สอบ
สอบ
 
Math 2009 05
Math 2009 05Math 2009 05
Math 2009 05
 
ตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติ
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
สื่อการจัดการเรียนรู้ใบกิจกรรมที่ 7
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ(ม.5 พื้นฐาน)
 
นิทาน
นิทานนิทาน
นิทาน
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2 คณิตศาสตร์ 24 2
คณิตศาสตร์ 24 2
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
111
111111
111
 

Similar to Treekon

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
ทับทิม เจริญตา
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
moohhack
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2krookay2012
 
123456789
123456789123456789
123456789
S'Sa Mind Hale's
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติThphmo
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณguestf22633
 

Similar to Treekon (16)

ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
Number
NumberNumber
Number
 
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
ระบบสมการเชิงเส้นและเมทริกซ์
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัสทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
อสมการ2
อสมการ2อสมการ2
อสมการ2
 
123456789
123456789123456789
123456789
 
เซต
เซตเซต
เซต
 
Onet math
Onet mathOnet math
Onet math
 
02
0202
02
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
สรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติสรุปตรีโกณมิติ
สรุปตรีโกณมิติ
 
ทา
ทาทา
ทา
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
ตรีโกณ
ตรีโกณตรีโกณ
ตรีโกณ
 
03
0303
03
 

Treekon

  • 1. อัตราสวนตรีโกณมิติ ม.5 รายวิชา คณิตศาสตร รหัสชา ค 32101 โดย... นางจันทรเพ็ญ เมืองสง ครู โรงเรยนราชดาริ ี ํ
  • 2. อัตราสวนตรีโกณมิติ (Trigonometric Ratio) จากการทีนักเรียนเคยศึกษาเรื่องสามเหลียมที่คลายกันมาแลว จะพบวา ่ ่ 1. สามเหลียมสองรูป ถามีมมทีเ่ ทากัน 3 มุมแลว ่ ุ สามเหลี่ยมสองรูปนั้นจะคลายกัน 2. ถาสามเหลี่ยมสองรูปคลายกันแลว อัตราสวนของดาน ทีอยูตรงขามมุมเทาจะเทากัน ่ 
  • 3. Y B a z x c A C X b Z y จากรูป ถา BAC = YXZ , ABC = XYZ ˆ ˆ ˆ ˆ และ ACB = XZY ˆ ˆ แลว สามเหลี่ยม ABC คลายกับ สามเหลี่ยม XYZ BC AC AB a b c = = = = ดังนั้นจะได YZ XZ XY หรือ x y z
  • 4. a x และจาก a = b จะได = x y b y a c a x หรือจาก = จะได = c z x z b y หรือจาก b = c จะได = y z c z และจากสมบัติดงกลาวเราสามารถนําไปหาความยาวของดานของสามเหลียมได ั ่
  • 5. ในทํานองเดียวกันถาสามเหลียม 2 รูปทีคลายกันเปนสามเหลียมมุมฉากดังรูป ่ ่ ่ Y B a c x z C A Z X b y ก็จะได a x = , a x = , b y = เชนเดียวกัน b y c y c z อัตราสวนของความยาวของดานคูใดคูหนึงของรูปสามเหลียมมุมฉากนี้   ่ ่ เรียกวา อัตราสวนตรีโกณมิติ
  • 6. ดังนั้น จากรูป เมือสามเหลียม ABC เปนสามเหลียมมุมฉาก มี ABC ่ ่ ่ ˆ = 90 ° และยึดมุม A เปนหลัก B เรียก AB วา ดานตรงขามมุมฉาก ใหยาว c หนวย a c เรียก BC วา ดานตรงขามมุม A ใหยาว a หนวย เรียก AC วา ดานประชิดมุม A ใหยาว b หนวย C A b หรือในทํานองเดียวกันจากรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ABC เมื่อ ยึดมุม B เปนหลัก เรียก AB วา ดานตรงขามมุมฉาก ใหยาว c หนวย เรียก AC วา ดานตรงขามมุม B ใหยาว b หนวย เรียก BC วา ดานประชิดมุม B ใหยาว a หนวย
  • 7. และจากรูป สามเหลี่ยม ABC , ABC = 90 ° เมื่อยึด มุม A เปนหลัก ˆ จะไดอตราสวนตรีโกณมิติ ของมุม A ดังนี้ ั B a c C A b 1. ความยาวของดานตรงขามมุม A = a เรียกวา ไซนของมุม A เขียนแทนดวย sinA c ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก เรียกวา โคไซนของมุม A เขียนแทนดวย cosA b 2. ความยาวของดานประชิดมุม A = c ความยาวของดานตรงขามมุมฉาก 3. ความยาวของดานตรงขามมุม A = a เรียกวา แทนเจนตของ A เขียนแทนดวย tanA ความยาวของดานประชิดมุม A b หมายเหตุ อัตราสวนขางตนใชไดเฉพาะ กรณีมุม A เปนมุมแหลมเทานั้น
  • 8. จากอัตราสวนไซน โคไซน และแทนเจนต ยังมีอัตราสวนตรีโกณมิติอีก 3 อัตราสวน ซึ่งกําหนดดวยบทนิยามดังนี้ 4. โคเซแคนทของมุม A หรอ cosecant A ซึ่งเขียนแทนดวย cosecA (อานวา โคเซค เอ) ื หมายถึง สวนกลับของ sinA ; sinA ≠ 0 นั่นคือ cos ecA = 1 ; sin A ≠ 0 sin A a c นั่นแสดงวา sin A = ดังนั้น cos ecA = c a 5. เซแคนทของมุม A หรอ secant A ซึ่งเขียนแทนดวย secA (อานวา เซค เอ) ื หมายถึง สวนกลับของ cosA ; cosA ≠ 0 นั่นคือ 1 sec A = ; cos A ≠ 0 cos A นั่นแสดงวา cos A = b ดังนั้น sec A = c c b 6. โคแทนเจนตของมุม A หรือ cotangent A ซึ่งเขียนแทนดวย cotA (อานวา คอตทเอ) หมายถึง สวนกลับของ tanA ; tanA ≠ 0 1 นั่นคือ cot A = tan A ; tan A ≠ 0 นั่นแสดงวา tan A = a ดังนั้น cot A = b b a
  • 9. ตัวอยาง จากรูปจงหาคาของ sinA, cosA, tanA, sinC, cosC, tanC, B cosecA, cotA, cosecC, secC, 4 5 วิธีทํา จากทฤษฎีบทพิธาโกรัส จะได AB 2 = AC 2 − BC 2 C A = 52 − 42 AB = 25 − 16 = 9 = 3 4 3 4 ดังนัน ้ sin A = ; cos A = ; tan A = 5 5 3 3 4 3 sin C = ; cos C = ; tan C = 5 5 4 5 3 5 5 cos ecA = ; cot A = ; cos ecC = ; sec C = 4 4 3 4
  • 10. สรุป จากรายละเอียดขางตน อัตราสวนตรีโกณมิติ หมายถึง อัตราสวนของความยาวของดานคูใดคูหนึ่ง   ของสามเหลี่ยมมุมฉากเมื่อยึดมุมใดมุมหนึ่งเปนหลัก(มีขนาดมุมระหวาง 0 – 90 องศา) โดยที่ sinA = ขาม ดังนัน cosecA = ฉาก ้ ฉาก ขาม cosA = ชิด ดังนัน secA = ฉาก ้ ฉาก ชิด tanA = ขาม ดังนัน cot A = ชิด ้ ชิด ขาม ขอตกลง ขาม ในที่นี้หมายถึง ดานตรงขามมุม A ฉาก ในที่นหมายถึง ดานตรงขามมุมฉาก ้ี ชิด ในที่นี้หมายถึง ดานประชิดมุม A