SlideShare a Scribd company logo
โดย
ด.ช.เอกลักษณ์ สว่างตุ่ม
ด.ช.อนุรักษ์ ฉายแก้ว
ด.ช.ศุภกร เทพวัง
ด.ช.สรรชัย ประสมรส
ความหมายของการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต คือ การจับคู่ของรูปบนระนาบ เป็ น
การจับคู่ระหว่างจุดบนรูปต้นแบบกับจุดบนรูปที่เกิดจากการ
แปลงแบบจุดต่อจุด ซึ่งมีผลทาให้รูปที่ได้จากการแปลงมี
หลายแบบ บางรูปยังคงลักษณะและความยาวระหว่างจุดเท่า
เดิมเช่นเดียวกับรูปต้นแบบการแปลงในลักษณะนี้มี 3 แบบคือ
การเลื่อนขนาน การสะท้อน และการหมุน
ดร.สาราญ มีแจ้งและดร.รังสรรค์ มณีเล็ก ( 2547 : 130
)
การเลื่อนขนานคือ การแปลงที่จับคู่แต่ละจุดของรูปต้นแบบกับจุดแต่
ละจุดของรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานการเลื่อนขนานจะต้องเลื่อนไป
ในทิศทางใดทิศทางหนึ่งในระยะทางที่ต้องการ
1. รูปที่ได้จากการเลื่อนขนานมีขนาดและรูปร่างเหมือนเดิมกับรูป
ต้นแบบ
2. จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานจะห่างจากจุดที่สมนัย
กับรูปต้นแบบ
 เป็นระยะทางเท่ากันและระยะห่างนั้นเท่ากับระยะทางที่กาหนดให้
เลื่อนขนาน
 รูปต้นแบบ
ตัวอย่าง จงเลื่อนขนานรูปต้นแบบที่กาหนดให้ในทิศทางที่
กาหนดให้และตอบคาถาม
รูปต้นแบบและรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานมีขนาดและรูปร่าง
เหมือนเดิมหรือไม่
จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานจะห่างจากจุดที่สมนัยกับ
รูปต้นแบบ เป็นระยะทางเท่ากันหรือไม่เป็นเท่าใด
1. ระบุเวกเตอร์ของการเลื่อนขนานที่กาหนดด้วยจุดสองจุด โดยที่
จุด แรกจะเป็นจุดเริ่มต้นเวกเตอร์ จุดที่สองเป็นจุดปลาย
1. วัดพื้นที่รูปต้นแบบและรูปที่เกิดจากการเลื่อนขนานเท่ากันหรือไม่
2.ทิศทางที่รูปต้นแบบเลื่อนขนานไปทุกจุดเป็นทิศทางเดียวกัน
หรือไม่
3. ส่วนของเส้นตรงที่เชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยกันแต่ละคู่จะขนานกัน
และยาวเท่ากันหรือไม่
1. รูปที่ได้จากการเลื่อนขนานและรูปต้นแบบพื้นที่เท่ากันคือ 7.94
ตารางเซนติเมตรรูปร่างเหมือนเดิม
2. ไปในทิศทางเดียวกันทุกจุด
3. จุดแต่ละจุดบนรูปที่เชื่อมรูปต้นแบบและรูปที่ได้จากจะห่างจากจุด
ที่สมนัยกับรูปต้นแบบเป็นระยะทางเท่ากันในรูปนี้ห่างเป็นระยะ 7.96
ซม.
1. การเลื่อนขนานตามแกน X
 วิธีทา
1.เลือกจุดหรือรูปต้นแบบที่จะเลื่อนขนาน เช่นจากรูปพิกัดต้นแบบ
คือ A (-5,4)
2.เลือกการแปลงเลื่อนขนาน เลือกเวกเตอร์ (เชิงขั้ว) โดย ระยะทาง
คงที่ จะเลื่อนขนานเท่าไรให้พิมพ์ระยะทางลงไปหน่วยเป็น เซนติเมตร
3.1เลือก 0 องศาถ้าต้องการขนานกับแกน X ไปทางขวามือ
3.2 เลือก 180 องศาถ้าต้องการขนานกับแกน X ไปทางซ้ายมือ
 วิธีทา
 1.เลือกจุดหรือรูปต้นแบบที่จะเลื่อนขนาน เช่นจากรูปพิกัดต้นแบบคือ A (3,2)
 2.เลือกการแปลงเลื่อนขนาน เลือกเวกเตอร์ (เชิงขั้ว) โดย ระยะทางคงที่ จะเลื่อนขนานเท่าไรให้พิมพ์ระยะทาง
ลงไปหน่วยเป็น เซนติเมตร
 3.เลือกที่มุมคงที่ ถ้าขนานกับแกน Y จะเลือกขนาดมุมได้ 2 อย่างคือ
• 1.1เลือก 90 องศาถ้าต้องการขนานกับแกน Y ไปขึ้นตามแกน
 3.2 เลือก -90 องศาถ้าต้องการขนานกับแกน Y ไปลงตามแกน
จากรูปจะเห็นว่าได้จากจุด B ( 3,2) เลื่อนขนานลงตามแกน Y จำนวน 8 หน่วยจะได้พิกัดใหม่คือ ( 3,-6)
- นักเรียนสังเกตค่า Y ที่เปลี่ยนแปลงไปกี่หน่วย
 คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนสร้างจุดหรือรูปที่ได้จากการเลื่อนขนานของรูป
ต้นแบบและทิศทางที่กาหนดโดยใช้โปรแกรม The Geometer’s
Sketchpad : GSP นาคาตอบมาเติม ข้อละ 1 คะแนน
คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลา 30 นาที
 2. สร้างตามวิธี หน้า 16 -17
 3. ส่งงานโดยพิมพ์หน้านี้ส่งทุกคน
 ตัวอย่าง ถ้าเลื่อนขนาน จุด (1,-8) ตามแกน X ขวามือ 2 หน่วยและ
ขึ้นตามแกน Y 3 หน่วยจะได้พิกัดใด
 ตอบ (3,-5) ค่า X เปลี่ยน 2 หน่วย และค่า Y เปลี่ยนไป 3
หน่วย
 ....................................................................................................................................
 1. เลื่อน (-1,5) ไปทางซ้าย 2 หน่วยจะได้จุดใดตอบ..............................................................
 2. เลื่อน (-3,-4) ไปทางขวา 3 หน่วยและเลื่อนลง 2 หน่วยจะได้จุดใด
 ตอบ.....................................................................
 3. เลื่อน (-4,2) เลื่อนขนานด้วย (5,5) จะได้จุดใดตอบ............................................................
 4. เลื่อน (0,3) เลื่อนขนานด้วย (2,2) จะได้จุดใดตอบ...........................................................
 5.รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A (2,1),B(4,1) และ C (3,3) เลื่อนขนานลง 5 หน่วย จะ
ได้จุดใดตอบ.....................................................................
 6.รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A (2,1),B(4,1) และ C (3,3) เลื่อนขนานลง 5 หน่วย
 และซ้าย 6 หน่วย จะได้จุดใดตอบ.....................................................................
 7. เลื่อน (x,y) ไปทางขวา (a,b) หน่วยจะได้จุดใดตอบ............................................................
 8.รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A (-2,2),B(-1,6) และ C (0,4) เลื่อนขนานด้วย (5,2) จะ
ได้จุดใดตอบ....................................................................
 9.รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A (-2,-2),B(-2,-6) และ C (-4,-5) เลื่อนขนานด้วย
(3,2)
 จะได้จุดใด ตอบ.............................................................
 10.รูปสามเหลี่ยม ABC มีจุดยอด A (2,-2),B(1,-5) และ C (-1,-4) เลื่อนขนานด้วย
(5,-2) จะได้จุดใดตอบ...............................................................
 สมบัติการสะท้อน
 1. การสะท้อนต้องมีรูปต้นแบบมีเส้นสะท้อนรูปที่เกิดจากการสะท้อนเสมือน
การพลิกรูปต้นแบบข้ามเส้นสะท้อนและรูปที่ได้จากการสะท้อนจะมีขนาดและ
รูปร่างเท่ากับรูปต้นแบบ
 2. จุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการสะท้อนกับจุดบนรูปต้นแบบที่สมนัยกันจะ
ห่างจากเส้น สะท้อนเท่ากันและตั้งฉากกัน
 3. เมื่อดาเนินการสะท้อนจุดบนเส้นของการสะท้อนจะไม่เปลี่ยนแปลง
ตาแหน่ง
 จุดเหล่านั้นจึงคงที่
2. การสะท้อน(Reflection)
สร้างรูปต้นแบบเป็นรูปเรขาคณิต (สามเหลี่ยมหรือ สี่เหลี่ยมก็ได้)
กาหนดเส้นสะท้อนดังรูป
•เลือกรูปต้นแบบและดับเบิ้ลคลิกเส้นสะท้อนเลือกคำสั่งกำรแปลงเลือกกำรสะท้อน
ดังรูป
 - พื้นที่รูปต้นแบบและรูปที่ได้จากการสะท้อนเท่ากัน
 4. เชื่อมจุดที่สมนัยด้วยส่วนเส้นตรงแล้ววัดระยะห่างจากรูปคือ AD และ AD
 มีระยะทางเท่ากัน
 5. วัดมุมระหว่างเส้นสะท้อนและเส้นเชื่อมระหว่างจากที่สมนัยจะตั้งฉากกัน
 แสดงว่าเส้นสะท้อนจะแบ่งครึ่งเส้นเชื่อมระหว่างจุดที่สมนัยและตั้งฉากกัน

การสร้างรูปที่ได้จากการสะท้อน
1.เลือกรูปต้นแบบที่กาหนดให้
2.ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นสะท้อน
3.เลือกคาสั่งการแปลงเลือกสะท้อนจะไดรูปที่ได้จากการสะท้อน
ตัวอย่าง จงสร้างรูปที่ได้จากการสะท้อนเมื่อกาหนดรูปต้นแบบและ
เส้นสะท้อนให้และวัดพื้นที่รูปต้นแบบและรูปที่ได้จากการสะท้อนมี
ขนาดเท่ากันหรือไม่

เลือกรูปต้นแบบคือ สามเหลี่ยม ABC ดับเบิ้ลคลิกที่เส้นสะท้อน
เลือกคาสั่งการแปลงเลือกสะท้อน ได้รูปที่ได้จากการสะท้อนดังรูป
พื้นที่รูปสำมเหลี่ยมทั้ง 2 รูปมีขนำดเท่ำกัน
 คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนสร้างรูปที่ได้จาการสะท้อนใช้โปรแกรม GSP และวัดพื้นที่ทั้ง 2
รูป ว่ามีพื้นที่เท่ากันหรือไม่ ข้อละ 2 คะแนน (คะแนนเต็ม 10 คะแนน)
 2. ดูวิธีสร้างจากหน้า 25 ส่งงานโดยบันทึกชื่อไฟล์เป็นชื่อกลุ่มและชื่อ
 ตัวเองส่งครูทาง e-mail
 เมื่อกาหนดรูปต้นแบบและรูปที่ได้จากการสะท้อนเราสามารถหาเส้นสะท้อนของรูป
 ทั้งสองได้โดยลากส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดที่สมนัยกันจุดต่อจุดแล้วลากเส้นแบ่งครึ่งและ
 ตั้งฉากกับส่วนของเส้นตรงนั้นเส้นที่ตั้งฉากและแบ่งครึ่งคือ “เส้นสะท้อน” ดังตัวอย่าง
 ตัวอย่าง ให้นักเรียนหาเส้นสะท้อนของรูปต้นแบบและรูปที่จากการสะท้อนต่อไปนี้
D'
E'
B'
A'
A
B
E
D
'
'
'
วิธีทำ
1. ลำกส่วนของเส้นตรงเชื่อมจุดที่สมนัยกัน เช่น A และ A
โดยเลือก A และ A
เลือกคำสั่งกำรสร้ำงส่วนของเส้นตรงได้ส่วนเส้นตรง A A
ดังรูป
D'
E'
B'
A'
A
B
E
D
การหมุน คือ การแปลงที่เกิดจากจับคู่ระหว่างจุดแต่ละจุดบนรูป
ต้นแบบกับจุดแต่ละจุดบนรูปที่ได้จากการหมุนโดยแต่ละจุดบนรูป
ต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาดของมุมที่กาหนดให้และจุดแต่
ละจุดคู่ที่สมนัยกันจะมีระยะห่างจากจุดหมุนเท่ากัน และการหมุน
ต้องมีจุดหมุนจะอยู่นอกหรือในรูปต้นแบบก็ได้การหมุนจะตามเข็ม
หรือทวนเข็มนาฬิกาตามขนาดและทิศทางที่ต้องการหมุน
1. รูปที่ได้จากการหมุนกับรูปต้นแบบเท่ากันทุกประการ
2. จุดแต่ละจุดบนรูปต้นแบบเคลื่อนที่รอบจุดหมุนด้วยขนาด
ของมุมที่กาหนด
3. จุดหมุนเป็ นจุดคงที่
ตัวอย่าง จงหารูปที่ได้จากการหมุนเมื่อกาหนดรูปต้นแบบ และ
หมุนด้วยมุม 90 องศาตามเข็มนาฬิกา
จุดหมุน
รูปต้นแบบ
B
A
C
 ตัวอย่าง จงหาจุดหมุนของรูปต้นแบบแบบรูปที่ได้จากการหมุน
ต่อไปนี้
รูปที่ได้จากการหมุน
รูปต้นแบบ
C'
A'
B'
B
A
C
 เลือกจุดที่สมนัยกัน อย่างน้อย 2 คู่แล้วเชื่อมด้วยเป็นส่วนของเส้นตรงดังนี้
1) เลือก A กับ A เลือกคาสั่งการสร้างเลือกส่วนของเส้นตรง
2) เลือกจุด B กับ B เลือกคาสั่งการสร้างเลือกส่วนของเส้นตรง ดังรูป
1) เชื่อมจุดหมุนและจุดที่สมนัย คือ C และจุดหมุน และ จุดจุดหมุน
กับ C ดังดังรูป
วัด B และ B ในทานองเดียวกันจะมุมที่จุดเท่ากันคือ 90 องศา

More Related Content

What's hot

การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
KruGift Girlz
 
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4Ge Ar
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัย
Aey Usanee
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
supamit jandeewong
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันAon Narinchoti
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตkroojaja
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
Wijitta DevilTeacher
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
sawed kodnara
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
ทับทิม เจริญตา
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันphaephae
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรนายเค ครูกาย
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
Pat Jitta
 

What's hot (20)

50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
50 ตรีโกณมิติ ตอนที่7_กราฟของฟังก์ชันตรีโกณมิติ
 
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
การวัดตำแหน่งที่ของข้อมูลม.6
 
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4
เฉลย คณิตรับตรงสามัญ 7วิชา มค 55 pr4
 
เลขนัย
เลขนัยเลขนัย
เลขนัย
 
O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557O-net คณิตศาสตร์ 2557
O-net คณิตศาสตร์ 2557
 
การจัดหมู่
การจัดหมู่การจัดหมู่
การจัดหมู่
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
อินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชันอินเตอร์เซกชัน
อินเตอร์เซกชัน
 
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซตแบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
แบบฝึกทบทวนเรื่องเซต
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนามข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
ข้อสอบโอลิมปิก ม.ต้น(Ijso) เรื่องพหุนามและเศษส่วนของพหุนาม
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
ลำดับเลขคณิต (Arithmetic sequence)
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
31201mid521
31201mid52131201mid521
31201mid521
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต อนุกรมเลขคณิต
อนุกรมเลขคณิต
 
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชันแบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
แบบทดสอบ พร้อมเฉลย ความสัมพันธ์และฟังก์ชัน
 
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปรระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
ระบบสมการเชิงเส้นสองตัวแปร
 
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ที่ 1 สภาพขั้วของโมเลกุลโคเวเลนต์
 

Viewers also liked

การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละนายเค ครูกาย
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2นายเค ครูกาย
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรJiraprapa Suwannajak
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลังkrookay2012
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตkrookay2012
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3krookay2012
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนามkrookay2012
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนามkrookay2012
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละkrookay2012
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1kruyafkk
 
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้Sornkaewwongwaiwitaya School
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34krookay2012
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตkruyafkk
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม GspWi Rut
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์dadaranee
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
Kanchit004
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 

Viewers also liked (20)

เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม เอกนามและพหุนาม
เอกนามและพหุนาม
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
เอกสารประกอบการเรียน พหุนาม ม.2
 
พื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตรพื้นที่ผิวและปริมาตร
พื้นที่ผิวและปริมาตร
 
เลขยกกำลัง
เลขยกกำลังเลขยกกำลัง
เลขยกกำลัง
 
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิตการประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
การประยุกต์ของการแปลงทางเรขาคณิต
 
กราฟ ม.3
กราฟ ม.3กราฟ ม.3
กราฟ ม.3
 
พหหุนาม
พหหุนามพหหุนาม
พหหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละการประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
การประยุกต์อัตราส่วนและร้อยละ
 
การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1การแปลงทางเรขาคณิต 1
การแปลงทางเรขาคณิต 1
 
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้
การนำเอาการแปลงทางคณิตศาสตร์มาใช้
 
คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34คณิตศาสตร์ม.34
คณิตศาสตร์ม.34
 
การแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิตการแปลงทางเรขาคณิต
การแปลงทางเรขาคณิต
 
Unit4
Unit4Unit4
Unit4
 
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gspเริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
เริ่มต้นใช้โปรแกรม Gsp
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
แบบฝึกหัดการแปลงทางเรขาคณิต ม.๒
 
คณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลงคณิตศาสตร์กับเพลง
คณิตศาสตร์กับเพลง
 
เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์เพลงคณิตศาสตร์
เพลงคณิตศาสตร์
 

Similar to การแปลงทางเรขาคณิต

111
111111
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksndความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
ssusere35d57
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
sawed kodnara
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
Akimoto Akira
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
lekho
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
sawed kodnara
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบTe'tee Pudcha
 

Similar to การแปลงทางเรขาคณิต (9)

111
111111
111
 
Math2
Math2Math2
Math2
 
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksndความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
ความคล้าย สามเหลี่ยม.pdfdindijzkmkxnjdnjksnd
 
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการบทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
บทที่ 5 ความเท่ากันทุกประการ
 
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
E0b89ae0b897e0b897e0b8b5e0b988 3-e0b980e0b8a7e0b881e0b980e0b895e0b8ade0b8a3e0...
 
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
ทฤษฏีบทพีทาโกรัส2
 
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้นบทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
บทที่ 1 อัตราส่วนตรีโกณมิติ ม.ต้น
 
Final เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบFinal เตรียมสอบ
Final เตรียมสอบ
 
แผนภาพ
แผนภาพแผนภาพ
แผนภาพ
 

การแปลงทางเรขาคณิต