SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
ภารกิจระดับ
 ครูผ้ ูช่วย
ห้ องเรี ยนที่ 1
ภารกิจที่ 1
ให้ ท่านวิเคราะห์ วิธีการจัดการเรียนรู้ของครู แต่ ละคนว่ าอยู่ใน
    กระบวนทัศน์ การออกแบบการสอนใดและมีพืนฐานมาจาก  ้
         ทฤษฎีการเรียนรู้ใดบ้ าง พร้ อมทังอธิบายเหตุผล
                                          ้
ครูบุญมี

เป็ นครูสอนวิชาภาษาไทย ในการสอนแต่ละชัวโมงครูจะใช้ วิธีการบรรยาย
                                             ่
ส่วนไหนที่สาคัญก็จะเน้ นย ้าให้ นกเรี ยนจดบันทึกและท่องซ ้าหลายครัง ทุกวัน
                                  ั                               ้
ครูจะให้ นกเรี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา พร้ อมทังคัดลายมือมาส่ง
              ั                 ั                ้
สื่อที่ครูใช้ ประจาคือ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน
นอกจากนี ้เมื่อเรี ยนจบแต่ละบทครูบญมีก็จะทาการสอบเก็บคะแนนถ้ า
                                      ุ
นักเรี ยนสอบตกก็จะให้ สอบใหม่จนกว่าจะผ่านตามเกณฑ์
การจัดการเรียนรู้ของครูบุญมี
   •ครูใช้ วิธีการบรรยายความรู้ให้ นกเรี ยน  ั
   •ครูเน้ นย ้าให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้แบบท่องจาและบันทึกคาศัพท์หลายๆครังโดยที่ผ้ เู รี ยน
                                                                         ้
   ไม่ได้ สร้ างองค์ความรู้ตางๆ ขึ ้นมาด้ วยตนเอง
                                    ่

                                       •ครูเป็ นผู้ถ่ายทอด บรรยายและปอนความรู้
                                                                            ้
เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวน ทังหมดให้ ผ้ เู รี ยน
                                         ้
     ทัศน์ ท่ เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง
              ี                        •ผู้ เรี ยนมีหน้ าที่เพียงทาตามคาสังของครู
                                                                          ่
                                       เพื่อให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ตามที่ครูต้องการ

                                      •มุ้ งเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนจดจาความรู้ได้ ในปริมาณมากที่สด
                                                                                              ุ
      มีพนฐานมาจาก
         ื้
                                      •บทบาทของผู้ เรี ยนคือเป็ นผู้รับสารสนเทศ
    ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม
                                      •บทบาทของครู คือเป็ นผู้นาเสนอข้ อมูลสารสนเทศ
ครูบุญช่ วย

เป็ นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการสอนแต่ละครังครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยง
                                                    ้                ่
เนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เช่นการใช้ คาถาม การยกตัวอย่างเหตุการณ์
ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารต่าง ๆเป็ นต้ น หลักจากนันครูจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุมแล้ ว
                                                      ้                                       ่
มอบสถานการณ์ปัญหาหรื อภารกิจการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยนทุก ๆ กลุม นอกจากนี ้ครูยงเตรี ยม
                                                                       ่                    ั
แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา
                                          ั
คาตอบ และร่ วมมือกันเรี ยนรู้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลองเพื่อ
ทดสอบแนวคิดของกลุม โดยมีครูเป็ นผู้ให้ คาแนะนา หากพบว่ามีผ้ เู รี ยนคนใดหรื อกลุมใด
                        ่                                                                       ่
เข้ าคลาดเคลื่อนครูก็จะเข้ าไปอธิบายและกระตุ้นให้ คิด หลังจากได้ คาตอบแล้ วทุกกลุมก็              ่
จะนาเสนอแนวคิดความ และร่ วมกับสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
การจัดการเรียนรู้ของครู บุญช่ วย

•ครูสร้ างองค์ความรู้ใหม่โดยอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม
•ครูชี ้ให้ เห็นตัวอย่างชัดเจนจากสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ซึงเป็ น     ่
แหล่งเรี ยนรู้ที่สาคัญ
•นักเรี ยนได้ ลงมือปฏิบติการทดลองด้ วยตนเอง เพื่อให้ เห็นความรู้
                           ั
•นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
                                             ่
•ครูเป็ นผู้กระตุ้นให้ นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ และเป็ นโค้ ชที่ให้ คาแนะนา
                         ั
แต่ไม่ใช่ผ้ ที่ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ นกเรี ยน
              ู                  ั้        ั
•ครูให้ นกเรี ยนสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
            ั
การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ตาม     เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ างความรู้ขึ ้นมาด้ วยตนเอง
          กระบวนทัศน์            รู้จกใช้ กระบวนการคิดเชื่อมโยงความรู้ พัฒนา
                                     ั
   ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ   ความรู้ใหม่ขึ ้นมาได้ โดยอาศัยแหล่งเรี ยนรู้ตางๆ       ่



                                 •บทบาทของนักเรี ยน คือ ลงมือปฏิบติการ
                                                                  ั
                                 ทดลอง สร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ
    มีพนฐานมาจากทฤษฏี
       ื้                        เชื่อมโยงความรู้จากประสบการณ์เดิมรวมถึง
       คอนสตรั คติวสต์
                   ิ             สถานการณ์ตาง ๆ ในชีวิต
                                             ่
                                 •บทบาทของครู เป็ นผู้อานวยความสะดวก ให้
                                 ความช่วยเหลือ ชี ้แนะแนวทางที่ถกแก่ผ้ เู รี ยน
                                                                ู
ครูบุญชู

สามารถสอนให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ลืมซึงครูมี
                  ั                                             ่
เทคนิคดังนี ้ การแต่งเป็ นบทเพลง การใช้ คาคล้ องจองการใช้ แผนภูมิ
รูปภาพประกอบเนื ้อหาที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
องค์ประกอบ เช่น แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และที่
น่าสนใจคือ การให้ ผ้ เู รี ยนจาคาศัพท์โดยใช้ การออกเสียงภาษาอังกฤษที่
เหมือนกับภาษาไทย เช่น pic กับ พริ ก และ bear กับ แบมือ พร้ อมมี
รูปประกอบซึงเป็ นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ผ้ เู รี ยนรู้จกมาช่วยใน
               ่                                              ั
การจดจาคาศัพท์
การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชู

• ครูแต่งเพลงเพื่อให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์จากเพลง
                                ั
• ครูเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ ผ้ เู รี ยน เช่น แผนภูมิรูปภาพ
                                    ั้
ประกอบเนื ้อหา ใช้ เพลงช่วยในการจดจาคาศัพท์ เป็ นต้ น
• เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้จากกระบวนการจา
                                เป็ น

              การจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวนทัศน์ ท่ ี
                     เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง
•ผู้ เรี ยนมีความรู้เพิ่มขึ ้นทังปริ มาณและคุณภาพ สามารถ
                                                      ้
  มีพนฐานมาจาก
     ื้
                      จัดรวบรวมความรู้ให้ เป็ นระเบียบและนากลับมาใช้ ใหม่
ทฤษฏีพุทธิปัญญานิยม   ได้ ตามต้ องการ รวมถึงถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม
                      ไปสูบริ บทใหม่ได้ ดังจะเห็นได้ จาก
                             ่
                      •ครูแต่งคาศัพท์เป็ นเพลง ที่ง่ายต่อการจาได้ เป็ น
                      เวลานานเมื่อต้ องการใช้ ก็นากลับมาใช้ ได้
                      •ครูใช้ คาคล้ องจองและแผนภาพประกอบ เป็ นลักษณะ
                      การสร้ างภาพแทนสารสนเทศ และเป็ นการเชื่อมโยง
                      ความรู้เดิม ไปเปรี ยบเทียบเป็ นความรู้ใหม่ในบริ บทใหม่
                      จากเดิม เช่น คาศัพท์ pic กับ พริ ก และ bear กับ แบ
                      มือ เป็ นต้ น
                      •ครูใช้ รูปภาพแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว
                      เพื่อเป็ นการจัดระเบียบสารสนเทศให้ กบผู้เรี ยน
                                                                 ั
ภารกิจที่ 2
วิธีการจัดการเรียนรู้ของครูแต่ ละคน มีข้อดีและข้ อเด่ นอย่ างไร
ครูบุญมี

          ข้ อดี                  ข้ อเด่ น


• ใช้ สื่อประกอบการสอน  • เน้ นย ้าให้ จดบันทึกและ
  เช่นโปรแกรมและสื่อการ   ท่องจาหลาย ๆ ครังในส่วน
                                               ้
  สอน                     ที่สาคัญ
• มีการสอบเก็บคะแนน หาก • ท่องศัพท์วนละ 5 คา
                                        ั
  สอบไม่ผานสามารถสอบ • คัดลายมือ
            ่
  ใหม่จนกว่าจะผ่าน
ครูบุญช่ วย
                 ข้ อดี                                 ข้ อเด่ น
                                          • ใช้ การตังคาถาม ข่าวสารต่าง ๆ และ
                                                       ้
• นาเข้ าสูเ่ นื ้อหาโดยประสบการณ์เดิม      ประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน มา
• ให้ นกเรี ยนได้ ลงมือแก้ ปัญหาและทา
       ั                                    ช่วยในการเชื่อมโยงเข้ าบทเรี ยน
  ภารกิจด้ วยตนเอง                        • ใช้ กิจกรรมกลุมในการเรี ยนการสอน
                                                             ่
• มีแหล่งเรี ยนรู้ที่เตรี ยมมากมาย เช่น • ครูเป็ นผู้แนะนา ชี ้แนวทางที่ถกให้ กบ
                                                                          ู    ั
  หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง
                    ั                       ผู้เรี ยน อธิบายและกระตุ้นให้ คิด
  ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหาคาตอบ      • หลังเรี ยนมีการให้ สรุปความคิด
                                            ร่วมกันในกลุม  ่
                                          • มีการสรุปความคิดตามความเข้ าใจ
                                            ของนักเรี ยนแต่ละคน
ครูบุญชู


              ข้ อดี                           ข้ อเด่ น
• มีเทคนิคที่ช่วยให้ จาศัพท์ได้ ง่าย • แต่งเพลงคาศัพท์ ช่วยในการจา
• ใช้ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ • ใช้ คาง่ายๆ มาเปรี ยบเทียบ
  ขององค์ประกอบต่าง ๆ                  คาศัพท์เพื่อช่วยในการจาและการ
• ใช้ คาคล้ องเสียงช่วยในการ ออก       ออกเสียง
  เสียงที่ง่ายขึ ้น
ภารกิจที่ 3
วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ
    การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะเหตุใด
แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศตาม
     พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542
                  ิ

มุงเน้ นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะการสร้ าง
 ่
ความรู้และพัฒนากระบวนการคิด
ดังนัน การจัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ การศึกษา
      ้
แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด คือ   ุ
             การจัดการเรี ยนรู้ ของครู บุญช่ วย ซึงมีกระบวนทัศน์ที่
                                                   ่
เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เช่น
•ครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยงเนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์
                   ่
เดิมของผู้เรี ยน
•การทากิจกรรมกลุม      ่
•การสรุปความรู้ในชันเรี ยนด้ วยตนเอง
                         ้
•บทบาทของครูเป็ นเพียงผู้อานวยความสะดวกในชันเรี ยน ชี ้แนะ
                                                      ้
อธิบาย และกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้
ห้ องเรี ยนที่ 2
สถานการณ์ ปัญหา
           ผมเป็ นครูสอนคณิตศาสตร์ มาหลายปี ขณะสอนนักเรี ยนจะได้ ยินคาถาม
  เสมอว่า "อาจารย์ (ครับ/ค่ะ)...เรี ยนเรื่ องนี ้ไปทาไม เอาไปใช้ ประโยชน์อะไรได้ บ้าง"
  ก็ได้ แต่ตอบคาถามว่านาไปใช้ ในการเรี ยนต่อชันสูง และนาไปประยุกต์ใช้ ในวิชา
                                                      ้
  วิทยาศาสตร์ ซึงบางเนื ้อหาก็มีโจทย์ปัญหาเป็ นแนวทางทาให้ พอรู้วาจะนาไปใช้
                    ่                                                    ่
  อะไรได้ บ้าง แต่บางเนื ้อหาก็จะได้ ยินเสียงบ่นพึมพาว่า "เรี ยนก็ยาก สูตรก็เยอะ
  ไม่ร้ ูจะเรี ยนไปทาไม ไม่เห็นได้ นาไปใช้ เลย" ในความเป็ นจริงดิฉนคิดว่าหลักสูตร
                                                                    ั
  วิชาคณิตศาสตร์ ของไทยน่าจะมีการ apply ให้ มากกว่านี ้ในแต่ละเรื่ องทัง้ ม.
  ต้ น และม.ปลาย ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูวาถ้ าเรี ยนแล้ วสามารถนาไปใช้ ได้ จริงไม่วาจะเรี ยน
                                     ่                                         ่
  ต่อสายสามัญหรื อสายอาชีพและเห็นความสาคัญของวิชานี ้มากขึ ้น
ภารกิจที่ 1
ให้ ท่านวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึนว่ าน่ าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้ าง
                                ้
สาเหตุของปั ญหาที่มาจาก
                        ครูผ้ ูสอน
• 1. ครูผ้ สอนยังไม่สามารถจัดการเรี ยนการสอนให้ เด็กได้ เข้ าใจถึงเนื ้อหา
           ู
  ได้ ชดเจน ว่าเนื ้อหานี ้มีลกษณะเป็ นแบบไหน สามารถใช้ ได้ จริงอย่างไร
       ั                      ั
  และวิชาคณิตศาสตร์ สาคัญแค่ไหน ใกล้ ไกลกับตัวเองมากน้ อยเพียงใด

• 2. ครูยงไม่มีเทคนิคการเชื่อมโยงเนื ้อหาบทเรี ยนให้ เด็กได้ เข้ าใจ
            ั
  เกี่ยวข้ องในชีวิตประจาวัน เช่น อาจจะแต่งในส่วนของเนื ้อหา เป็ นนิทาน
  ชีวิตประจาวัน เพื่อลดความน่าเบื่อในเนื ้อหา และจาทาให้ เด็กสามารถ
  จดจาได้ ขึ ้นใจ
• 3. ครูเพียงแค่สอนคณิตศาสตร์ ในเนื ้อหาเพียงอย่างเดียว เช่น สูตรที่
  ยากๆก็ให้ เด็กท่องจาเอง ครูน่าจะมีวิธีการ ทริคการจาได้ แม่นและนาน

• 4. ครูควรจะเปิ ดโอกาสเกิดข้ อสงสัย และถามคาถามแสดงความ
  คิดเห็น แล้ วครูสามารถให้ คาตอบที่ชดเจนกับเด็กได้ โดยเตรี ยมคาตอบ
                                     ั
  มาก่อน

• 5. ครูควรจะสนับสนุนนักเรี ยนด้ านวิชาการนี ้ สร้ างแรงจูงใจให้ เด็ก เกิด
  ความสนใจให้ มากกว่านี ้
สาเหตุของปัญหาทีมาจาก นักเรียน
                            ่


• 1.นักเรี ยน ยังไม่สามารถเข้ าใจในส่วนของวิชาคณิตศาสตร์ ว่ามีเนื ้อหา
  การเรี ยนแบบใดบ้ าง



• 2.นักเรี ยนยังไม่ทราบผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังชัดเจน และจุดประสงค์
  ของการเรี ยนการสอนของวิชาคณิตศาสตร์
• 3.นักเรี ยนส่วนใหญ่ มักจะคิดว่า คณิตศาสตร์ ยาก มีสตรเยอะ
                                                     ู
  หลากหลายขันตอนการแสดงวิธีคิด เรี ยนแล้ วไม่เข้ าใจ หัวช้ า ไม่เร็ว
                ้
  ตัวเองไม่เก่ง



• 4.นักเรี ยนยังขาดทักษะกระบวนการคิด การเชื่อมโยง การให้ เหตุผล ใช้
  อารมณ์ความรู้สกตนตัดสิน กับปั ญหา
                  ึ
ภารกิจที่ 2

วิเคราะห์ หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน
               ที่สามารถแก้ ปัญหาได้
ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ท่ สามารถนามาแก้ ไขปั ญหาได้
                     ี

1.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ครูควรจะอธิบาย ชีแจงส่ วนที่เป็ นจุดประสงค์ การเรี ยน
                                                     ้
  และเนื ้อหาให้ ผ้ เู รี ยนได้ คิดตามว่า กาลังจะเรี ยนอะไร เด็กจะทายังไง เรี ยนแล้ ว
  อะไร สามารถใช้ ได้ จริง

2.ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม เมื่อครูสอนเนื ้อหา ก็ควรจะเชื่ อมโยงความรู้
  ประสบการณ์เดิมของนักเรี ยน มาใช้ ในการเรี ยนและการนาไปใช้ ได้ จริงกับ
  ชีวิตประจาวันของผู้เรี ยน

3.ทฤษฎีคอนสตรั คติวสต์ ครูควรจะเน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง ให้ ผ้ เู รี ยนได้
                       ิ
  ปฏิบติ ทากิจกรรม แก้ ไขปั ญหาด้ วยตนเอง จะสามารถทาให้ เด็กเข้ าใจถึงเนื ้อหา
      ั
  และเกิดองค์ความรู้ที่ตอบสนองคาถามภายใต้ ข้อสงสัยของตนเองได้
การออกแบบการสอน


1. ครูผ้ ูสอนควรจะเตรียมแผนการสอน เป็ นอย่ างดี เช่ น
• เนื ้อหาสาระที่ครอบคลุมกับกลุมสาระรายวิชา ชี ้แจงผลการเรี ยนรู้ที่
                               ่
  คาดหวังให้ เด็กทราบ
• มีสื่อการสอนต่างๆ ที่สามารถ ทาให้ เด็กได้ เข้ าใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ
  เช่น powerpoint วิดทศน์ เป็ นต้ น
                           ิ ั
2. ครูควรจะสร้ างบรรยากาศในชันเรียน ให้ น่าสนใจ เช่ น
                                         ้
• การสอนที่มีปฏิสมพันธ์กนระหว่างครูกบนักเรี ยน และนักเรี ยนกับ
                        ั      ั                ั
  นักเรียน
• มีกิจกรรมคลายเครี ยด ที่ตรงตามการบูรณาการการสอน ที่สอดแทรก
  เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาได้
• เน้ นผู้เรี ยนได้ เกิดการเรียนรู้เอง ครูเป็ นเพียงผู้ให้ คาแนะนา ไปสูคาตอบ
                                                                      ่
  ในการแก้ ปัญหาต่างๆ
ภารกิจที่ 3

ออกแบบการจัดการเรียนรู้ท่ สามารถแก้ ปัญหาดังกล่ าวได้
                          ี
การจัดการเรียนรู้โดยใช้ คาถามปลายเปิ ด

              สถานการณ์
                ปั ญหา

  นักเรี ยนจะเป็ นผู้แก้ ไขปั ญหาเอง โดย
  ปั ญหานันถูกสร้ างมาเพื่อให้ สามารถ
            ้                              ครูจะเป็ นผู้สงเกตการณ์ตางๆ
                                                         ั         ่
  แก้ ได้ หลากหลายวิธีการคิด เพื่อได้      คอยให้ คาปรึกษาแนะ
  คาตอบเพียงหนึ่งคาตอบ

ผู้เรี ยนจะเกิดกระบวนการคิดที่หลากหลาย       นักเรี ยนเข้ าใจเกิดความเข้ าใจว่ า
แล้ วสามารถนามาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนใน         เนือหาการเรี ยนสอดคล้ องกับการ
                                                ้
ชันเรี ยน
   ้                                         นาไปใช้ ได้ ในชีวตประจาวัน
                                                               ิ
สมาชิกในกลุ่ม
• นางสาวจุฬาลักษณ์ ทิพวัน              543050014-9
• นางสาวรุจราภรณ์ บัวคา
           ิ                       543050361-8
• นางสาวสุภตรา สอนสนาม
             ิ                         543050370-7

นักศึกษาปริญญาตรีชันปี ที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ศึกษา
                   ้
คณะศึกษาศาสตร์

More Related Content

What's hot

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษKobwit Piriyawat
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดKiingz Phanumas
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdockrupornpana55
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรIps UbonFive
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางKunwater Tianmongkon
 

What's hot (14)

ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์  ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
การสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ โดย ครูศรีลักษณ์ ผลวัฒนะ ครูเชี่ยวชาญพิเศษ
 
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอดวิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
วิธีสอนการสร้างความคิดรวบยอด
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
19 สไลด์ประกอบการบรรยาย กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์...
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdocหลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
หลักสูตร Is คำอธิบายรายวิชา ม.ปลายdoc
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากรการนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
การนำเสนอ Inspiring science ศน.วัชรากร
 
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
เทคนิคการสอนและรูปแบบที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 

Viewers also liked (8)

12 15
12 1512 15
12 15
 
99 103
99 10399 103
99 103
 
24 27
24 2724 27
24 27
 
46 51
46 5146 51
46 51
 
31 34
31 3431 34
31 34
 
122 129
122 129122 129
122 129
 
114 120
114 120114 120
114 120
 
7 13
7 137 13
7 13
 

Similar to ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยVs'veity Sirvcn
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยPitsiri Lumphaopun
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์Mam Chongruk
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยJiramet Ponyiam
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยArm Watcharin
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยmoohmed
 
เบญ
เบญเบญ
เบญben_za
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้าfa_o
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยKorakob Noi
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมAtima Teraksee
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยpanggoo
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยtyehh
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2Jiramet Ponyiam
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยSana T
 

Similar to ภารกิจระดับครูผู้ช่วย (20)

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วยระดับครูผู้ช่วย
ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องชีวิตสัมพันธ์
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
ภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วยภารกิจครูผู้ช่วย
ภารกิจครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
เบญ
เบญเบญ
เบญ
 
ฟ้า
ฟ้าฟ้า
ฟ้า
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
นำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคมนำเสนอ23สิงหาคม
นำเสนอ23สิงหาคม
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
ระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วยระดับครผู้ช่วย
ระดับครผู้ช่วย
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย2
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรมระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
ระดับครูผู้ช่วยนวัตกรรม
 

ภารกิจระดับครูผู้ช่วย

  • 3. ภารกิจที่ 1 ให้ ท่านวิเคราะห์ วิธีการจัดการเรียนรู้ของครู แต่ ละคนว่ าอยู่ใน กระบวนทัศน์ การออกแบบการสอนใดและมีพืนฐานมาจาก ้ ทฤษฎีการเรียนรู้ใดบ้ าง พร้ อมทังอธิบายเหตุผล ้
  • 4. ครูบุญมี เป็ นครูสอนวิชาภาษาไทย ในการสอนแต่ละชัวโมงครูจะใช้ วิธีการบรรยาย ่ ส่วนไหนที่สาคัญก็จะเน้ นย ้าให้ นกเรี ยนจดบันทึกและท่องซ ้าหลายครัง ทุกวัน ั ้ ครูจะให้ นกเรี ยนท่องคาศัพท์วนละ 5 คา พร้ อมทังคัดลายมือมาส่ง ั ั ้ สื่อที่ครูใช้ ประจาคือ บทเรี ยนโปรแกรมและชุดการสอน นอกจากนี ้เมื่อเรี ยนจบแต่ละบทครูบญมีก็จะทาการสอบเก็บคะแนนถ้ า ุ นักเรี ยนสอบตกก็จะให้ สอบใหม่จนกว่าจะผ่านตามเกณฑ์
  • 5. การจัดการเรียนรู้ของครูบุญมี •ครูใช้ วิธีการบรรยายความรู้ให้ นกเรี ยน ั •ครูเน้ นย ้าให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้แบบท่องจาและบันทึกคาศัพท์หลายๆครังโดยที่ผ้ เู รี ยน ้ ไม่ได้ สร้ างองค์ความรู้ตางๆ ขึ ้นมาด้ วยตนเอง ่ •ครูเป็ นผู้ถ่ายทอด บรรยายและปอนความรู้ ้ เป็ นการจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวน ทังหมดให้ ผ้ เู รี ยน ้ ทัศน์ ท่ เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง ี •ผู้ เรี ยนมีหน้ าที่เพียงทาตามคาสังของครู ่ เพื่อให้ เกิดกระบวนการเรี ยนรู้ตามที่ครูต้องการ •มุ้ งเน้ นให้ ผ้ เู รี ยนจดจาความรู้ได้ ในปริมาณมากที่สด ุ มีพนฐานมาจาก ื้ •บทบาทของผู้ เรี ยนคือเป็ นผู้รับสารสนเทศ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม •บทบาทของครู คือเป็ นผู้นาเสนอข้ อมูลสารสนเทศ
  • 6. ครูบุญช่ วย เป็ นครูสอนวิชาวิทยาศาสตร์ ในการสอนแต่ละครังครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยง ้ ่ เนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์เดิมของผู้เรี ยน เช่นการใช้ คาถาม การยกตัวอย่างเหตุการณ์ ในชีวิตประจาวัน ข่าวสารต่าง ๆเป็ นต้ น หลักจากนันครูจะแบ่งนักเรี ยนออกเป็ นกลุมแล้ ว ้ ่ มอบสถานการณ์ปัญหาหรื อภารกิจการเรี ยนรู้ให้ ผ้ เู รี ยนทุก ๆ กลุม นอกจากนี ้ครูยงเตรี ยม ่ ั แหล่งการเรี ยนรู้ต่าง ๆ เช่น หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหา ั คาตอบ และร่ วมมือกันเรี ยนรู้มีการแลกเปลี่ยนประสบการณ์ การลงมือทดลองเพื่อ ทดสอบแนวคิดของกลุม โดยมีครูเป็ นผู้ให้ คาแนะนา หากพบว่ามีผ้ เู รี ยนคนใดหรื อกลุมใด ่ ่ เข้ าคลาดเคลื่อนครูก็จะเข้ าไปอธิบายและกระตุ้นให้ คิด หลังจากได้ คาตอบแล้ วทุกกลุมก็ ่ จะนาเสนอแนวคิดความ และร่ วมกับสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง
  • 7. การจัดการเรียนรู้ของครู บุญช่ วย •ครูสร้ างองค์ความรู้ใหม่โดยอาศัยการเชื่อมโยงกับความรู้เดิม •ครูชี ้ให้ เห็นตัวอย่างชัดเจนจากสถานการณ์ในชีวิตประจาวัน ซึงเป็ น ่ แหล่งเรี ยนรู้ที่สาคัญ •นักเรี ยนได้ ลงมือปฏิบติการทดลองด้ วยตนเอง เพื่อให้ เห็นความรู้ ั •นักเรี ยนได้ เรี ยนรู้โดยใช้ กระบวนการกลุมเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ่ •ครูเป็ นผู้กระตุ้นให้ นกเรี ยนเกิดการเรี ยนรู้ และเป็ นโค้ ชที่ให้ คาแนะนา ั แต่ไม่ใช่ผ้ ที่ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ นกเรี ยน ู ั้ ั •ครูให้ นกเรี ยนสรุปบทเรี ยนเป็ นความเข้ าใจของตนเอง ั
  • 8. การจัดกระบวนการเรี ยนรู้ ตาม เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเป็ นผู้สร้ างความรู้ขึ ้นมาด้ วยตนเอง กระบวนทัศน์ รู้จกใช้ กระบวนการคิดเชื่อมโยงความรู้ พัฒนา ั ที่เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ ความรู้ใหม่ขึ ้นมาได้ โดยอาศัยแหล่งเรี ยนรู้ตางๆ ่ •บทบาทของนักเรี ยน คือ ลงมือปฏิบติการ ั ทดลอง สร้ างองค์ความรู้ด้วยตนเอง และ มีพนฐานมาจากทฤษฏี ื้ เชื่อมโยงความรู้จากประสบการณ์เดิมรวมถึง คอนสตรั คติวสต์ ิ สถานการณ์ตาง ๆ ในชีวิต ่ •บทบาทของครู เป็ นผู้อานวยความสะดวก ให้ ความช่วยเหลือ ชี ้แนะแนวทางที่ถกแก่ผ้ เู รี ยน ู
  • 9. ครูบุญชู สามารถสอนให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษได้ โดยไม่ลืมซึงครูมี ั ่ เทคนิคดังนี ้ การแต่งเป็ นบทเพลง การใช้ คาคล้ องจองการใช้ แผนภูมิ รูปภาพประกอบเนื ้อหาที่ต้องการให้ ผ้ เู รี ยนเข้ าใจถึงความสัมพันธ์ระหว่าง องค์ประกอบ เช่น แผนผังแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว และที่ น่าสนใจคือ การให้ ผ้ เู รี ยนจาคาศัพท์โดยใช้ การออกเสียงภาษาอังกฤษที่ เหมือนกับภาษาไทย เช่น pic กับ พริ ก และ bear กับ แบมือ พร้ อมมี รูปประกอบซึงเป็ นการเชื่อมโยงประสบการณ์เดิมที่ผ้ เู รี ยนรู้จกมาช่วยใน ่ ั การจดจาคาศัพท์
  • 10. การจัดการเรียนรู้ของครูบุญชู • ครูแต่งเพลงเพื่อให้ นกเรี ยนจาคาศัพท์จากเพลง ั • ครูเป็ นผู้ถ่ายทอดความรู้ทงหมดให้ ผ้ เู รี ยน เช่น แผนภูมิรูปภาพ ั้ ประกอบเนื ้อหา ใช้ เพลงช่วยในการจดจาคาศัพท์ เป็ นต้ น • เน้ นให้ ผ้ เู รี ยนเรี ยนรู้จากกระบวนการจา เป็ น การจัดการเรี ยนรู้ ตามกระบวนทัศน์ ท่ ี เน้ นครู เป็ นศูนย์ กลาง
  • 11. •ผู้ เรี ยนมีความรู้เพิ่มขึ ้นทังปริ มาณและคุณภาพ สามารถ ้ มีพนฐานมาจาก ื้ จัดรวบรวมความรู้ให้ เป็ นระเบียบและนากลับมาใช้ ใหม่ ทฤษฏีพุทธิปัญญานิยม ได้ ตามต้ องการ รวมถึงถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม ไปสูบริ บทใหม่ได้ ดังจะเห็นได้ จาก ่ •ครูแต่งคาศัพท์เป็ นเพลง ที่ง่ายต่อการจาได้ เป็ น เวลานานเมื่อต้ องการใช้ ก็นากลับมาใช้ ได้ •ครูใช้ คาคล้ องจองและแผนภาพประกอบ เป็ นลักษณะ การสร้ างภาพแทนสารสนเทศ และเป็ นการเชื่อมโยง ความรู้เดิม ไปเปรี ยบเทียบเป็ นความรู้ใหม่ในบริ บทใหม่ จากเดิม เช่น คาศัพท์ pic กับ พริ ก และ bear กับ แบ มือ เป็ นต้ น •ครูใช้ รูปภาพแสดงความสัมพันธ์ของคนในครอบครัว เพื่อเป็ นการจัดระเบียบสารสนเทศให้ กบผู้เรี ยน ั
  • 13. ครูบุญมี ข้ อดี ข้ อเด่ น • ใช้ สื่อประกอบการสอน • เน้ นย ้าให้ จดบันทึกและ เช่นโปรแกรมและสื่อการ ท่องจาหลาย ๆ ครังในส่วน ้ สอน ที่สาคัญ • มีการสอบเก็บคะแนน หาก • ท่องศัพท์วนละ 5 คา ั สอบไม่ผานสามารถสอบ • คัดลายมือ ่ ใหม่จนกว่าจะผ่าน
  • 14. ครูบุญช่ วย ข้ อดี ข้ อเด่ น • ใช้ การตังคาถาม ข่าวสารต่าง ๆ และ ้ • นาเข้ าสูเ่ นื ้อหาโดยประสบการณ์เดิม ประสบการณ์ในชีวิตประจาวัน มา • ให้ นกเรี ยนได้ ลงมือแก้ ปัญหาและทา ั ช่วยในการเชื่อมโยงเข้ าบทเรี ยน ภารกิจด้ วยตนเอง • ใช้ กิจกรรมกลุมในการเรี ยนการสอน ่ • มีแหล่งเรี ยนรู้ที่เตรี ยมมากมาย เช่น • ครูเป็ นผู้แนะนา ชี ้แนวทางที่ถกให้ กบ ู ั หนังสือ วีดิทศน์ เว็บไซต์ที่เกี่ยวข้ อง ั ผู้เรี ยน อธิบายและกระตุ้นให้ คิด ฯลฯเพื่อให้ ผ้ เู รี ยนค้ นหาคาตอบ • หลังเรี ยนมีการให้ สรุปความคิด ร่วมกันในกลุม ่ • มีการสรุปความคิดตามความเข้ าใจ ของนักเรี ยนแต่ละคน
  • 15. ครูบุญชู ข้ อดี ข้ อเด่ น • มีเทคนิคที่ช่วยให้ จาศัพท์ได้ ง่าย • แต่งเพลงคาศัพท์ ช่วยในการจา • ใช้ แผนภาพแสดงความสัมพันธ์ • ใช้ คาง่ายๆ มาเปรี ยบเทียบ ขององค์ประกอบต่าง ๆ คาศัพท์เพื่อช่วยในการจาและการ • ใช้ คาคล้ องเสียงช่วยในการ ออก ออกเสียง เสียงที่ง่ายขึ ้น
  • 16. ภารกิจที่ 3 วิธีการจัดการเรียนรู้ของใครที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สุด เพราะเหตุใด
  • 17. แนวคิดเกี่ยวกับการศึกษาของประเทศตาม พระราชบัญญัตการศึกษาแห่ งชาติ พ.ศ. 2542 ิ มุงเน้ นการพัฒนาศักยภาพของผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ โดยเฉพาะการสร้ าง ่ ความรู้และพัฒนากระบวนการคิด
  • 18. ดังนัน การจัดการเรี ยนรู้ที่สอดคล้ องกับพระราชบัญญัติ การศึกษา ้ แห่งชาติ พ.ศ. ๒๕๔๒ มากที่สด คือ ุ การจัดการเรี ยนรู้ ของครู บุญช่ วย ซึงมีกระบวนทัศน์ที่ ่ เน้ นผู้เรี ยนเป็ นสาคัญ เช่น •ครูจะนาเข้ าสูบทเรี ยนโดยเชื่อมโยงเนื ้อหาที่เรี ยนกับประสบการณ์ ่ เดิมของผู้เรี ยน •การทากิจกรรมกลุม ่ •การสรุปความรู้ในชันเรี ยนด้ วยตนเอง ้ •บทบาทของครูเป็ นเพียงผู้อานวยความสะดวกในชันเรี ยน ชี ้แนะ ้ อธิบาย และกระตุ้นให้ ผ้ เู รี ยนเกิดการเรี ยนรู้
  • 19. ห้ องเรี ยนที่ 2 สถานการณ์ ปัญหา ผมเป็ นครูสอนคณิตศาสตร์ มาหลายปี ขณะสอนนักเรี ยนจะได้ ยินคาถาม เสมอว่า "อาจารย์ (ครับ/ค่ะ)...เรี ยนเรื่ องนี ้ไปทาไม เอาไปใช้ ประโยชน์อะไรได้ บ้าง" ก็ได้ แต่ตอบคาถามว่านาไปใช้ ในการเรี ยนต่อชันสูง และนาไปประยุกต์ใช้ ในวิชา ้ วิทยาศาสตร์ ซึงบางเนื ้อหาก็มีโจทย์ปัญหาเป็ นแนวทางทาให้ พอรู้วาจะนาไปใช้ ่ ่ อะไรได้ บ้าง แต่บางเนื ้อหาก็จะได้ ยินเสียงบ่นพึมพาว่า "เรี ยนก็ยาก สูตรก็เยอะ ไม่ร้ ูจะเรี ยนไปทาไม ไม่เห็นได้ นาไปใช้ เลย" ในความเป็ นจริงดิฉนคิดว่าหลักสูตร ั วิชาคณิตศาสตร์ ของไทยน่าจะมีการ apply ให้ มากกว่านี ้ในแต่ละเรื่ องทัง้ ม. ต้ น และม.ปลาย ผู้เรี ยนจะได้ ร้ ูวาถ้ าเรี ยนแล้ วสามารถนาไปใช้ ได้ จริงไม่วาจะเรี ยน ่ ่ ต่อสายสามัญหรื อสายอาชีพและเห็นความสาคัญของวิชานี ้มากขึ ้น
  • 20. ภารกิจที่ 1 ให้ ท่านวิเคราะห์ ปัญหาที่เกิดขึนว่ าน่ าจะมีสาเหตุมาจากอะไรบ้ าง ้
  • 21. สาเหตุของปั ญหาที่มาจาก ครูผ้ ูสอน • 1. ครูผ้ สอนยังไม่สามารถจัดการเรี ยนการสอนให้ เด็กได้ เข้ าใจถึงเนื ้อหา ู ได้ ชดเจน ว่าเนื ้อหานี ้มีลกษณะเป็ นแบบไหน สามารถใช้ ได้ จริงอย่างไร ั ั และวิชาคณิตศาสตร์ สาคัญแค่ไหน ใกล้ ไกลกับตัวเองมากน้ อยเพียงใด • 2. ครูยงไม่มีเทคนิคการเชื่อมโยงเนื ้อหาบทเรี ยนให้ เด็กได้ เข้ าใจ ั เกี่ยวข้ องในชีวิตประจาวัน เช่น อาจจะแต่งในส่วนของเนื ้อหา เป็ นนิทาน ชีวิตประจาวัน เพื่อลดความน่าเบื่อในเนื ้อหา และจาทาให้ เด็กสามารถ จดจาได้ ขึ ้นใจ
  • 22. • 3. ครูเพียงแค่สอนคณิตศาสตร์ ในเนื ้อหาเพียงอย่างเดียว เช่น สูตรที่ ยากๆก็ให้ เด็กท่องจาเอง ครูน่าจะมีวิธีการ ทริคการจาได้ แม่นและนาน • 4. ครูควรจะเปิ ดโอกาสเกิดข้ อสงสัย และถามคาถามแสดงความ คิดเห็น แล้ วครูสามารถให้ คาตอบที่ชดเจนกับเด็กได้ โดยเตรี ยมคาตอบ ั มาก่อน • 5. ครูควรจะสนับสนุนนักเรี ยนด้ านวิชาการนี ้ สร้ างแรงจูงใจให้ เด็ก เกิด ความสนใจให้ มากกว่านี ้
  • 23. สาเหตุของปัญหาทีมาจาก นักเรียน ่ • 1.นักเรี ยน ยังไม่สามารถเข้ าใจในส่วนของวิชาคณิตศาสตร์ ว่ามีเนื ้อหา การเรี ยนแบบใดบ้ าง • 2.นักเรี ยนยังไม่ทราบผลการเรี ยนรู้ที่คาดหวังชัดเจน และจุดประสงค์ ของการเรี ยนการสอนของวิชาคณิตศาสตร์
  • 24. • 3.นักเรี ยนส่วนใหญ่ มักจะคิดว่า คณิตศาสตร์ ยาก มีสตรเยอะ ู หลากหลายขันตอนการแสดงวิธีคิด เรี ยนแล้ วไม่เข้ าใจ หัวช้ า ไม่เร็ว ้ ตัวเองไม่เก่ง • 4.นักเรี ยนยังขาดทักษะกระบวนการคิด การเชื่อมโยง การให้ เหตุผล ใช้ อารมณ์ความรู้สกตนตัดสิน กับปั ญหา ึ
  • 25. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ หาทฤษฎีการเรียนรู้ และการออกแบบการสอน ที่สามารถแก้ ปัญหาได้
  • 26. ทฤษฎีการเรี ยนรู้ ท่ สามารถนามาแก้ ไขปั ญหาได้ ี 1.ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ครูควรจะอธิบาย ชีแจงส่ วนที่เป็ นจุดประสงค์ การเรี ยน ้ และเนื ้อหาให้ ผ้ เู รี ยนได้ คิดตามว่า กาลังจะเรี ยนอะไร เด็กจะทายังไง เรี ยนแล้ ว อะไร สามารถใช้ ได้ จริง 2.ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม เมื่อครูสอนเนื ้อหา ก็ควรจะเชื่ อมโยงความรู้ ประสบการณ์เดิมของนักเรี ยน มาใช้ ในการเรี ยนและการนาไปใช้ ได้ จริงกับ ชีวิตประจาวันของผู้เรี ยน 3.ทฤษฎีคอนสตรั คติวสต์ ครูควรจะเน้ นผู้เรี ยนเป็ นศูนย์ กลาง ให้ ผ้ เู รี ยนได้ ิ ปฏิบติ ทากิจกรรม แก้ ไขปั ญหาด้ วยตนเอง จะสามารถทาให้ เด็กเข้ าใจถึงเนื ้อหา ั และเกิดองค์ความรู้ที่ตอบสนองคาถามภายใต้ ข้อสงสัยของตนเองได้
  • 27. การออกแบบการสอน 1. ครูผ้ ูสอนควรจะเตรียมแผนการสอน เป็ นอย่ างดี เช่ น • เนื ้อหาสาระที่ครอบคลุมกับกลุมสาระรายวิชา ชี ้แจงผลการเรี ยนรู้ที่ ่ คาดหวังให้ เด็กทราบ • มีสื่อการสอนต่างๆ ที่สามารถ ทาให้ เด็กได้ เข้ าใจได้ อย่างมีประสิทธิภาพ เช่น powerpoint วิดทศน์ เป็ นต้ น ิ ั
  • 28. 2. ครูควรจะสร้ างบรรยากาศในชันเรียน ให้ น่าสนใจ เช่ น ้ • การสอนที่มีปฏิสมพันธ์กนระหว่างครูกบนักเรี ยน และนักเรี ยนกับ ั ั ั นักเรียน • มีกิจกรรมคลายเครี ยด ที่ตรงตามการบูรณาการการสอน ที่สอดแทรก เข้ ามาเกี่ยวข้ องกับเนื ้อหาได้ • เน้ นผู้เรี ยนได้ เกิดการเรียนรู้เอง ครูเป็ นเพียงผู้ให้ คาแนะนา ไปสูคาตอบ ่ ในการแก้ ปัญหาต่างๆ
  • 30. การจัดการเรียนรู้โดยใช้ คาถามปลายเปิ ด สถานการณ์ ปั ญหา นักเรี ยนจะเป็ นผู้แก้ ไขปั ญหาเอง โดย ปั ญหานันถูกสร้ างมาเพื่อให้ สามารถ ้ ครูจะเป็ นผู้สงเกตการณ์ตางๆ ั ่ แก้ ได้ หลากหลายวิธีการคิด เพื่อได้ คอยให้ คาปรึกษาแนะ คาตอบเพียงหนึ่งคาตอบ ผู้เรี ยนจะเกิดกระบวนการคิดที่หลากหลาย นักเรี ยนเข้ าใจเกิดความเข้ าใจว่ า แล้ วสามารถนามาแลกเปลี่ยนกับเพื่อนใน เนือหาการเรี ยนสอดคล้ องกับการ ้ ชันเรี ยน ้ นาไปใช้ ได้ ในชีวตประจาวัน ิ
  • 31. สมาชิกในกลุ่ม • นางสาวจุฬาลักษณ์ ทิพวัน 543050014-9 • นางสาวรุจราภรณ์ บัวคา ิ 543050361-8 • นางสาวสุภตรา สอนสนาม ิ 543050370-7 นักศึกษาปริญญาตรีชันปี ที่ 2 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ ศึกษา ้ คณะศึกษาศาสตร์