SlideShare a Scribd company logo
ปริเฉทที่ ๓ วาดวยการเสวยวิมตติสข
ุ ุ

หลังจากที่ตรัสรูเปนพระสัมมาสัมพุทธเจาแลว ทรงประทับเสวย
วิมุตติสุข เปนเวลา ๗ สัปดาห สัปดาหละแหง รวมเปน ๔๙ วัน
ตามลําดับดังนี้ คือ...
สัปดาหที่ ๑ ประทับใตตนพระศรีมหาโพธิ์

ประทับนั่ง...เสวยวิมุตติสุข อยูบนรัตนบัลลังกภายใตรมพระศรีมหาโพธิ์
แลวทรงพิจารณาปฏิจจสมุปบาท (สภาพที่อาศัยปจจัยเกิดขึ้น) โดยอนุโลมและ
ปฏิโลมกลับไปกลับมา แลวทรงเปลงอุทาน (พระวาจาที่เปลงขึ้นโดยความเบิกบาน
พระหฤทัย) ตลอดยาม ๓ แหงราตรีนั้น ดังนี้ คือ...
ในปฐมยาม...
ในปฐมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมื่อใด ธรรมทั้งหลาย (อริยสัจ
๔) ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนันความสงสัย
้
ทั้งปวงของพราหมณนั้น ยอมหมดสิ้นไปเพราะมารูแจงธรรม (กองทุกข)
วาเกิดแตเหตุ.... ”
..
ในมัชฌิมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมือใด ธรรมทั้งหลาย
ยาม...
่
ปรากฏแกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้นความสงสัยทังปวงของ
้
พราหมณนั้น ยอมหมดสิ้นไป เพราะมารูแจงความสิ้นไปแหงปจจัย
ทั้งหลาย วาเปนเหตุสิ้นแหงผลทั้งหลาย ”
ในปจฉิมยาม...ทรงเปลงพระอุทานวา “ เมือใด ธรรมทั้งหลาย ปรากฏ
ยาม...
่
แกพราหมณผูมีความเพียรเพงอยู เมื่อนั้นพราหมณยอมกําจัดมาร
และเสนามารเสียได ดุจดั่งพระอาทิตยอุทัยกําจัดความมืดทําอากาศให
สวางไดฉะนั้น ”
สัปดาหที่ ๒ ประทับอนิมิสเจดีย
พระองคไดเสด็จลงจากรัตนบัลลังก เสด็จไปประทับยืนทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือ แลวประทับยืนจองพระเนตรดูตนพระ
ศรีมหาโพธิ์ โดยไมกระพริบพระเนตร เปนเวลา ๑ สัปดาห (๗
วัน) บริเวณที่ประทับยืนนั้นเรียกวา อนิมสสเจดีย
ิ

สัปดาหที่ ๓ ประทับรัตนจงกรมเจดีย
พระองคไดทรงเสด็จมาประทับอยู ณ ระหวางกลางแหงตน
พระศรีมหาโพธิ์กับอนิมิสสเจดีย ทรงนิรมิตที่จงกรมขึ้นตรง
ระหวางกลางแลวเสด็จจงกรม ณ ที่นั้น เปนเวลา ๑ สัปดาห
บริเวณนี้เรียกวา...รัตนจงกรมเจดีย
...รั
สัปดาหที่ ๔ ประทับรัตนฆรเจดีย
พระองคไดเสด็จจากรัตนจงกรมเจดีย มาประทับนั่งพิจารณา
พระอภิธรรมปฏกอยูที่เรือนแกวที่เทวดาเนรมิตถวาย ซึ่งตั้งอยู
ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือของตนพระศรีมหาโพธิ์ เปนเวลา
๑ สัปดาห สถานที่นี้เรียกวา รัตนฆรเจดีย

สัปดาหที่ ๕ ประทับตนอชปาลนิโครธ
พระองคไดเสด็จจากรัตนฆรเจดีย มาที่ตนไมอชปาลนิโครธ

หรือตนไทร ประทับเสวยวิมตติสุข ขณะนันมีพราหณคนหนึ่ง
ุ
้
ซึ่งเปนผูมีความเห็นวา สิ่งที่เห็นแลวเปนมงคล ผูเปนหุหุกชาติ
ซึ่งชอบตวาดผูอื่นวา “หึ หึ” เขาไปกราบทูลถามพระพุทธเจา
ถึงธรรมที่ทําใหบุคคลเปนพราหณ พระองคก็ไดยกเอาธรรมที่
ทําใหบุคคลเปนสมณะ แตทรงเปลี่ยนจากสมณะมาเปนพราหณ
โดยตรัสวา “ พราหณ ผูใดมีบาปธรรม อันลอยเสียแลว ไมมี
กิเลิสเครื่องขูผูอื่นวา หึ หึ ซึ่งเปนคําหยาบ ปราศจากกิเลส
เครื่องยอมจิตใหติดแนน ดุจน้ําฝาด มีตนสํารวมแลว ถึงที่สด
ุ
แหงเวทนาแลว อยูจบพรหมจรรยแลว ไมมีกเิ ลสแมนอยหนึ่ง
ควรกลาวไดวา ตนเปนพราหณแลวโดยธรรม ”
********************
สัปดาหที่ ๖
ประทับที่ตน
มุจลินท
พระองคไดเสด็จจากตนอชปาลนิโครธมาประทับนั่งใตตนมุจลินท

หรือตนจิก ประทับเสวยวิมุตติสุขอยู ๗ วัน ในขณะที่ประทับนั่ง
อยูนั้นฝนไดตกพรําตลอดเวลา พญานาคมุจลินทเกิดความเลื่อมใสจึง
ทําขนดแผพังพาน ๗ รอบ ปกคลุมเหนือพระเศียรเพื่อมิใหลมและ
ฝนตกกระทบใสพระวรกายของพระพุทธองคได.....
...
เมื่อฝนหยุดตก พญานาคก็ไดแปลงกายเปนมาณพยืน
อภิวาทแลวไดหลีกไป สวนพระพุทธองคไดเปลงพระ
อุทานวา “ ความสงัดเปนสุข สําหรับบุคคลผูมธรรม
ี
อันเห็นแลว ยินดีในที่สงัดรูเห็นตามความเปนจริง
ความไมเบียดเบียน คือความสํารวมในสัตวทั้งหลาย
และความปราศจากความกําหนัด คือความลวงกาม
เสียไดเปนสุขในโลก ความนําอัสมิมานะ ถือตัวออก
ไปเปนสุขอยางยิ่ง”
*******************
สัปดาหที่ ๗
ประทับที่
ตนราชายตนะ
พระองคไดเสด็จจากตนมุจลินทรมาที่ตนราชายตนะ หรือไมเกตุ
ประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขอยู ๗ วัน ขณะนันมีพอคา ๒ คน คือ.
้
ตปุสสะและภัลลิกะ เปนพี่เปนนองกันเดินทางผานมาพบทั้งสอง
ไดเกิดความเลื่อมใสศรัทธา...
ธา...
มาณพทั้งสองจึงไดนอมเอาขาวสัตตุผงและสัตตุกอนเขาไปถวาย

และไดประกาศตนเปนอุบาสก โดยถึงพระพุทธองคและพระธรรม
เปนสรณะจนตลอดชีวต...
ิ
(รวมเวลาเสวยวิมุตติสขในสถานที่เหลานี้
ุ
เปนเวลา ๗ สัปดาห ๔๙ วัน )
ทรงเปรียบบุคคล
เหมือนกับ
ดอกบัว ๔ เหลา

ครั้นครบ ๗ วันแลว ก็เสด็จออกจากรมไมราชายตนะ ได
เสด็จกับไปที่ตนอชปาลนิโครธอีก ทรงดําริถึงธรรมที่ไดตรัส
รูแลววา “เปนของที่ลึกซึ้งยากที่ใครๆจะรูตามได”
แตไดทรงอาศัยพระมหากรุณาในหมูสัตวก็ทรงทราบดวย
ปญญาวา เหลาชนทั้งหลายยอมมีอุปนิสัยที่แตกตางกันโดย
แบงออกเปน ๔ จําพวก เปรียบเหมือนดอกบัว ๔ เหลา
ดังนี้ คือ...
๑. อุคฆฏิตัญู
ไดแก.... บุคคลผูมีปญญาดี มีกิเลส
..
เบาบาง เพียงทานยกหัวขอขึ้นแสดง
ก็สามารถรูไดทันที เหมือนดอกบัวที่
ขึ้นพนจากน้ําแลว พอตองแสงพระ
อาทิตยก็เบงบานในทันที....
..

๒. วิปจิตัญู
ไดแก.... บุคคลผูมีปญญาปานกลาง
..
เมื่อไดฟงซ้ําอีกครั้งหนึ่ง ก็สามารถ
บรรลุธรรมได เหมือนดอกบัวที่ขึ้น
เสมอน้ํา และจักบานในวันพรุงนี้....
..
๓. เนยยะ
ไดแก.... บุคคลผูมีปญญานอย แต
..
พอจะแนะนําได เมื่อไดฟงบอยๆ
และทําความเพียรบอยๆก็สามารถ
บรรลุธรรมได เหมือนดอกบัวที่
อยูใตน้ํา ซึ่งจะบานในวันตอๆไป

๔. ปทปรมะ

ไดแก.... บุคคลผูดอยปญญายากที่จะ
..
สั่งสอนได สอนใหรูแตเพียงบทคือ
พยัญชนะหรือถอยคําแตไมสามารถ
จะเขาใจได เหมือนดอกบัวที่ยังจม
อยูในน้ําโคลนตม ยอมเปนอาหาร
ของปลาและเตา...
ครั้นพระสัมมาสัมพุทธเจาทรงทราบ
พระปญญาวา ผูที่ควรจะตรัสรูธรรม
ไดมีอยูอยางนี้แลว จึงทรงตั้งพระทัยที่
จะแสดงธรรม สั่งสอนแกมหาชนซึ่ง
เรียกวา “อายุสังขาราธิษฐาน”
ฐาน”

จึงทรงดําริถึงบุคคลที่ควรจะรับเทศนา
ครั้งแรก โดยทรงระลึกถึงอาจารย ๒
ทานคือ อาฬารดาบสและอุททกดาบส
วามีกิเลสเบาบาง มีสติปญญาจะรูถึง
ธรรมะได แตวาทานทั้งสองไดสิ้นชีพ
เสียแลว...
แสดงปฐมเทศนา
โปรด “ปญจวัคคีย”

ทั้ง ๕ ทาน

พอทราบเชนนี้แลว จึงทรงระลึกถึงพวกปญจวัคคีย ซึ่งไดเคย
อุปฏฐากดูแลเมื่อครั้งทรงบําเพ็ญเพียร ทรงเห็นวาควรแสดงธรรม
แกทานเหลานี้กอน ครั้นดําริเชนนี้แลวไดเสด็จดําเนินไปโดยทาง
ที่จะไปยังเมืองพาราณสี....
..
เมื่อเสด็จมาถึงระหวางแมน้ําคยากับตนพระมหาโพธิตอกัน
งแม
ต
์
ไดพบกับอุปกาชีวกคนหนึ่งสวนทางมา อุปกาชีวกพอเห็นรัศมีก็
นึกประหลาดใจ ใครอยากทราบวา ใครเปนศาสดาของพระองค
จึงเขาไปทูลถามจนทราบวา พระองคเปนสยัมภูตรัสรูเองโดยชอบ
ดวยพระองคเอง ไมมีใครเปนครู แตอุปกาชีวกไมเชื่อ ไดแตสน
ั่
ศรีษะแลวหลีกหนีไป สวนพระองคก็ไดเสด็จไปตอ จนลุถึงปา
“อิสิปตนมฤคทายวัน” ซึ่งเปนที่อยูของปญจวัคคีย ทั้ง ๕
****************************
พวกปญจวัคคีย พอเห็นพระพุทธองคเสด็จมาก็ไดทํากติกากันวา
สมณะนีไดคลายความเพียร เปนคนมักมาก พวกเราอยาไดลุกขึ้น
้
ตอนรับ อยารับบาตรและจีวรเลย เพียงแตปูอาสนะไวเทานั้นก็พอ
ถาพระองคอยากประทับนั่ง ก็จะประทับนั่งเอง...
เอง...
เมื่อพระองคเสด็จมาถึง ดวยความเคยชินตางลืมกติกากันหมด
เขาไปตอนรับอยางดี แตยังติดทักทายดวยถอยคําวา อาวุโส และ
จะเรียกวาพระโคดม ซึงเปนกิริยาวาจาที่ไมเคารพ พระพุทธองคก็
่
ไดตรัสหามวา “บัดนี้ เราไดบรรลุอมตธรรมแลว เธอทั้งหลายจง
ฟงเถิด เมื่อพวกเธอปฏิบัติตามที่เรากลาวสอน พวกเธอก็จักได
บรรลุอมตธรรมได” พวกปญจวัคคียก็ไมเชื่อคําที่ทรงตรัสบอก
จึงตรัสย้ําอีกวา “เราเคยกลาวถอยคําเชนนี้กับพวกทานหรือไม”
ในทีสุดปญจวัคคียก็ระลึกไดวา พระวาจาเชนนี้พระองคไมเคย
่
ตรัสเลย จึงยอมรับฟงดวยความเคารพ...
ยความเคารพ...
********************
ในวันเพ็ญเดือน อาสาฬหมาส (๑๕ ค่ํา เดือน ๘) พระองคก็ได
ทรงตรัสเรียก ปญจวัคคียทั้ง ๕ มาชุมนุมกัน แลวไดทรงแสดง
ปฐมเทศนาชื่อวา “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร”
ร”
โดยแสดง ๒ วาระ คือ...
วาระแรก...
วาระแรก...
ทรงแสดงทางสุดโตง
๒ สาย คือ
(บรรพชิตไมควรทํา)

1. กามสุขลลิกานุโยค คือ การหมกมุนอยูดวยกามสุข
ั
2. อัตตกิลมถานุโยค คือ การทรมานกายใหลําบาก
วาระที่สอง...ทรงแสดงทางสายกลาง
อง...ทรงแสดงทางสายกลาง
ที่บรรพชิตควรดําเนิน คือ
1. มรรค มีองค ๘
2. อริยสัจ ๔
- ทุกข
- สมุทย
ั
- นิโรธ
- มรรค
เนื้อหาโดยยอ...ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
...ธั
วาระแรก...
วาระแรก...

วาระที่สอง...
อง...

ทรงแสดงทางสุดโตง ๒ สาย
(ที่บรรพชิตไมควรดําเนิน คือ)

ทรงแสดงทางสายกลาง
(ที่บรรพชิตควรดําเนิน คือ)

1. กามสุขัลลิกานุโยค คือ การ
หมกมุนอยูดวยกามสุข
2. อัตตกิลมถานุโยค คือ การ
ทรมานกายใหลําบาก

มรรคมีองค ๘
- สัมมาทิฏฐิ
- สัมมาสังกัปปะ
- สัมมาวาจา
- สัมมากัมมันตะ
- สัมมาอาชีวะ
- สัมมาวายามะ
- สัมมาสติ
- สัมมาสมาธิ

อริยสัจ ๔
- ทุกข
- สมุทัย
- นิโรธ
- มรรค
หลังจากจบพระธรรมเทศนา ในบรรดาปญจวัคคียทั้ง ๕
ธรรมจักษุคือดวงตาเห็นธรรม ไดเกิดเฉพาะทานโกณฑัญญะ
วา “ สิ่งใดสิ่งหนึ่งมีความเกิดขึ้นเปนธรรมดา สิ่งนั้นทั้งหมด
มีความดับไปเปนธรรมดา ”
พระพุทธองคทรงทราบ
ดวยญาณทัศนะวา
โกณฑัญญะ
ไดดวงตาเห็นธรรมแลว จึง
ทรงเปลงพระอุทานวา

อฺญาสิ วต โภ โกณฺฑฺโญ โกณฑัญญะ ไดรูแลวหนอ ๆ
ตั้งแตบัดนั้นมา ทานโกณฑัญญะจึงไดมีชื่อใหมวา
“ อัญญาโกณฑัญญะ ”
ทรงบําเพ็ญ “พุทธกิจ” 5 ประการ

หลังจากตรัสรูแลว นอกจากจะแสดงธรรมโปรดสรรพสัตว
ทั้งหลาย พระองคยังทํา พุทธกิจ ซึ่งเปนกิจวัตรไม
เคยขาดเลยแมแตวันเดียว คือ...
ตอนเชาเสด็จออก
บิณฑบาตพรอม
กับเหลาพระสาวก

เวลาเย็น
ทรงแสดงธรรม
ตอนค่ําแสดง
โอวาทแก
เหลาพระสาวก
เที่ยงคืน
แกปญหากับ
เหลาเทวดา
รุงเชามืดใกลสวาง...
ง...
ตรวจดูสรรพสัตวที่ควรตรัสรูธรรม
และเสด็จไปโปรด

จบ..ปริ
จบ..ปริเฉทที่ ๓

More Related Content

What's hot

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติOnpa Akaradech
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานAnchalee BuddhaBucha
 
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
maruay songtanin
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
Padvee Academy
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิOnpa Akaradech
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒Jiraprapa Noinoo
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
Padvee Academy
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
Gawewat Dechaapinun
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
Happy Sara
 

What's hot (20)

พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
บทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติบทที่ 3 วิมุตติ
บทที่ 3 วิมุตติ
 
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐานธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
ธัมมานุปัสสนาสติปัฏฐาน
 
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
๑๐ สิงคาลกสูตร (ทิศ ๖) มจร.pdf
 
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน pptอสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
อสุภ 10 สมถกัมมัฏฐาน ppt
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
บทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิบทที่ 4 วิสุทธิ
บทที่ 4 วิสุทธิ
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒วังสัฏ  ฉันท์ ๑๒
วังสัฏ ฉันท์ ๑๒
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาและปรัชญา
 
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
บทที่ 4  กิริยาศัพท์บทที่ 4  กิริยาศัพท์
บทที่ 4 กิริยาศัพท์
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ กับการเวียนว่ายตายเกิด
 

Similar to ปริเฉทที่ 3

๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
maruay songtanin
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตTaweedham Dhamtawee
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
maruay songtanin
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Nid Noy Kaowkong
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Jariya Huangjing
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Chutima Tongnork
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
maruay songtanin
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Wat Thai Washington, D.C.
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕Tongsamut vorasan
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
Totsaporn Inthanin
 

Similar to ปริเฉทที่ 3 (19)

วันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชาวันอาสาฬหบูชา
วันอาสาฬหบูชา
 
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf๐๘ เหมกปัญหา.pdf
๐๘ เหมกปัญหา.pdf
 
วันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษาวันเข้าพรรษา
วันเข้าพรรษา
 
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
๐๒ อริยสัจสี่ พระอภิธรรม มจร.pdf
 
Buddha
BuddhaBuddha
Buddha
 
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโตธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
ธรรมะเสวนา หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf๐๕ โธตกปัญหา.pdf
๐๕ โธตกปัญหา.pdf
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
๑๖ มูลปริยายสูตร มจร.pdf
 
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011 Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
Saengdhamam Vol. 36 No. 431 March 2011
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
คู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัทคู่มือพุทธบริษัท
คู่มือพุทธบริษัท
 
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
3 35คัณฐีพระธัมมปทัฏฐกถา+ยกศัพท์แปล+ภาค๕
 
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdfทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
ทำวัตรเย็น แปล powerpoint 18 หน้า.pdf
 

More from Onpa Akaradech

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Onpa Akaradech
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยOnpa Akaradech
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeOnpa Akaradech
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหารOnpa Akaradech
 

More from Onpa Akaradech (6)

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวยตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
ตัวอย่างห้องน้ำสะอาดสวย
 
นิสัย
นิสัยนิสัย
นิสัย
 
ห้องทำงานEee
ห้องทำงานEeeห้องทำงานEee
ห้องทำงานEee
 
ห้องอาหาร
ห้องอาหารห้องอาหาร
ห้องอาหาร
 

ปริเฉทที่ 3