SlideShare a Scribd company logo
ไตรภูมิพระร่วง
ตอน มนุสสภูมิ
บทนำ
ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์
เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงเปลี่ยนชื่อหนังสือเล่มนี้เป็น ไตรภูมิพระร่วง เพื่อเฉลิม
พระเกียรติพระร่วงจ้าแห่งกรุงสุโขทัยให้คู่กับหนังสือสุภาษิตพระร่วง
หอพระสมุดวชิรญาณได้ต้นฉบับไตรภูมิพระร่วงมาจากจังหวัดเพชรบุรี เป็นใบลาน
๑๐ ผูก จารด้วยอักษรขอมในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระมหาช่วย วัดปากน้า (วัด
กลาง จังหวัดสมุทรปราการ ในปัจจุบัน) เป็นผู้จาร หอพระสมุดวชิรญาณ ได้ถอดความ
ออกเป็นอักษรไทย โดยมิได้แก้ไขถ้อยคาไปจากต้นฉบับเดิม
ผู้แต่ง
หนังสือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีทางศาสนาที่สาคัญเล่มหนึ่ง ในสมัยสุโขทัย ซึ่ง
มีอิทธิพลต่อคนไทยมาก พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) ได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น
หลังจากที่ทรงผนวชแล้ว และขึ้นครองราชย์ได้ ๖ ปี ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙๖
พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๖ แห่งกรุงสุโขทัย ขึ้น
ครองราชย์ต่อจากพญางัวนาถม จากหลักฐานในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ พ.ศ. ๑๙๓๕ หลักที่
๘ ข. ค้นพบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ เมื่อพญาเลอไทสวรรคต ใน พ.ศ. ๑๘๘๔ พญางัวนาถมได้ขึ้น
ครองราชย์ ต่อมาพญาลิไทยกทัพมาแย่งชิงราชสมบัติ และขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. ๑๘๙๐
ทรงพระนามว่า พระเจ้าศรีสุริยพงสรามมหาธรรมราชาธิราช ในศิลาจารึกมักเรียกพระนาม
เดิมว่า พญาลิไท หรือเรียกย่อว่า พระมหาธรรมราชาที่ ๑ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๑๑
พญาลิไท ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ทรงอาราธนาพระเถระชาวลังกาเข้ามาเป็น
สังฆราชในกรุงสุโขทัย ได้สละราชสมบัติออกทรงผนวชที่วัดป่ามะม่วง นอกเมืองสุโขทัยทาง
ทิศตะวันตก พญาลิไททรงมีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก ทรงสนพระทัยทานุบารุง
พระพุทธศาสนาเป็นอันมาก และทรงพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญหลายประการ เช่น สร้างถนน
พระร่วง ตั้งแต่เมืองศรีสัชนาลัยผ่านกรุงสุโขทัยไปถึงเมืองนครชุม (กาแพงเพชร) บูรณะเมือง
นครชุม สร้างเมืองสองแคว (พิษณุโลก) เป็นเมืองลูกหลวง และสร้างพระพุทธชินราช พระ
พุทธชินสีห์ ที่ฝีมือการช่างงดงามเป็นเยี่ยม
งานพระราชนิพนธ์ของพญาลิไท ได้แก่ ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถาศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง
และศิลาจากรึกวัดศรีชุม เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ กล่าวถึงเหตุการณ์และ
ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆการสร้างวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ การผนวชที่วัดป่ามะม่วง
เป็นต้น
จุดมุ่งหมำยในกำรแต่ง
มี ๒ ประการ เพื่อเทศนาโปรดพระมารดา เป็นการเจริญธรรมกตัญญูประการหนึ่ง อีก
ประการหนึ่ง เพื่อใช้สั่งสอนประชาชนให้มีคุณธรรม เข้าใจพุทธศาสนา และช่วยกันดารง
พุทธศานาไว้ให้มั่นคง
ลักษณะคำประพันธ์
ร้อยแก้ว ประเภทความเรียงสานวนพรรณนา
เนื้อหำ
หนังสือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ที่พญาลิไททรงรวบรวมเนื้อหา
สาระจากคัมภีร็ต่าง ๆ ในพุทธศาสนา ทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถา และอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า ๓๐
คัมภีร์ จึงจัดได้ว่าเป็นพระราชนิพนธ์ประเภทค้นคว้ารวบรวมที่ดีเล่มหนึ่ง เนื้อเรื่องเริ่มต้น
ด้วยคาถานมัสการเป็นภาษาบาลี มีบานแพนกบอกชื่อผู้แต่ง วันเดือนปีที่แต่ง ชื่อคัมภีร์ต่าง
ๆ บอกจุดมุ่งหมายในการแต่ง แล้วจึงกล่าวถึงภูมิทั้ง ๓ คาว่า เตภูมิ หรือ ไตรภูมิ แปลว่า
สามแดน คือ กามภูมิ รูปภูมิอรูปภูมิ ทั้ง ๓ ภูมิ แบ่งออกเป็น ๘ กัณฑ์ (กัณฑ์ = เรื่อง
,หมวด,ตอน)แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง ความไม่แน่นอนทั้งมนุษย์และสัตว์
รวมทั้งสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ภูเขา แม่น้า แผ่นดิน ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ความเปลี่ยนแปลงนี้กวี
ไทยเรียกว่า “ อนิจจลักษณะ ”ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า ไตรภูมิกถา / เตภูมิกถา
หมายถึงเรื่องราวของโลกทั้ง ๓ ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ
กามภูมิ คือ โลกของผู้ที่ยังติดอยู่ในกามกิเลส แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ได้แก่ ๑.
สุคติภูมิ ๒. อบายภูมิ
๑.สุคติภูมิ ได้แก่
๑.๑ มนุสสภูมิ ( โลกมนุษย์ )
๑.๒ สวรรคภูมิ (ฉกามาพจรภูมิ)
๑.๒.๑ จาตุมหาราชิกา
๑.๒.๒ ดาวดึงส์
๑.๒.๓ ยามา
๑.๒.๔ ดุสิต
๑.๒.๕ นิมมานรดี
๑.๒.๖ ปรนิมมิตวสวัตดี
๒. อบายภูมิ ได้แก่
๒.๑ นรกภูมิ ( มี ๘ ขุม )
๒.๒ ดิรัจฉานภูมิ
๒.๓ เปรตภูมิ
๒.๔ อสูรกายภูมิ
รูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมที่มีรูป มี ๑๖ ชั้น (โสฬสพรหม )
อรูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมที่ไม่มีรูป มีแต่จิตหรือวิญญาณ
ทวีปที่มนุษย์อาศัยอยู่มี ๔ ทวีป ได้แก่
๑. อุตรกุรุทวีป อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ ในทวีปนี้ มีลักษณะ
ใบหน้าเป็นรูป ๔ เหลี่ยม รักษาศีล ๕ เป็นนิจ มีอายุ ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี เป็นหนุ่มสาวอยู่
เสมอ อาศัยอยู่ตามโพรงไม้ ไม่ต้องทางานใด ๆ แต่งตัวสวยงาม มีกับข้าวและที่นอนเกิดขึ้น
ตามใจปรารถนา
๒. บูรพวิเทหทวีป อยู่ทางทิศตะวันออก ของภูเขาพระสุเมรุ มีใบหน้าตอนบนโค้งตัดลงมา
เหมือนบาตร มีอายุ ประมาณ ๗๐๐ ปี
๓. อมรโคยานทวีป อยู่ทางทิศตะวันตก ของภูเขาพระสุเมรุ มีใบหน้าวงกลม คล้ายวง
พระจันทร์ มีอายุ ประมาณ ๕๐๐ ปี
๔. ชมพูทวีป อยู่ทางทิศใต้ ของภูเขาพระสุเมรุ คือ มนุษย์โลกนี้เอง อายุขัยไม่แน่นอนขึ้นอยู่
กับการทาบุญหรือทากรรม แต่ทวีปนี้ก็พิเศษกว่า ๓ ทวีปคือ เป็นที่เกิดของพระพุทธเจ้า พระ
จักรพรรดิราช และพระอรหันต์
การเกิดเป็นพรหมชั้นต่าง ๆ
๑. ปฐมฌานภูมิ ๓
๑.๑ ผู้เจริญปฐมฌานได้เพียงขั้นเล็กน้อย (ปริตฺต) จะเกิดเป็น พรหม ปาริสัชชา พรหม
บริวาร
๑.๒ ผู้เจริญปฐมฌานได้ปานกลาง (มชฺฌิม) จะเกิดเป็นพรหมชั้นปุโรหิต
๑.๓ ผู้เจริญปฐมฌานได้ขั้นประณีต (ปณีต) จะเกิดเป็นพรหมชั้น ท้าวมหาพรหม หรือ
มหาพรหมา
๒. ทุติยฌานภูมิ ๓
๒.๑ ผู้เจริญทุติยฌานได้เล็กน้อย จะเกิดเป็นพรหมชั้นปริตตาภา แปลว่า ผู้มีรัศมีน้อย
๒.๒ ผู้เจริญทุติยฌานได้ปานกลาง จะเกิดเป็นพรหมชั้น อัปปมาณาภา แปลว่า ผู้มีรัศมี
มีประมาณไม่ได้
๒.๓ ผู้เจริญทุติยฌานได้ขั้นประณีต จะเกิดเป็นพรหมชั้น อาภัสสรา แปลว่า ผู้มี รัศมี
เปล่งซ่านไป
๓. ตติยฌานภูมิ
๓.๑ ผู้เจริญตติยฌานภูมิได้เล็กน้อย จะเกิดเป็นพรหมชั้น ปริตตสุภา แปลว่า ผู้มีรัศมี
ความงามน้อย
๓.๒ ผู้เจริญตติยฌานได้ปานกลาง จะเกิดเป็นพรหม ชั้น อัปปมาณสุภา แปลว่า ผู้มี
รัศมีความงามหาประมาณมิได้
๓.๓ ผู้เจริญตติยฌานได้ขั้นประณีต จะเกิดเป็นพรหมชั้น สุภกิณหา แปลว่า ผู้มีรัศมีงาม
กระจ่าง
การแบ่งฌานเป็นขั้นเล็กน้อย ปานกลางและประณีตนั้น อาศัยขั้นตอนการบรรลุถ้าบรรลุด้วย
อิทธิบาทน้อยก็เป็นฌานเล็กน้อย ใช้ความเพียรขั้นกลางก็เป็นมัชฌิมฌาน ใช้ความเพียรขั้น
อุกฤษฏ์ก็เป็นปณีตฌาน
๔. จตุตถฌานภูมิ ๓ อย่างย่อ และ ๗ อย่างพิสดาร ดังนี้
๔.๑ เวหัปผลา ผู้มีผลอันไพบูลย์
๔.๒ อสัญญีสัตว์ ผู้ไม่มีสัญญา
๔.๓ สุทธาวาส ๕ ที่อยู่ของท่านผู้บริสุทธิ์ คือ พระอนาคามี
๑. อวิหา ผู้ไม่เสื่อมฐานะของตน โดยกาลเล็กน้อย อยู่นาน (เจริญสัทธินทรีย์)
๒. อตัปปา ผู้ไม่เดือดร้อน (เจริญวิริยินทรีย์)
๓. สุทัสสา ผู้งดงามน่าทัศนา (เจริญสตินทรีย์ )
๔. สุทัสสี ผู้น่าทัศนาเพราะบริสุทธิ์ (สมาธินทรีย์)
๕. อกนิฏฐา ผู้ไม่เล็กน้อยด้อยกว่าใคร (ปัญญินทรีย์)
ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ
การเกิดมนุษย์
ปฏิสนธิ ; กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของเส้นผม)
7 วัน ; อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ)
14 วัน ; เปสิ (ชิ้นเนื้อ)
21 วัน ; ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่)
28 วัน ; เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน2 ขา2) ครบ 1 เดือน
35 วัน ; มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ
42 วัน ; มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์)
50 วัน ; ท่อนล่างสมบูรณ์
84 วัน ; ท่อนบนสมบูรณ์
184 วัน ; เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ (6เดือน)
การคลอด
ท้อง 6 เดือนคลอด ;ไม่รอด (บ่ห่อนได้สักคาบ)
ท้อง 7 เดือนคลอด ;ไม่แข็งแรง (บ่มิได้กล้าแข็ง)
การเกิด
มาจากสวรรค์ ; ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ
มาจากนรก ; ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้
กาลทั้ง 3 ได้แก่
กาล 1 ; แรกเกิดในท้องแม่
กาล 2 ; อยู่ในท้องแม่
กาล 3 ; ออกจากในท้องแม่
* คนธรรมดา ; ไม่รู้ตัว จาไม่ได้ทั้ง 3 กาล
* พระปัจเจกโพธิเจ้า/ พระอรหันตาขีณาสพเจ้า / พระอัครสาวกเจ้า ; 2 กาลแรกรู้ตัว จาได้
แต่ลืมกาลที่ 3
ลักษณะเด่น
หนังสือไตรภูมิพระร่วง ถึงแม้ว่าเป็นวรรณคดีโบราณที่ใช้ภาษาไทยแบบเก่า และมีศัพท์
ทางพระพุทธศาสนาปะปนอยู่มาก ทาให้ยากแก่การอ่านสาหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางพุทธ
ศาสนามาก่อนก็ตาม แต่สานวนพรรณนาที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้มีความแจ่มแจ้ง ไพเราะ ช่วยให้
เกิดจินตภาพหลายตอน และทาให้เกิดความรู้สึกคล้อยตามไปด้วยเช่น ตอนพรรณนาถึง
ความน่ากลัวในนรกภูมิ และความสุขสบายในสวรรค์ เป็นต้น ทุก ๆ ตอนที่กล่าวถึงเรื่องใด
เรื่องหนึ่ง ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้ทรงอธิบายตอนนั้นอย่างละเอียด กระบวนพรรณนาที่แจ่ม
แจ้งแลเห็นจริงจังอันควรยกมาเป็นตัวอย่าง เช่น ตอนพรรณนาลักษณะของเปรต ได้กล่าว
เอาไว้ชัดเจน ดังนี้
" เปรตลางจาพวก ตัวเขาใหญ่ ปากเขาน้อยเท่ารูเข็มนั้นก็มี เปรตลางจาพวกผอมหนัก
หนา เพื่ออาหารจะกินบมิได้ แม้ว่าจะขอดเอาเนื้อน้อย ๑ ก็ดี เลือดหยด ๑ ก็ดี บมิได้เลย เท่า
ว่ามีแต่กระดูกและหนังพอกกระดูกภายนอกอยู่ไส้ หนังท้องนั้นเหี่ยวติดกระดูกสันหลังแล ตา
นั้นลึกและกลวงดังแสร้งควักเสีย ผมเขานั้นยุ่งรุ่ยร่ายลงมาปกปากเขา มาตรว่าผ้าร้ายน้อย
หนึ่งก็ดี และจะมีปกกายเขานั้นก็หามิได้เลย เทียรย่อมเปลือยอยู่ ชั่วตนเขานั้นเหม็นสาบพึง
เกลียดนักหนาแลเขานั้นเทียรย่อมเดือดเนื้อร้อนใจเขาแล เขาร้องไห้ร้องครางอยู่ทุกเมื่อแล
เพราะว่าเขาอยากอาหารนักหนาแล "
คุณค่ำของหนังสือ
๑. ด้านภาษาและสานวนโวหาร
เป็นวรรณคดีเล่มแรกที่เรียบเรียงในลักษณะการค้นคว้าจากคัมภีร์ต่าง ๆ ถึง ๓๐คัมภีร์ จึงมี
ศัพท์ทางศาสนาและภาษาไทยโบราณอยู่มาก สามารถนามาศึกษาการใช้ภาษาในสมัยกรุง
สุโขทัย ตลอดจนสานวนโวหารต่าง ๆ ไตรภูมิพระร่วงมีสานวนหนักไปในทางศาสนาโวหาร
และพรรณนาโวหาร ผูกประโยคยาว และใช้ถ้อยคาพรรณนาดีเด่น สละสลวยไพเราะ
ก่อให้เกิดความรู้สึกด้านอารมณ์สะเทือนใจและให้จินตภาพหรือภาพในใจอย่างเด่นชัด เช่น "
บ้างเต้นบ้างราบ้างฟ้อน ระบาบันลือเพลงดุริยดนตรี บ้างดีดบ้างสีบ้างตีบ้างเป่า บ้างขับศัพท์
สาเนียง หมู่นักคุณจุณกันไปเดียรดาษพื้น ฆ้องกลองแตรสังข์ระฆังกังสดาลมโหระทึกกึกก้อง
ทานุกดี ที่มีดอกไม้อันตระการ่ต่าง ๆ สิ่ง มีจวงจันทน์กฤษณาคันธาทานอง ลบองดังเทพยดา
ในเมืองฟ้า สนุกนี้ทุกเมื่อบาเรอกันบมิวาย "
๒. ด้านความรู้
๒.๑ ด้านวรรณคดี ทาให้คนชั้นหลังได้รับความรู้ทางวรรณคดี อันเป็นความคิดของคน
โบราณ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของวรรณคดีไทย เช่น พระอินทร์ แท่นบัณพุกัมพล ช้างเอราวัณ
เขาพระสุเมรุ ป่าหิมพานต์ต้นปาริชาติ ต้นนารีผล นรก สวรรค์ เป็นต้น
๒.๒ ด้านภูมิศาสตร์ เป็นความรู้ทางภูมิศาสตร์ของคนโบราณ
โดยเชื่อว่าโลกมีอยู่ ๔ ทวีป ได้แก่ ชมพูทวีป บุรพวิเทหทวีป อุตตรกุรุทวีป และอมรโคยาน
ทวีป โดยมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง
๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม
๓.๑ คาสอนทางศาสนา ไตรภูมิพระร่วงสอนให้คนทาบุญละบาป เช่น การทาบุญรักษา
ศีลเจรฐสมาธิภาวนาจะได้ขึ้นสวรรค์การทาบาปจะตกนรก แนวความคิดนี้มีอิทะพลเหนือน
จิตใจของคนไทยมาช้านาน เป็นเสมือนแนวการสอนศีลธรรมของสังคม ให้คนปฏิบัติชอบซึ่ง
เป็นประโยชน์ต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
๓.๒ ค่านิยมเชิงสังคม อิทธิพลของหนังสือเล่มนี้ให้ค่านิยมเชิงสังคมต่อคนไทย ให้ตั้งมั่น
และยึดมั่นในการเป็นคนใจบุญ มีเมตตากรุณา รักษศีล บาเพ็ญทาน รู้จักเสียสละ เชื่อมั่นใน
ผล แห่งกรรม
๓.๓ ศิลปกรรม จิตรกรนิยมนาเรื่องราวและความคิดในไตรภูมิพระร่วงไปเขียนภาพสีไว้
ในโบสถ์วิหาร โดยจะเขียนภาพนรกกไว้ที่ผนังด้านล่างหรือหลังองค์พระประธาน และเขียน
ภาพสวรรค์ไว้ที่ผนังเบื้องบนรอบโบสถ์วิหาร
๔. ด้านอิทธิพลต่อวรรณคดีอื่น
มีหนังสืออ้างอิงทานองไตรภูมิพระร่วง ที่มีผู้แต่งเลียนแบบอีกหลายเล่ม เช่น จักรวาล
ทีปนี ของ พระสิริมังคลาจารย์แห่งเชียงใหม่ไตรภูมิโลกวินิจฉัย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเล่าเรื่องไตรภูมิ เป็นต้น
ไตรภูมิพระร่วงมีอิทธิพลสาคัญต่อแนวคิดของกวีรุ่นหลัง โดยนาความคิดในไตรภูมิพระ
ร่วงสอดแทรกในวรรณคดีต่าง ๆ เช่น ลิลิตโองการแช่งน้า มหาเวสสันดรชาดก รามเกียรติ์
กากีคากลอนขุนช้างขุนแผน ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ลิลิตโองการแช่งน้า กล่าวถึงไฟบรรลัยกัลป์ล้างโลก
" นานาอเนกน้าวเดิมกัลป์ จักร่าจักรพาฬหเมื่อไหม้
กล่าวถึงตะวันเจ็ดอันพลุ่ง น้าแล้งไข้ขอดหาย "
รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ กล่าวถึงทวีปทั้ง ๔ ว่า
" สาแดงแผลงฤทธิ์ฮีกฮัก ขุนยักษ์ไล่ม้วนแผ่นดิน
ชมพูอุดรกาโร อมรโคยานีก็ได้สิ้น "
รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ กล่าวถึงปลาอานนท์
" เขาสุเมรุเอนเอียงอ่อนละมุน อานนท์หนุนดินดานสะท้านสะเทือน "
กากีคากลอน กล่าวถึงแม่น้าสีทันดร
" ....................................... ในสาครลึกกว้างกลางวิถี
แม้จะขว้างหางแววมยุรี ก็จมลงถึงที่แผ่นดินดาน
อันน้านั้นสุขุมละเอียดอ่อน จึงชื่อสีทันดรอันใสสาร
ประกอบด้วยมัจฉากุมภาพาล คชสารเงือกน้าและนาคิน "
ขุนช้างขุนแผน กล่าวถึงป่าหิมพานต์
" ม่านนี้ฝีมือวันทองทา จาได้ไม่ผิดนัยน์ตาพี่
เส้นไหมแม้นเขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแล้วแต่นางเดียว
เจ้าปักเป็นป่าพนาเวศ ขอบเขตเขาคลุ้มชอุ่มเขียว
รุกขชาติดาดใบระบัดเรียว พริ้งเพรียวดอกดกระดะดวง
ปักเป็นมยุราลงราร่อน ฟ่ายฟ้อนอยู่บนยอดภูเขาหลวง
แผ่หางกางปีกเป็นพุ่มพวง ชะนีหน่วงเหนี่ยวไม้ชะม้อยตา
ปักเป็นหิมพานต์ตระหง่านงาม อร่ามรูปพระสุเมรุภูผา
วินันตกอัสกรรณเป็นหลั่นมา การวิกอิสินธรยุคุนธร "
คุณค่า
๑. คุณค่าด้านวรรณคดี เป็นความเรียงที่มีสัมผัสคล้องจอง มีความเปรียบเทียบที่ให้อารมณ์
และเกิดจินตภาพชัดเจน เป็นภาพพจน์เชิงอุปมาและภาษาจินภาพ เห็นความงดงามของภาษา
๒. คุณค่าด้านศาสนา เป็นปรัชญาทางพระพุทธศาสนา ชี้ให้เห็นแก่นแท้ของชีวิตอาจนา
มนุษยชาติให้หลุดพ้นจากวัฏสงสาร
๓. คุณค่าด้านจริยธรรม ไตรภูมิพระร่วงกาหนดกรอบแห่งความประพฤติเพื่อให้สังคมมี
ความสงบสุขผู้ปกครองแผ่นดินต้องมีคุณธรรม
๔. คุณค่าด้านประเพณีและวัฒนธรรม ความเชื่อที่ปรากฏในเรื่องไตรภูมิพระร่วงยังสืบทอด
มาจนถึงปัจจุบัน เช่น ประเพณีงานศพ ภาพนรกและสวรรค์ก่อให้เกิดผลงานด้านจิตรกรรม
ประติมากรรม และ
สถาปัตยกรรมจนถึงปัจจุบัน
๕. ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ทาให้เห็นได้ว่าแนวคิดของวรรณกรรมเล่มนี้เป็นไปตาม
หลักทางด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการ
เกิดเป็นมนุษย์

More Related Content

What's hot

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34Kittisak Chumnumset
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
Warodom Techasrisutee
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนMaii's II
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
tinnaphop jampafaed
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Pracha Wongsrida
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
สุภาพร สิทธิการ
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
นายสมหมาย ฉิมมาลี
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
พจีกานต์ หว่านพืช
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
Taraya Srivilas
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35Milky' __
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
Thanawut Rattanadon
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
Santichon Islamic School
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

What's hot (20)

การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
สามัคคีคำฉันท์.Ppt 34
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
การเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีนการเขียนสารคดี ขนมจีน
การเขียนสารคดี ขนมจีน
 
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยาการเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
การเมืองการปกครองสมัยกรุงศรีอยุธยา
 
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรีKey of 5 การสถาปนาธนบุรี
Key of 5 การสถาปนาธนบุรี
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความชั้นป.3
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์เศรษฐศาสตร์
เศรษฐศาสตร์
 
ใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมายใบงานกฎหมาย
ใบงานกฎหมาย
 
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
พระเวสสันดร กัณฑ์มัทรี 30 35
 
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ใบงานที่ 1.1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เครื่องมือเกษตร ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรีพัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
พัฒนาการของอาณาจักรธนบุรี
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 

Similar to ไตรภูมิพระร่วง

ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
Mameaw Pawa
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาnanpun54
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
พัน พัน
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1kutoyseta
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
กรูรู้ กรูไม่รู้อะไรจะดีกว่า
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
Prasit Koeiklang
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
Thamma Dlife
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
Piyarerk Bunkoson
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
Benjawan Hengkrathok
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์SRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕Sanchai San
 

Similar to ไตรภูมิพระร่วง (20)

Tripoom
TripoomTripoom
Tripoom
 
ไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdfไตรภูมิ Pdf
ไตรภูมิ Pdf
 
ศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกาศิลปะศรีลังกา
ศิลปะศรีลังกา
 
มุตโตทัย
มุตโตทัยมุตโตทัย
มุตโตทัย
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์มนุษย์กับการสร้างสรรค์
มนุษย์กับการสร้างสรรค์
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)นาม (วัดมหาธาตุ)
นาม (วัดมหาธาตุ)
 
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วงใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
ใบความรู้ไตรภูมิพระร่วง
 
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
สื่อฯช่วยสอน เรื่องรามเกียรติ์ตอนนารายณ์ปราบนนทก(ปรับ) [โหมดความเข้ากันได้]
 
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
พระภาวนาวิศาลเถร (หลวงปุ่บุญมี โชติปาโล)
 
Korat
KoratKorat
Korat
 
Manawakachan
ManawakachanManawakachan
Manawakachan
 
-------------- --- 3
 -------------- --- 3 -------------- --- 3
-------------- --- 3
 
โบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสานโบราณคดีอีสาน
โบราณคดีอีสาน
 
45 พรรษา
45 พรรษา45 พรรษา
45 พรรษา
 
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
พระอวโลกิเตศวรโพธิสัตว์
 
พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕พระคาถาบูชา ร๕
พระคาถาบูชา ร๕
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

ไตรภูมิพระร่วง

  • 1. ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ บทนำ ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า เตภูมิกถา หรือ ไตรภูมิกถา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์ เธอ กรมพระยาดารงราชานุภาพ ทรงเปลี่ยนชื่อหนังสือเล่มนี้เป็น ไตรภูมิพระร่วง เพื่อเฉลิม พระเกียรติพระร่วงจ้าแห่งกรุงสุโขทัยให้คู่กับหนังสือสุภาษิตพระร่วง หอพระสมุดวชิรญาณได้ต้นฉบับไตรภูมิพระร่วงมาจากจังหวัดเพชรบุรี เป็นใบลาน ๑๐ ผูก จารด้วยอักษรขอมในสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรี พระมหาช่วย วัดปากน้า (วัด กลาง จังหวัดสมุทรปราการ ในปัจจุบัน) เป็นผู้จาร หอพระสมุดวชิรญาณ ได้ถอดความ ออกเป็นอักษรไทย โดยมิได้แก้ไขถ้อยคาไปจากต้นฉบับเดิม ผู้แต่ง หนังสือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีทางศาสนาที่สาคัญเล่มหนึ่ง ในสมัยสุโขทัย ซึ่ง มีอิทธิพลต่อคนไทยมาก พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) ได้ทรงพระราชนิพนธ์ขึ้น หลังจากที่ทรงผนวชแล้ว และขึ้นครองราชย์ได้ ๖ ปี ประมาณ พ.ศ. ๑๘๙๖ พระมหาธรรมราชาที่ ๑ (พญาลิไท) เป็นกษัตริย์องค์ที่ ๖ แห่งกรุงสุโขทัย ขึ้น ครองราชย์ต่อจากพญางัวนาถม จากหลักฐานในศิลาจารึกวัดมหาธาตุ พ.ศ. ๑๙๓๕ หลักที่ ๘ ข. ค้นพบเมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๙ เมื่อพญาเลอไทสวรรคต ใน พ.ศ. ๑๘๘๔ พญางัวนาถมได้ขึ้น ครองราชย์ ต่อมาพญาลิไทยกทัพมาแย่งชิงราชสมบัติ และขึ้นครองราชย์ใน พ.ศ. ๑๘๙๐ ทรงพระนามว่า พระเจ้าศรีสุริยพงสรามมหาธรรมราชาธิราช ในศิลาจารึกมักเรียกพระนาม เดิมว่า พญาลิไท หรือเรียกย่อว่า พระมหาธรรมราชาที่ ๑ เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ. ๑๙๑๑ พญาลิไท ทรงเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ทรงอาราธนาพระเถระชาวลังกาเข้ามาเป็น สังฆราชในกรุงสุโขทัย ได้สละราชสมบัติออกทรงผนวชที่วัดป่ามะม่วง นอกเมืองสุโขทัยทาง ทิศตะวันตก พญาลิไททรงมีความรู้แตกฉานในพระไตรปิฎก ทรงสนพระทัยทานุบารุง
  • 2. พระพุทธศาสนาเป็นอันมาก และทรงพัฒนาบ้านเมืองให้เจริญหลายประการ เช่น สร้างถนน พระร่วง ตั้งแต่เมืองศรีสัชนาลัยผ่านกรุงสุโขทัยไปถึงเมืองนครชุม (กาแพงเพชร) บูรณะเมือง นครชุม สร้างเมืองสองแคว (พิษณุโลก) เป็นเมืองลูกหลวง และสร้างพระพุทธชินราช พระ พุทธชินสีห์ ที่ฝีมือการช่างงดงามเป็นเยี่ยม งานพระราชนิพนธ์ของพญาลิไท ได้แก่ ไตรภูมิพระร่วงหรือเตภูมิกถาศิลาจารึกวัดป่ามะม่วง และศิลาจากรึกวัดศรีชุม เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ กล่าวถึงเหตุการณ์และ ขนบธรรมเนียมประเพณีต่างๆการสร้างวัดพระศรีรัตนมหาธาตุ การผนวชที่วัดป่ามะม่วง เป็นต้น จุดมุ่งหมำยในกำรแต่ง มี ๒ ประการ เพื่อเทศนาโปรดพระมารดา เป็นการเจริญธรรมกตัญญูประการหนึ่ง อีก ประการหนึ่ง เพื่อใช้สั่งสอนประชาชนให้มีคุณธรรม เข้าใจพุทธศาสนา และช่วยกันดารง พุทธศานาไว้ให้มั่นคง ลักษณะคำประพันธ์ ร้อยแก้ว ประเภทความเรียงสานวนพรรณนา เนื้อหำ หนังสือไตรภูมิพระร่วง เป็นวรรณคดีพุทธศาสนา ที่พญาลิไททรงรวบรวมเนื้อหา สาระจากคัมภีร็ต่าง ๆ ในพุทธศาสนา ทั้งพระไตรปิฎก อรรถกถา และอื่น ๆ ไม่น้อยกว่า ๓๐ คัมภีร์ จึงจัดได้ว่าเป็นพระราชนิพนธ์ประเภทค้นคว้ารวบรวมที่ดีเล่มหนึ่ง เนื้อเรื่องเริ่มต้น ด้วยคาถานมัสการเป็นภาษาบาลี มีบานแพนกบอกชื่อผู้แต่ง วันเดือนปีที่แต่ง ชื่อคัมภีร์ต่าง ๆ บอกจุดมุ่งหมายในการแต่ง แล้วจึงกล่าวถึงภูมิทั้ง ๓ คาว่า เตภูมิ หรือ ไตรภูมิ แปลว่า สามแดน คือ กามภูมิ รูปภูมิอรูปภูมิ ทั้ง ๓ ภูมิ แบ่งออกเป็น ๘ กัณฑ์ (กัณฑ์ = เรื่อง ,หมวด,ตอน)แสดงให้เห็นความเปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง ความไม่แน่นอนทั้งมนุษย์และสัตว์ รวมทั้งสิ่งไม่มีชีวิต เช่น ภูเขา แม่น้า แผ่นดิน ดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ ความเปลี่ยนแปลงนี้กวี
  • 3. ไทยเรียกว่า “ อนิจจลักษณะ ”ไตรภูมิพระร่วง เดิมเรียกว่า ไตรภูมิกถา / เตภูมิกถา หมายถึงเรื่องราวของโลกทั้ง ๓ ได้แก่ กามภูมิ รูปภูมิ อรูปภูมิ กามภูมิ คือ โลกของผู้ที่ยังติดอยู่ในกามกิเลส แบ่งออกเป็น ๒ ฝ่าย ได้แก่ ๑. สุคติภูมิ ๒. อบายภูมิ ๑.สุคติภูมิ ได้แก่ ๑.๑ มนุสสภูมิ ( โลกมนุษย์ ) ๑.๒ สวรรคภูมิ (ฉกามาพจรภูมิ) ๑.๒.๑ จาตุมหาราชิกา ๑.๒.๒ ดาวดึงส์ ๑.๒.๓ ยามา ๑.๒.๔ ดุสิต ๑.๒.๕ นิมมานรดี ๑.๒.๖ ปรนิมมิตวสวัตดี ๒. อบายภูมิ ได้แก่ ๒.๑ นรกภูมิ ( มี ๘ ขุม ) ๒.๒ ดิรัจฉานภูมิ ๒.๓ เปรตภูมิ ๒.๔ อสูรกายภูมิ รูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมที่มีรูป มี ๑๖ ชั้น (โสฬสพรหม ) อรูปภูมิ เป็นดินแดนของพรหมที่ไม่มีรูป มีแต่จิตหรือวิญญาณ ทวีปที่มนุษย์อาศัยอยู่มี ๔ ทวีป ได้แก่ ๑. อุตรกุรุทวีป อยู่ทางทิศเหนือของเขาพระสุเมรุ มนุษย์ที่อาศัยอยู่ ในทวีปนี้ มีลักษณะ ใบหน้าเป็นรูป ๔ เหลี่ยม รักษาศีล ๕ เป็นนิจ มีอายุ ประมาณ ๑,๐๐๐ ปี เป็นหนุ่มสาวอยู่ เสมอ อาศัยอยู่ตามโพรงไม้ ไม่ต้องทางานใด ๆ แต่งตัวสวยงาม มีกับข้าวและที่นอนเกิดขึ้น ตามใจปรารถนา ๒. บูรพวิเทหทวีป อยู่ทางทิศตะวันออก ของภูเขาพระสุเมรุ มีใบหน้าตอนบนโค้งตัดลงมา
  • 4. เหมือนบาตร มีอายุ ประมาณ ๗๐๐ ปี ๓. อมรโคยานทวีป อยู่ทางทิศตะวันตก ของภูเขาพระสุเมรุ มีใบหน้าวงกลม คล้ายวง พระจันทร์ มีอายุ ประมาณ ๕๐๐ ปี ๔. ชมพูทวีป อยู่ทางทิศใต้ ของภูเขาพระสุเมรุ คือ มนุษย์โลกนี้เอง อายุขัยไม่แน่นอนขึ้นอยู่ กับการทาบุญหรือทากรรม แต่ทวีปนี้ก็พิเศษกว่า ๓ ทวีปคือ เป็นที่เกิดของพระพุทธเจ้า พระ จักรพรรดิราช และพระอรหันต์ การเกิดเป็นพรหมชั้นต่าง ๆ ๑. ปฐมฌานภูมิ ๓ ๑.๑ ผู้เจริญปฐมฌานได้เพียงขั้นเล็กน้อย (ปริตฺต) จะเกิดเป็น พรหม ปาริสัชชา พรหม บริวาร ๑.๒ ผู้เจริญปฐมฌานได้ปานกลาง (มชฺฌิม) จะเกิดเป็นพรหมชั้นปุโรหิต ๑.๓ ผู้เจริญปฐมฌานได้ขั้นประณีต (ปณีต) จะเกิดเป็นพรหมชั้น ท้าวมหาพรหม หรือ มหาพรหมา ๒. ทุติยฌานภูมิ ๓ ๒.๑ ผู้เจริญทุติยฌานได้เล็กน้อย จะเกิดเป็นพรหมชั้นปริตตาภา แปลว่า ผู้มีรัศมีน้อย ๒.๒ ผู้เจริญทุติยฌานได้ปานกลาง จะเกิดเป็นพรหมชั้น อัปปมาณาภา แปลว่า ผู้มีรัศมี มีประมาณไม่ได้ ๒.๓ ผู้เจริญทุติยฌานได้ขั้นประณีต จะเกิดเป็นพรหมชั้น อาภัสสรา แปลว่า ผู้มี รัศมี เปล่งซ่านไป ๓. ตติยฌานภูมิ ๓.๑ ผู้เจริญตติยฌานภูมิได้เล็กน้อย จะเกิดเป็นพรหมชั้น ปริตตสุภา แปลว่า ผู้มีรัศมี ความงามน้อย ๓.๒ ผู้เจริญตติยฌานได้ปานกลาง จะเกิดเป็นพรหม ชั้น อัปปมาณสุภา แปลว่า ผู้มี รัศมีความงามหาประมาณมิได้ ๓.๓ ผู้เจริญตติยฌานได้ขั้นประณีต จะเกิดเป็นพรหมชั้น สุภกิณหา แปลว่า ผู้มีรัศมีงาม กระจ่าง การแบ่งฌานเป็นขั้นเล็กน้อย ปานกลางและประณีตนั้น อาศัยขั้นตอนการบรรลุถ้าบรรลุด้วย
  • 5. อิทธิบาทน้อยก็เป็นฌานเล็กน้อย ใช้ความเพียรขั้นกลางก็เป็นมัชฌิมฌาน ใช้ความเพียรขั้น อุกฤษฏ์ก็เป็นปณีตฌาน ๔. จตุตถฌานภูมิ ๓ อย่างย่อ และ ๗ อย่างพิสดาร ดังนี้ ๔.๑ เวหัปผลา ผู้มีผลอันไพบูลย์ ๔.๒ อสัญญีสัตว์ ผู้ไม่มีสัญญา ๔.๓ สุทธาวาส ๕ ที่อยู่ของท่านผู้บริสุทธิ์ คือ พระอนาคามี ๑. อวิหา ผู้ไม่เสื่อมฐานะของตน โดยกาลเล็กน้อย อยู่นาน (เจริญสัทธินทรีย์) ๒. อตัปปา ผู้ไม่เดือดร้อน (เจริญวิริยินทรีย์) ๓. สุทัสสา ผู้งดงามน่าทัศนา (เจริญสตินทรีย์ ) ๔. สุทัสสี ผู้น่าทัศนาเพราะบริสุทธิ์ (สมาธินทรีย์) ๕. อกนิฏฐา ผู้ไม่เล็กน้อยด้อยกว่าใคร (ปัญญินทรีย์) ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ การเกิดมนุษย์ ปฏิสนธิ ; กัลละ (ขนาด เศษ 1 ส่วน256 ของเส้นผม) 7 วัน ; อัมพุทะ (น้าล้างเนื้อ) 14 วัน ; เปสิ (ชิ้นเนื้อ) 21 วัน ; ฆนะ (ก้อนเนื้อ, แท่งเนื้อ ขนาดเท่าไข่ไก่) 28 วัน ; เบญจสาขาหูด (มีหัว แขน2 ขา2) ครบ 1 เดือน 35 วัน ; มีฝ่ามือ นิ้วมือ ลายนิ้วมือ 42 วัน ; มีขน เล็บมือ เล็บเท้า (เป็นมนุษย์ครบสมบูรณ์) 50 วัน ; ท่อนล่างสมบูรณ์ 84 วัน ; ท่อนบนสมบูรณ์ 184 วัน ; เป็นเด็กสมบูรณ์ นั่งกลางท้องแม่ (6เดือน) การคลอด ท้อง 6 เดือนคลอด ;ไม่รอด (บ่ห่อนได้สักคาบ) ท้อง 7 เดือนคลอด ;ไม่แข็งแรง (บ่มิได้กล้าแข็ง) การเกิด
  • 6. มาจากสวรรค์ ; ตัวเย็น ออกมาแล้วหัวเราะ มาจากนรก ; ตัวร้อน ออกมาแล้วร้องไห้ กาลทั้ง 3 ได้แก่ กาล 1 ; แรกเกิดในท้องแม่ กาล 2 ; อยู่ในท้องแม่ กาล 3 ; ออกจากในท้องแม่ * คนธรรมดา ; ไม่รู้ตัว จาไม่ได้ทั้ง 3 กาล * พระปัจเจกโพธิเจ้า/ พระอรหันตาขีณาสพเจ้า / พระอัครสาวกเจ้า ; 2 กาลแรกรู้ตัว จาได้ แต่ลืมกาลที่ 3 ลักษณะเด่น หนังสือไตรภูมิพระร่วง ถึงแม้ว่าเป็นวรรณคดีโบราณที่ใช้ภาษาไทยแบบเก่า และมีศัพท์ ทางพระพุทธศาสนาปะปนอยู่มาก ทาให้ยากแก่การอ่านสาหรับผู้ที่ไม่มีพื้นฐานทางพุทธ ศาสนามาก่อนก็ตาม แต่สานวนพรรณนาที่ใช้ในหนังสือเล่มนี้มีความแจ่มแจ้ง ไพเราะ ช่วยให้ เกิดจินตภาพหลายตอน และทาให้เกิดความรู้สึกคล้อยตามไปด้วยเช่น ตอนพรรณนาถึง ความน่ากลัวในนรกภูมิ และความสุขสบายในสวรรค์ เป็นต้น ทุก ๆ ตอนที่กล่าวถึงเรื่องใด เรื่องหนึ่ง ผู้ทรงพระราชนิพนธ์ได้ทรงอธิบายตอนนั้นอย่างละเอียด กระบวนพรรณนาที่แจ่ม แจ้งแลเห็นจริงจังอันควรยกมาเป็นตัวอย่าง เช่น ตอนพรรณนาลักษณะของเปรต ได้กล่าว เอาไว้ชัดเจน ดังนี้ " เปรตลางจาพวก ตัวเขาใหญ่ ปากเขาน้อยเท่ารูเข็มนั้นก็มี เปรตลางจาพวกผอมหนัก หนา เพื่ออาหารจะกินบมิได้ แม้ว่าจะขอดเอาเนื้อน้อย ๑ ก็ดี เลือดหยด ๑ ก็ดี บมิได้เลย เท่า ว่ามีแต่กระดูกและหนังพอกกระดูกภายนอกอยู่ไส้ หนังท้องนั้นเหี่ยวติดกระดูกสันหลังแล ตา นั้นลึกและกลวงดังแสร้งควักเสีย ผมเขานั้นยุ่งรุ่ยร่ายลงมาปกปากเขา มาตรว่าผ้าร้ายน้อย หนึ่งก็ดี และจะมีปกกายเขานั้นก็หามิได้เลย เทียรย่อมเปลือยอยู่ ชั่วตนเขานั้นเหม็นสาบพึง เกลียดนักหนาแลเขานั้นเทียรย่อมเดือดเนื้อร้อนใจเขาแล เขาร้องไห้ร้องครางอยู่ทุกเมื่อแล เพราะว่าเขาอยากอาหารนักหนาแล "
  • 7. คุณค่ำของหนังสือ ๑. ด้านภาษาและสานวนโวหาร เป็นวรรณคดีเล่มแรกที่เรียบเรียงในลักษณะการค้นคว้าจากคัมภีร์ต่าง ๆ ถึง ๓๐คัมภีร์ จึงมี ศัพท์ทางศาสนาและภาษาไทยโบราณอยู่มาก สามารถนามาศึกษาการใช้ภาษาในสมัยกรุง สุโขทัย ตลอดจนสานวนโวหารต่าง ๆ ไตรภูมิพระร่วงมีสานวนหนักไปในทางศาสนาโวหาร และพรรณนาโวหาร ผูกประโยคยาว และใช้ถ้อยคาพรรณนาดีเด่น สละสลวยไพเราะ ก่อให้เกิดความรู้สึกด้านอารมณ์สะเทือนใจและให้จินตภาพหรือภาพในใจอย่างเด่นชัด เช่น " บ้างเต้นบ้างราบ้างฟ้อน ระบาบันลือเพลงดุริยดนตรี บ้างดีดบ้างสีบ้างตีบ้างเป่า บ้างขับศัพท์ สาเนียง หมู่นักคุณจุณกันไปเดียรดาษพื้น ฆ้องกลองแตรสังข์ระฆังกังสดาลมโหระทึกกึกก้อง ทานุกดี ที่มีดอกไม้อันตระการ่ต่าง ๆ สิ่ง มีจวงจันทน์กฤษณาคันธาทานอง ลบองดังเทพยดา ในเมืองฟ้า สนุกนี้ทุกเมื่อบาเรอกันบมิวาย " ๒. ด้านความรู้ ๒.๑ ด้านวรรณคดี ทาให้คนชั้นหลังได้รับความรู้ทางวรรณคดี อันเป็นความคิดของคน โบราณ ซึ่งจะเป็นพื้นฐานของวรรณคดีไทย เช่น พระอินทร์ แท่นบัณพุกัมพล ช้างเอราวัณ เขาพระสุเมรุ ป่าหิมพานต์ต้นปาริชาติ ต้นนารีผล นรก สวรรค์ เป็นต้น ๒.๒ ด้านภูมิศาสตร์ เป็นความรู้ทางภูมิศาสตร์ของคนโบราณ โดยเชื่อว่าโลกมีอยู่ ๔ ทวีป ได้แก่ ชมพูทวีป บุรพวิเทหทวีป อุตตรกุรุทวีป และอมรโคยาน ทวีป โดยมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง ๓. ด้านสังคมและวัฒนธรรม ๓.๑ คาสอนทางศาสนา ไตรภูมิพระร่วงสอนให้คนทาบุญละบาป เช่น การทาบุญรักษา ศีลเจรฐสมาธิภาวนาจะได้ขึ้นสวรรค์การทาบาปจะตกนรก แนวความคิดนี้มีอิทะพลเหนือน จิตใจของคนไทยมาช้านาน เป็นเสมือนแนวการสอนศีลธรรมของสังคม ให้คนปฏิบัติชอบซึ่ง เป็นประโยชน์ต่อการอยู่ร่วมกันในสังคม
  • 8. ๓.๒ ค่านิยมเชิงสังคม อิทธิพลของหนังสือเล่มนี้ให้ค่านิยมเชิงสังคมต่อคนไทย ให้ตั้งมั่น และยึดมั่นในการเป็นคนใจบุญ มีเมตตากรุณา รักษศีล บาเพ็ญทาน รู้จักเสียสละ เชื่อมั่นใน ผล แห่งกรรม ๓.๓ ศิลปกรรม จิตรกรนิยมนาเรื่องราวและความคิดในไตรภูมิพระร่วงไปเขียนภาพสีไว้ ในโบสถ์วิหาร โดยจะเขียนภาพนรกกไว้ที่ผนังด้านล่างหรือหลังองค์พระประธาน และเขียน ภาพสวรรค์ไว้ที่ผนังเบื้องบนรอบโบสถ์วิหาร ๔. ด้านอิทธิพลต่อวรรณคดีอื่น มีหนังสืออ้างอิงทานองไตรภูมิพระร่วง ที่มีผู้แต่งเลียนแบบอีกหลายเล่ม เช่น จักรวาล ทีปนี ของ พระสิริมังคลาจารย์แห่งเชียงใหม่ไตรภูมิโลกวินิจฉัย ในสมัยพระบาทสมเด็จพระ พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช และเล่าเรื่องไตรภูมิ เป็นต้น ไตรภูมิพระร่วงมีอิทธิพลสาคัญต่อแนวคิดของกวีรุ่นหลัง โดยนาความคิดในไตรภูมิพระ ร่วงสอดแทรกในวรรณคดีต่าง ๆ เช่น ลิลิตโองการแช่งน้า มหาเวสสันดรชาดก รามเกียรติ์ กากีคากลอนขุนช้างขุนแผน ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ลิลิตโองการแช่งน้า กล่าวถึงไฟบรรลัยกัลป์ล้างโลก " นานาอเนกน้าวเดิมกัลป์ จักร่าจักรพาฬหเมื่อไหม้ กล่าวถึงตะวันเจ็ดอันพลุ่ง น้าแล้งไข้ขอดหาย " รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๑ กล่าวถึงทวีปทั้ง ๔ ว่า " สาแดงแผลงฤทธิ์ฮีกฮัก ขุนยักษ์ไล่ม้วนแผ่นดิน ชมพูอุดรกาโร อมรโคยานีก็ได้สิ้น " รามเกียรติ์ พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ ๒ กล่าวถึงปลาอานนท์ " เขาสุเมรุเอนเอียงอ่อนละมุน อานนท์หนุนดินดานสะท้านสะเทือน " กากีคากลอน กล่าวถึงแม่น้าสีทันดร " ....................................... ในสาครลึกกว้างกลางวิถี แม้จะขว้างหางแววมยุรี ก็จมลงถึงที่แผ่นดินดาน
  • 9. อันน้านั้นสุขุมละเอียดอ่อน จึงชื่อสีทันดรอันใสสาร ประกอบด้วยมัจฉากุมภาพาล คชสารเงือกน้าและนาคิน " ขุนช้างขุนแผน กล่าวถึงป่าหิมพานต์ " ม่านนี้ฝีมือวันทองทา จาได้ไม่ผิดนัยน์ตาพี่ เส้นไหมแม้นเขียนแนบเนียนดี สิ้นฝีมือแล้วแต่นางเดียว เจ้าปักเป็นป่าพนาเวศ ขอบเขตเขาคลุ้มชอุ่มเขียว รุกขชาติดาดใบระบัดเรียว พริ้งเพรียวดอกดกระดะดวง ปักเป็นมยุราลงราร่อน ฟ่ายฟ้อนอยู่บนยอดภูเขาหลวง แผ่หางกางปีกเป็นพุ่มพวง ชะนีหน่วงเหนี่ยวไม้ชะม้อยตา ปักเป็นหิมพานต์ตระหง่านงาม อร่ามรูปพระสุเมรุภูผา วินันตกอัสกรรณเป็นหลั่นมา การวิกอิสินธรยุคุนธร " คุณค่า ๑. คุณค่าด้านวรรณคดี เป็นความเรียงที่มีสัมผัสคล้องจอง มีความเปรียบเทียบที่ให้อารมณ์ และเกิดจินตภาพชัดเจน เป็นภาพพจน์เชิงอุปมาและภาษาจินภาพ เห็นความงดงามของภาษา ๒. คุณค่าด้านศาสนา เป็นปรัชญาทางพระพุทธศาสนา ชี้ให้เห็นแก่นแท้ของชีวิตอาจนา มนุษยชาติให้หลุดพ้นจากวัฏสงสาร ๓. คุณค่าด้านจริยธรรม ไตรภูมิพระร่วงกาหนดกรอบแห่งความประพฤติเพื่อให้สังคมมี ความสงบสุขผู้ปกครองแผ่นดินต้องมีคุณธรรม ๔. คุณค่าด้านประเพณีและวัฒนธรรม ความเชื่อที่ปรากฏในเรื่องไตรภูมิพระร่วงยังสืบทอด มาจนถึงปัจจุบัน เช่น ประเพณีงานศพ ภาพนรกและสวรรค์ก่อให้เกิดผลงานด้านจิตรกรรม ประติมากรรม และ สถาปัตยกรรมจนถึงปัจจุบัน ๕. ไตรภูมิพระร่วง ตอน มนุสสภูมิ ทาให้เห็นได้ว่าแนวคิดของวรรณกรรมเล่มนี้เป็นไปตาม หลักทางด้านวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการ เกิดเป็นมนุษย์