SlideShare a Scribd company logo
T
H                    โคลนติดล้อ
A                       ตอน ความนิยมเป็นเสมียน
I

    พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว
                                                  ่ั
                                         รัชกาลที่ ๖
                ทรงใช้พระนามแฝงว่า อัศวพาหุ
ข้อปฏิบัติการใช้ห้องเรียนภายในห้องสมุด
• ห้ามมิให้นาอาหาร และเครืองดืมทุกชนิดเข้ามารับประทาน
                           ่ ่
• ร้องเท้า และอุปกรณ์ต่างๆ เก็บรักษาของตนเองให้เรียบร้อย
• ห้ามใส่รองเท้าเข้ามาภายในห้องสมุด
           ้
• ห้ามขีดเขียนข้อ ความต่ างๆบนอุ ปกรณ์ ท่ีไม่ใช่ของตนเอง
  เด็ดขาด
• ตังใจเรียนด้วยความมุงมันเท่านัน
    ้                  ่ ่      ้
ลักษณะคำประพันธ์ : บทควำม
                   (เนื้อหำแสดงควำมคิดเห็น)

        ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่านิยมของคนไทยทีทา
                                            ่
ให้บา้ นเมืองไม่พฒนาไปเท่าทีควร
                 ั           ่
ยุคสมัยในเนื้อเรื่อง
• ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๓ – ๒๔๖๘ (รัชกาลที่ ๖)
• รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก
• คนหนุม - สาวเริ่ มเรี ยนแพร่หลาย
        ่
T
H
       ที่มาของเรื่อง
     พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หว ทรง   ั
A
  พระราชนิ พ นธ์ เรื่อ ง โคลนติดล้อ ซึ่งมีท ง หมด
                                            ั้
I
  ๑๒ ตอน ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทย ระหว่าง
  วัน ที่ ๒๘ เมษายน ถึง ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ.
  ๒๔๕๘ (๑๔ วัน)
ตอน ความนิ ย มเป็ น เสมี ย น เป็ นตอนที่ ๔
จาก ๑๒ ตอน บทความเรื่องนี้ทรงพระราชนิพนธ์
เป็ นภาษาอังกฤษด้วยในชื่อว่า Clogs on Our Wheels
ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์สยาม (สยามออบเซอร์เวอร์
Siam observer)ฉบับวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ.
๒๔๕๘
ลักษณะกำรตั้งชื่อเรื่อง
 เป็ นการตังชื่อโดยใช้ ภาพพจน์
           ้
แบบ อุปลักษณ์
อปมา
                         ุ
• การเปรี ยบเทียบสิ่งหนึ่งว่ าเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง
• คล้าย เท่า เหมื อน เฉก เช่น พ่าง ดุจ ดัง ดัง ประดุจ
                                         ่
  ราว ราวกับ เสมื อน

                    อปลักษณ์
                     ุ
• การเปรี ยบว่ าสิ่งหนึ่งเป็ นอีกสิ่งหนึ่ง
• คือ เป็ น
ควำมหมำยแฝงในกำรตั้งชื่อเรื่อง
  โคลน      คือ ... (Clogs)
ปั ญหาและอุปสรรคที่กีดขวางความเจริญของชาติ

                  ล้อ   คือ ... (Wheels)
          ชาติสยาม/บ้ านเมือง (ประเทศไทย)
T
H
          ตัวเนื้อเรื่อง
           พระราชนิ พ นธ์ ประเภทบทความ มี
A ทั ง หมด ๑๒ บท และบทที่ ๑๒ จบด้ ว ยกาพย์
     ้
I ยานี ๑๑ จานวน ๔ บท เพื่ อปลุกใจให้ คนไทยรั ก
  ช า ติ รั ก ค ว า ม เ ป็ น ไ ท ย ชี ใ ห้ ค น ไ ท ย ไ ด้ เ ห็ น
                                      ้
  ข้ อบกพร่ องของ ตนเองที่ทาให้ ประเทศไทยเจริ ญ
  ก้ าวหน้ าช้ ากว่าที่ควร เป็ นตอนจบของบทที่ ๑๒
  ของเรื่ อง "โคลนติดล้ อ " ที่เตือนจิตสานึกของ
  คนไทยให้ ภมใจในประเทศของตน
                  ู ิ
สหายเอยจงเงยหน้ า     และเปิ ดตาพินิจดู
เผยม่านพะพานอยู่           กาบังเนตรบ่เห็นไกล
      เปิ ดม่านแลมองเถิด   จะเกิดความประโมทย์ใจ
เห็นแคว้ นและแดนไทย        ประเสริ ฐแสนดังแดนสรวง
      หวังใดจะได้ สม       เสวยรมยะแดดวง
เพ็ญอิสสะโรปวง             ประชาเปรมเกษมสานต์
      ซื่อตรงและจงรัก      ผดุงศักดิภบาล
                                      ู
เพื่อทรงดารงนาน            อิศเรศร์ ประเทศสยาม ๕/๔
๕/๒
ใจความของเรื่อง
      เรื่ องนี ชีใ้ ห้ เห็นถึงข้ อบกพร่ องของคนไทย ๑๒
                  ้
ประการ ที่ เปรี ยบเป็ นโคลนติดล้ อหรื อปั ญหาที่
ทาให้ ประเทศชาติก้าวไปสู่ความเจริ ญได้ ช้าลง
ได้ แก่
           เรื่ องโคลนติดล้ อมีทังหมด ๑๒ ตอน ซึ่งเปรี ยบ
                                    ้
    เป็ นโคลน ๑๒ ก้ อน ดังนี ้
เรื่ อง “โคลนติดล้อ”
             มีทงหมด ๑๒ ตอน
                ั้
ซึงเปรี ยบเป็ นโคลน ๑๒ ก้ อน
  ่
                        ดังนี ้
๑. การเอาอย่างโดยไม่ตริตรอง                   ทัง ๑๒ เรื่อง ได้ลง
                                                ้
   Unreasoning Imitation              ตี พิม พ์ ใ นหนั ง สือ พิม พ์
๒. การทาตนให้ ต่าต้ อย                ไทย
   Self-Abasement                           ส่วนตอนที่ ๔ ได้ลง
๓. การบูชาหนังสือจนเกินเหตุ           ตีพมพ์ในหนังสือพิมพ์
                                          ิ
  Exaggerated Veneration for “Letter”
                                      Siam observer ด้วย
๔. ความนิยมเป็ นเสมียน
    ClerKism
๕. ความเห็นผิด
   False Ideas
๖. ถือเกียรติยศไม่มีมล
                     ู
    False Dignity
๗. ความจนไม่จริง                      ทั ง ๑๒ เรื่ อ ง ได้ ล ง
                                         ้
    False Poverty               ตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ์
๘. แต่งงานชัวคราว
            ่                   ไทย
    Temporary Marriages             ส่วนตอนที่ ๔ ได้ ลง
๙. ความไม่รับผิดชอบของบิดามารดา ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์
   Parental Irresponsibility
                                 Siam observer ด้ วย
๑๐. การค้ าหญิงสาว
    The traffic in Yong Woman
๑๑. ความหยุมหยิม
    Pettiness
๑๒. หลักฐานไม่มนคง
               ั่
   Imperfect Stability
เนื้อเรื่อง
      ผลแห่งการบูชาหนังสือจนเกินเหตุ (บทความตอน
ที่ ๓) มี อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ความนิ ย มเป็ นเสมี ย น การตัง ้
โรงเรี ยนขึนทั่วประเทศเพื่อให้ ชายหญิงทุกชันได้ มีโอกาส
              ้                                    ้
ศึ ก ษาหาความรู้ ได้ อ่ า นได้ เ ขี ย นนัน กลายเป็ นสิ่ ง ที่ น่ า
                                            ้
ราคาญ กล่าวคือ ทุกคนเมื่อเรี ยนจบออกมาจากโรงเรี ยน
แล้ ว ก็มีแต่อยากเป็ นเสมียนหรื อ
เลขานุการ เพื่อจะได้ เลื่อนยศเลื่อน
ตาแหน่งสูงขึ ้นเร็วๆ
เนื้อเรื่อง
     พวกเขาไม่เห็นว่างานอื่นจะมีเกียรตินอกจากการ
เป็ นเสมี ย น จึ ง เป็ นการยากที่ จ ะบอกให้ พวกเขา
กลับไปช่วยบิดามารดาทาการเกษตร
เพราะการท าการเกษตรอาจท าให้ ลื ม
ความรู้ ที่ได้ ศึกษาเล่าเรี ยนมา เพราะเหตุนี ้
เขาจึ ง สู้ สมั ค รใจหางานท าในกรุ ง เทพฯ
ถึงแม้ จะได้ เงินเดือนน้ อยก็ตาม
เนื้อเรื่อง
       การทางานกรุ งเทพฯ แม้ จะได้
เงิ น เพี ย งเดื อ นละ ๑๕ หรื อ ๒๐
บาทนั น พวกเขาก็ ยั ง อุ ต สาห์
          ้
กระเบี ย ดกระเสี ย รใช้ จ่ า ยซื อ ้
ผ้ าม่ วงสี เสื ้อขาว หมวกสักหลาด
ก า ง เ ก ง แ พ ร จี น แ ล ะ ไ ป ช ม
ภาพยนตร์ อาทิ ต ย์ ล ะ ๒ ครั ้ง
ไปกินข้ าวตามภัตตาคาร บางคนก็
อาจจะเสียค่าเช่าห้ องอีกด้ วย
เนื้อเรื่อง
       แต่พวกเขาก็เต็มใจที่
จะด ารงชี วิ ต เช่ น นี ดี ก ว่ า
                        ้
กลับ ไปถิ่ น ฐานบ้ านเกิ ด
ตามบ้ านนอกความคิ ด
เช่นนี ้เป็ นสิงเหลวไหลมาก
               ่
เนื้อเรื่อง
     เพราะประเทศไทยของเราเป็ นประเทศ
เกษตรกรรม การเป็ นชาวนา ชาวสวนนันมีเกียรติยศ
                                       ้
ไม่น้อยไปกว่าผู้ที่ทางานด้ วยปากกา
              ที่ร้ายไปกว่านันคืออาชีพเสมียนนัน
                              ้                  ้
              ต้ องการเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยหนุ่มสาว
              เท่านัน ้
เนื้อเรื่อง
    เพราะฉะนันจึงต้ องมีการจาหน่ายถ่ายเทพวกที่
                ้
เกินออกเสียบ้ างเป็ นครั งคราว เพื่อจะได้ รับคนใหม่
                            ้
ต่อไป พวกที่ถกคัดออกก็เป็ นที่น่าสังเวชยิ่งนัก เพราะ
              ู
จะไปท างานอื่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ครั น จะกลับ ไปเป็ นชาวไร่
                                 ้
ชาวนาก็ไม่ได้ ด้วยเหตุผลหลายประการ
    แต่ป ระการส าคัญ คื อ ความหยิ่ ง อัน หาเหตุผ ล
ไม่ได้ นนเอง ๕/๓
        ั้
เนื้อเรื่อง
        ผลสุด ท้ า ยถ้ า ความยากจนข้ น แค้ น ท าให้ เ ขา
 กระทาการทุจริ ต ก็อาจต้ องได้ รับโทษถึงขันติดคุก  ้
 ซึ่ ง เป็ นที่ น่ า สัง เวชมาก ดัง นั น จึ ง สมควรเปลี่ ย น
                                       ้
 ค่า นิ ยมเสียใหม่ ให้ เห็น ว่า อาชี พชาวนา ชาวสวน
 พ่อค้ า และช่างต่างๆมีเกียรติยศเท่ากับอาชีพเสมียน
 เช่นกัน ท่ านทั้งหลายจะไม่ ช่วยกัน
เปลี่ยนค่ านิยมบ้ างหรื อ
ข้อควำมชวนคิดในเรื่อง
• “เพราะฉะนันท่ านจะไม่ ช่วยกันในทางนีบ้างหรื อ”
            ้                         ้




กระตุ้นความคิดของผู้อาน
                     ่
เพื่อให้ ผ้ อานตระหนักถึงปั ญหาและร่วมกันแก้ ปัญหา
            ู่
ควำมโดดเด่นของงำนเขียน
เรื่อง “โคลนติดล้อ ตอนควำมนิยมเป็นเสมียน”
• มีสานวนคมคาย อ่ านเข้ าใจง่ าย ซึ่งมีดในการเขียน
                                        ี
  ๓ ประการ ได้ แก่
     ๑. เอกภาพ (Unity)
     ๒. สัมพันธภาพ (Relation)
     ๓. สารัตถภาพ (นาหนักของเรื่อง Essentiality) ๕/๖
                     ้
คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง
๑. เป็ นตัว อย่ า งบทความที่ ท รงคุ ณ ค่ า เหนื อ กาลเวลา
  (ทันสมัย)
๒. การตังชื่ อบทความนี มี ความหมายคมคายโดยการใช้
         ้                ้
  ภาพพจน์ประเภทอุปลักษณ์
๓.เสนอข้ อคิดเกี่ยวกับปั ญหาบ้ านเมืองในเรื่ องค่านิยม(การ
  รับราชการ)ที่เป็ นอุปสรรคทาให้ ประเทศเจริ ญ ได้ ช้า
๔.ให้ แนวคิดว่าอาชีพอื่นก็สามารถ
  ทาประโยชน์ให้ แก่ประเทศชาติได้
คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง (ต่อ)
๕. วิธีการแต่งบทความ คือ มี การกระตุ้นความคิดของผู้อ่าน
  โดยใช้ ประโยคคาถาม
๖. ข้ อคิดที่ได้ คือ ทุกอาชีพล้ วนมีประโยชน์ ต่อบ้ านเมืองไม่
  เฉพาะอาชีพเสมียนเท่านัน    ้
๗. ผู้ที่เข้ ามาทางานในเมืองมักลืมถิ่นฐานบ้ านเกิด
๘. คนทั่ว ไปมัก นิ ย มยกย่ อ งข้ า ราชการและผู้ ที่ ท างานใน
  สานักงาน ทังๆที่เป็ นค่านิยมไม่ถกต้ อง
                  ้                  ู
คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง (ต่อ)
๙. อาชี พ เกษตรกรรมเป็ นผู้ ผลิ ต อาหารการกิ น
    มีความสาคัญยิ่งต่อการเลี ้ยงมนุษย์โลกให้ มีชีวิต
    อยู่
๑๐. ผู้ที่ออกจากอาชีพการงานของตน เมื่อหมด
   หนทางไปมักถูกชักจูงให้ ประพฤติในทางที่ทจริ ตได้
                                           ุ
งำนประจำหน่วย
๑. หำควำมหมำยของบทควำม ๓ ควำมหมำย
๒. หำตัวอย่ำงบทควำมจำกที่ต่ำงๆ ๒ บทควำม
    - วิเครำะห์บทควำมนั้น ว่ำ ๑. เขียนถึงประเด็นใด
       ๒. ผู้เขียนต้องกำรเสนอแนวคิดใด
๓. ค่ำนิยมที่เข้ำมำในเมืองไทยปัจจุบัน ส่งผลกระทบ
อย่ำงไรต่อชีวิตนักเรียน (๓ ตัวอย่ำง)
พวกเขา
เขาเหล่านี้
การบ้าน
•   หาความหมายของบทความ ๓ ความหมาย (๕/๖ ๒๘ กพ.)
•   หาบทความ (เนือหาใดก็ได้ ) ๑ บทความ
                      ้
•   วิเคราะห์ แต่ ละย่ อหน้ าว่ ากล่ าวถึงประเด็นใด
•   วิเคราะห์ รูปแบบการเขียน ประเด็นต่ อไปนี ้
    - เอกภาพ
    - สัมพันธภาพ และ
    - สารั ตถภาพ
    ว่ าสมบูรณ์ พร้ อมตามหลักการเขียนที่ดหรื อไม่ อย่ างไร
                                              ี
และ



ไอ่..ย่ะ น่ารักอ่ะ
บทความ
       หมายถึง งานเขียนที่เผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์หรือ
สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ เผยแพร่
ข่าวสาร ผลการวิจัย เผยแพร่ความรู้ การวิเคราะห์
ทางการศึกษา การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น
      โดยปกติบทความหนึ่งบทความจะพูดถึงเรื่องใด
เรื่องหนึ่งเป็นประเด็นหลักเพียงเรื่องเดียว
      เนื้อหามีความเป็นปัจจุบัน ทันสมัย
โรงเรียนรัตนโกสินทร์สมโภชบวรนิเวศศาลายา
            ในพระสังฆราชูปถัมภ์

More Related Content

What's hot

งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
Santichon Islamic School
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงLakkana Wuittiket
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนkrubuatoom
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวwaraporny
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยพัน พัน
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
Santichon Islamic School
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
Piyarerk Bunkoson
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
Surapong Klamboot
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวdawnythipsuda
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2Kat Suksrikong
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดNam M'fonn
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
Warodom Techasrisutee
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sirisak Promtip
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
enksodsoon
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 

What's hot (20)

งานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธางานนำเสนอมัทนะพาธา
งานนำเสนอมัทนะพาธา
 
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดงกาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
กาพย์ห่อโคลงประพาสธารทองแดง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
โวหารในการเขียน
โวหารในการเขียนโวหารในการเขียน
โวหารในการเขียน
 
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาวสารคดีท่องเที่ยว   แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
สารคดีท่องเที่ยว แอ่วเหนือเมื่อหน้าหนาว
 
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทยคำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
คำยืมภาษาต่างประเทศในภาษาไทย
 
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่ายงานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
งานนำเสนอลิลิตเตลงพ่าย
 
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
การใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์และการไม่ใช้คำว่า “ทรง” ในคำราชาศัพท์
 
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิแบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
แบบฝึกทักษะเรื่องคำสมาสสนธิ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาวคัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ของดาว
 
เกศสุดา2
เกศสุดา2เกศสุดา2
เกศสุดา2
 
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัดนิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
นิทานเวตาล พร้อมแบบฝึกหัด
 
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
ถอดคำประพันธ์มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
การจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนาการจัดทัพของอิเหนา
การจัดทัพของอิเหนา
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 

Similar to โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]

โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานRawinnipha Joy
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑Anan Pakhing
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01tommy
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Siriluk Butprom
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติJunya Yimprasert
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินtommy
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
Ruangrat Watthanasaowalak
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
noonatzu
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...krujee
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5ปวริศา
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..phornphan1111
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1Yota Bhikkhu
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงSongsarid Ruecha
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
niralai
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์tommy
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
Kun Cool Look Natt
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาJiraprapa Noinoo
 

Similar to โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1] (20)

Me and demon
Me and demonMe and demon
Me and demon
 
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทานโครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
โครงงานภาษาไทยเรื่องนิทาน
 
pretest - postest
pretest - postestpretest - postest
pretest - postest
 
โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑โคลนติดล้อ ๑
โคลนติดล้อ ๑
 
Samkok01
Samkok01Samkok01
Samkok01
 
Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2Random 120125041414-phpapp01 2
Random 120125041414-phpapp01 2
 
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติบันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
บันทึกโลกาภิวัฒน์ เรียนรู้โลก-เพื่อรู้จักตัวเอง-และเตรียมรับวิกฤติ
 
สี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดินสี่แผ่นดิน
สี่แผ่นดิน
 
ประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดีประวัติของวรรณคดี
ประวัติของวรรณคดี
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...หนังสืออ้างอิง...
หนังสืออ้างอิง...
 
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
บทเรียน เรื่อง คำกริยา ป.5
 
อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..อิศรญาณตอ..
อิศรญาณตอ..
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเขียน 7.1
 
m3thai51
m3thai51m3thai51
m3thai51
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
พจนานุกรมฉบับคึกฤทธิ์
 
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่างคำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
คำนำ สารบัญ-บทคัดย่อ สลับร่าง
 
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภาจิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
จิตรปทา ฉันท์ 8 จิรประภา
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา นิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดีนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวนิตยา ทองดียิ่ง
 

More from นิตยา ทองดียิ่ง (18)

หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา  หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
หนังสืออ่านเพิ่มเติมมัทนะพาธา
 
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่ายPptลิลิตตะเลงพ่าย
Pptลิลิตตะเลงพ่าย
 
ปก
ปกปก
ปก
 
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดีMicrosoft power point   หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
Microsoft power point หลัการการวิจารณ์วรรณคดี
 
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555Microsoft word   ข้อสอบปลายภาคที่  1 มอหกปี2555
Microsoft word ข้อสอบปลายภาคที่ 1 มอหกปี2555
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]๒. วิเคราะห์โคลง[1]
๒. วิเคราะห์โคลง[1]
 
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าวเล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
เล่มที่ 1 สืบค้น วิเคราะห์ เจาะข่าว
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
บทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอนบทความการออกแบบการสอน
บทความการออกแบบการสอน
 
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word   หนึ่งแสนครูดีMicrosoft word   หนึ่งแสนครูดี
Microsoft word หนึ่งแสนครูดี
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อยMicrosoft word   แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
Microsoft word แบบฝึกอ่านนิทานเรื่องธาตุก่องข้าวน้อย
 
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าวแบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
แบบฝึกทักษะการอ่านอย่างมีวิจารณญาณจากข่าว
 
Microsoft word แบบฝึกตำรา
Microsoft word   แบบฝึกตำราMicrosoft word   แบบฝึกตำรา
Microsoft word แบบฝึกตำรา
 
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าวแบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
แบบฝึกอ่านอย่างมีวิจารณญานจากข่าว
 

โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]

  • 1. T H โคลนติดล้อ A ตอน ความนิยมเป็นเสมียน I พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูหว ่ั รัชกาลที่ ๖ ทรงใช้พระนามแฝงว่า อัศวพาหุ
  • 2. ข้อปฏิบัติการใช้ห้องเรียนภายในห้องสมุด • ห้ามมิให้นาอาหาร และเครืองดืมทุกชนิดเข้ามารับประทาน ่ ่ • ร้องเท้า และอุปกรณ์ต่างๆ เก็บรักษาของตนเองให้เรียบร้อย • ห้ามใส่รองเท้าเข้ามาภายในห้องสมุด ้ • ห้ามขีดเขียนข้อ ความต่ างๆบนอุ ปกรณ์ ท่ีไม่ใช่ของตนเอง เด็ดขาด • ตังใจเรียนด้วยความมุงมันเท่านัน ้ ่ ่ ้
  • 3. ลักษณะคำประพันธ์ : บทควำม (เนื้อหำแสดงควำมคิดเห็น) ความคิดเห็นเกี่ยวกับค่านิยมของคนไทยทีทา ่ ให้บา้ นเมืองไม่พฒนาไปเท่าทีควร ั ่
  • 4. ยุคสมัยในเนื้อเรื่อง • ช่วงพุทธศักราช ๒๔๕๓ – ๒๔๖๘ (รัชกาลที่ ๖) • รับอิทธิพลจากชาติตะวันตก • คนหนุม - สาวเริ่ มเรี ยนแพร่หลาย ่
  • 5. T H ที่มาของเรื่อง พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หว ทรง ั A พระราชนิ พ นธ์ เรื่อ ง โคลนติดล้อ ซึ่งมีท ง หมด ั้ I ๑๒ ตอน ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ไทย ระหว่าง วัน ที่ ๒๘ เมษายน ถึง ๑๑ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๘ (๑๔ วัน)
  • 6. ตอน ความนิ ย มเป็ น เสมี ย น เป็ นตอนที่ ๔ จาก ๑๒ ตอน บทความเรื่องนี้ทรงพระราชนิพนธ์ เป็ นภาษาอังกฤษด้วยในชื่อว่า Clogs on Our Wheels ลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์สยาม (สยามออบเซอร์เวอร์ Siam observer)ฉบับวันที่ ๓ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๔๕๘
  • 8. อปมา ุ • การเปรี ยบเทียบสิ่งหนึ่งว่ าเหมือนกับอีกสิ่งหนึ่ง • คล้าย เท่า เหมื อน เฉก เช่น พ่าง ดุจ ดัง ดัง ประดุจ ่ ราว ราวกับ เสมื อน อปลักษณ์ ุ • การเปรี ยบว่ าสิ่งหนึ่งเป็ นอีกสิ่งหนึ่ง • คือ เป็ น
  • 9. ควำมหมำยแฝงในกำรตั้งชื่อเรื่อง โคลน คือ ... (Clogs) ปั ญหาและอุปสรรคที่กีดขวางความเจริญของชาติ ล้อ คือ ... (Wheels) ชาติสยาม/บ้ านเมือง (ประเทศไทย)
  • 10. T H ตัวเนื้อเรื่อง พระราชนิ พ นธ์ ประเภทบทความ มี A ทั ง หมด ๑๒ บท และบทที่ ๑๒ จบด้ ว ยกาพย์ ้ I ยานี ๑๑ จานวน ๔ บท เพื่ อปลุกใจให้ คนไทยรั ก ช า ติ รั ก ค ว า ม เ ป็ น ไ ท ย ชี ใ ห้ ค น ไ ท ย ไ ด้ เ ห็ น ้ ข้ อบกพร่ องของ ตนเองที่ทาให้ ประเทศไทยเจริ ญ ก้ าวหน้ าช้ ากว่าที่ควร เป็ นตอนจบของบทที่ ๑๒ ของเรื่ อง "โคลนติดล้ อ " ที่เตือนจิตสานึกของ คนไทยให้ ภมใจในประเทศของตน ู ิ
  • 11. สหายเอยจงเงยหน้ า และเปิ ดตาพินิจดู เผยม่านพะพานอยู่ กาบังเนตรบ่เห็นไกล เปิ ดม่านแลมองเถิด จะเกิดความประโมทย์ใจ เห็นแคว้ นและแดนไทย ประเสริ ฐแสนดังแดนสรวง หวังใดจะได้ สม เสวยรมยะแดดวง เพ็ญอิสสะโรปวง ประชาเปรมเกษมสานต์ ซื่อตรงและจงรัก ผดุงศักดิภบาล ู เพื่อทรงดารงนาน อิศเรศร์ ประเทศสยาม ๕/๔ ๕/๒
  • 12. ใจความของเรื่อง เรื่ องนี ชีใ้ ห้ เห็นถึงข้ อบกพร่ องของคนไทย ๑๒ ้ ประการ ที่ เปรี ยบเป็ นโคลนติดล้ อหรื อปั ญหาที่ ทาให้ ประเทศชาติก้าวไปสู่ความเจริ ญได้ ช้าลง ได้ แก่ เรื่ องโคลนติดล้ อมีทังหมด ๑๒ ตอน ซึ่งเปรี ยบ ้ เป็ นโคลน ๑๒ ก้ อน ดังนี ้
  • 13. เรื่ อง “โคลนติดล้อ” มีทงหมด ๑๒ ตอน ั้ ซึงเปรี ยบเป็ นโคลน ๑๒ ก้ อน ่ ดังนี ้
  • 14. ๑. การเอาอย่างโดยไม่ตริตรอง ทัง ๑๒ เรื่อง ได้ลง ้ Unreasoning Imitation ตี พิม พ์ ใ นหนั ง สือ พิม พ์ ๒. การทาตนให้ ต่าต้ อย ไทย Self-Abasement ส่วนตอนที่ ๔ ได้ลง ๓. การบูชาหนังสือจนเกินเหตุ ตีพมพ์ในหนังสือพิมพ์ ิ Exaggerated Veneration for “Letter” Siam observer ด้วย ๔. ความนิยมเป็ นเสมียน ClerKism ๕. ความเห็นผิด False Ideas ๖. ถือเกียรติยศไม่มีมล ู False Dignity
  • 15. ๗. ความจนไม่จริง ทั ง ๑๒ เรื่ อ ง ได้ ล ง ้ False Poverty ตี พิ ม พ์ ใ นหนั ง สื อ พิ ม พ์ ๘. แต่งงานชัวคราว ่ ไทย Temporary Marriages ส่วนตอนที่ ๔ ได้ ลง ๙. ความไม่รับผิดชอบของบิดามารดา ตีพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ Parental Irresponsibility Siam observer ด้ วย ๑๐. การค้ าหญิงสาว The traffic in Yong Woman ๑๑. ความหยุมหยิม Pettiness ๑๒. หลักฐานไม่มนคง ั่ Imperfect Stability
  • 16. เนื้อเรื่อง ผลแห่งการบูชาหนังสือจนเกินเหตุ (บทความตอน ที่ ๓) มี อี ก อย่ า งหนึ่ ง คื อ ความนิ ย มเป็ นเสมี ย น การตัง ้ โรงเรี ยนขึนทั่วประเทศเพื่อให้ ชายหญิงทุกชันได้ มีโอกาส ้ ้ ศึ ก ษาหาความรู้ ได้ อ่ า นได้ เ ขี ย นนัน กลายเป็ นสิ่ ง ที่ น่ า ้ ราคาญ กล่าวคือ ทุกคนเมื่อเรี ยนจบออกมาจากโรงเรี ยน แล้ ว ก็มีแต่อยากเป็ นเสมียนหรื อ เลขานุการ เพื่อจะได้ เลื่อนยศเลื่อน ตาแหน่งสูงขึ ้นเร็วๆ
  • 17. เนื้อเรื่อง พวกเขาไม่เห็นว่างานอื่นจะมีเกียรตินอกจากการ เป็ นเสมี ย น จึ ง เป็ นการยากที่ จ ะบอกให้ พวกเขา กลับไปช่วยบิดามารดาทาการเกษตร
  • 18. เพราะการท าการเกษตรอาจท าให้ ลื ม ความรู้ ที่ได้ ศึกษาเล่าเรี ยนมา เพราะเหตุนี ้ เขาจึ ง สู้ สมั ค รใจหางานท าในกรุ ง เทพฯ ถึงแม้ จะได้ เงินเดือนน้ อยก็ตาม
  • 19. เนื้อเรื่อง การทางานกรุ งเทพฯ แม้ จะได้ เงิ น เพี ย งเดื อ นละ ๑๕ หรื อ ๒๐ บาทนั น พวกเขาก็ ยั ง อุ ต สาห์ ้ กระเบี ย ดกระเสี ย รใช้ จ่ า ยซื อ ้ ผ้ าม่ วงสี เสื ้อขาว หมวกสักหลาด ก า ง เ ก ง แ พ ร จี น แ ล ะ ไ ป ช ม ภาพยนตร์ อาทิ ต ย์ ล ะ ๒ ครั ้ง ไปกินข้ าวตามภัตตาคาร บางคนก็ อาจจะเสียค่าเช่าห้ องอีกด้ วย
  • 20. เนื้อเรื่อง แต่พวกเขาก็เต็มใจที่ จะด ารงชี วิ ต เช่ น นี ดี ก ว่ า ้ กลับ ไปถิ่ น ฐานบ้ านเกิ ด ตามบ้ านนอกความคิ ด เช่นนี ้เป็ นสิงเหลวไหลมาก ่
  • 21. เนื้อเรื่อง เพราะประเทศไทยของเราเป็ นประเทศ เกษตรกรรม การเป็ นชาวนา ชาวสวนนันมีเกียรติยศ ้ ไม่น้อยไปกว่าผู้ที่ทางานด้ วยปากกา ที่ร้ายไปกว่านันคืออาชีพเสมียนนัน ้ ้ ต้ องการเฉพาะผู้ที่อยู่ในวัยหนุ่มสาว เท่านัน ้
  • 22. เนื้อเรื่อง เพราะฉะนันจึงต้ องมีการจาหน่ายถ่ายเทพวกที่ ้ เกินออกเสียบ้ างเป็ นครั งคราว เพื่อจะได้ รับคนใหม่ ้ ต่อไป พวกที่ถกคัดออกก็เป็ นที่น่าสังเวชยิ่งนัก เพราะ ู จะไปท างานอื่ น ก็ ไ ม่ ไ ด้ ครั น จะกลับ ไปเป็ นชาวไร่ ้ ชาวนาก็ไม่ได้ ด้วยเหตุผลหลายประการ แต่ป ระการส าคัญ คื อ ความหยิ่ ง อัน หาเหตุผ ล ไม่ได้ นนเอง ๕/๓ ั้
  • 23. เนื้อเรื่อง ผลสุด ท้ า ยถ้ า ความยากจนข้ น แค้ น ท าให้ เ ขา กระทาการทุจริ ต ก็อาจต้ องได้ รับโทษถึงขันติดคุก ้ ซึ่ ง เป็ นที่ น่ า สัง เวชมาก ดัง นั น จึ ง สมควรเปลี่ ย น ้ ค่า นิ ยมเสียใหม่ ให้ เห็น ว่า อาชี พชาวนา ชาวสวน พ่อค้ า และช่างต่างๆมีเกียรติยศเท่ากับอาชีพเสมียน เช่นกัน ท่ านทั้งหลายจะไม่ ช่วยกัน เปลี่ยนค่ านิยมบ้ างหรื อ
  • 24. ข้อควำมชวนคิดในเรื่อง • “เพราะฉะนันท่ านจะไม่ ช่วยกันในทางนีบ้างหรื อ” ้ ้ กระตุ้นความคิดของผู้อาน ่ เพื่อให้ ผ้ อานตระหนักถึงปั ญหาและร่วมกันแก้ ปัญหา ู่
  • 25. ควำมโดดเด่นของงำนเขียน เรื่อง “โคลนติดล้อ ตอนควำมนิยมเป็นเสมียน” • มีสานวนคมคาย อ่ านเข้ าใจง่ าย ซึ่งมีดในการเขียน ี ๓ ประการ ได้ แก่ ๑. เอกภาพ (Unity) ๒. สัมพันธภาพ (Relation) ๓. สารัตถภาพ (นาหนักของเรื่อง Essentiality) ๕/๖ ้
  • 26. คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง ๑. เป็ นตัว อย่ า งบทความที่ ท รงคุ ณ ค่ า เหนื อ กาลเวลา (ทันสมัย) ๒. การตังชื่ อบทความนี มี ความหมายคมคายโดยการใช้ ้ ้ ภาพพจน์ประเภทอุปลักษณ์ ๓.เสนอข้ อคิดเกี่ยวกับปั ญหาบ้ านเมืองในเรื่ องค่านิยม(การ รับราชการ)ที่เป็ นอุปสรรคทาให้ ประเทศเจริ ญ ได้ ช้า ๔.ให้ แนวคิดว่าอาชีพอื่นก็สามารถ ทาประโยชน์ให้ แก่ประเทศชาติได้
  • 27. คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง (ต่อ) ๕. วิธีการแต่งบทความ คือ มี การกระตุ้นความคิดของผู้อ่าน โดยใช้ ประโยคคาถาม ๖. ข้ อคิดที่ได้ คือ ทุกอาชีพล้ วนมีประโยชน์ ต่อบ้ านเมืองไม่ เฉพาะอาชีพเสมียนเท่านัน ้ ๗. ผู้ที่เข้ ามาทางานในเมืองมักลืมถิ่นฐานบ้ านเกิด ๘. คนทั่ว ไปมัก นิ ย มยกย่ อ งข้ า ราชการและผู้ ที่ ท างานใน สานักงาน ทังๆที่เป็ นค่านิยมไม่ถกต้ อง ้ ู
  • 28. คุณค่ำและข้อคิดของเรื่อง (ต่อ) ๙. อาชี พ เกษตรกรรมเป็ นผู้ ผลิ ต อาหารการกิ น มีความสาคัญยิ่งต่อการเลี ้ยงมนุษย์โลกให้ มีชีวิต อยู่ ๑๐. ผู้ที่ออกจากอาชีพการงานของตน เมื่อหมด หนทางไปมักถูกชักจูงให้ ประพฤติในทางที่ทจริ ตได้ ุ
  • 29. งำนประจำหน่วย ๑. หำควำมหมำยของบทควำม ๓ ควำมหมำย ๒. หำตัวอย่ำงบทควำมจำกที่ต่ำงๆ ๒ บทควำม - วิเครำะห์บทควำมนั้น ว่ำ ๑. เขียนถึงประเด็นใด ๒. ผู้เขียนต้องกำรเสนอแนวคิดใด ๓. ค่ำนิยมที่เข้ำมำในเมืองไทยปัจจุบัน ส่งผลกระทบ อย่ำงไรต่อชีวิตนักเรียน (๓ ตัวอย่ำง)
  • 32. การบ้าน • หาความหมายของบทความ ๓ ความหมาย (๕/๖ ๒๘ กพ.) • หาบทความ (เนือหาใดก็ได้ ) ๑ บทความ ้ • วิเคราะห์ แต่ ละย่ อหน้ าว่ ากล่ าวถึงประเด็นใด • วิเคราะห์ รูปแบบการเขียน ประเด็นต่ อไปนี ้ - เอกภาพ - สัมพันธภาพ และ - สารั ตถภาพ ว่ าสมบูรณ์ พร้ อมตามหลักการเขียนที่ดหรื อไม่ อย่ างไร ี
  • 34. บทความ หมายถึง งานเขียนที่เผยแพร่ในสื่อสิ่งพิมพ์หรือ สื่ อ อิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส์ ซึ่ ง มี จุ ด ประสงค์ เ พื่ อ เผยแพร่ ข่าวสาร ผลการวิจัย เผยแพร่ความรู้ การวิเคราะห์ ทางการศึกษา การวิพากษ์วิจารณ์ เป็นต้น โดยปกติบทความหนึ่งบทความจะพูดถึงเรื่องใด เรื่องหนึ่งเป็นประเด็นหลักเพียงเรื่องเดียว เนื้อหามีความเป็นปัจจุบัน ทันสมัย