SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน colorful sky ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี
ชื่อผู้จัดทาโครงงาน
นาย อนุกูล บุญยวง เลขที่10 มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนที่ 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ประจาปีการศึกษาปี 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานดังต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Colorful Sky
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นาย อนุกูล บุญยวง
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา : คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม : นาย กิตติศักดิ์ ไชยดิษพงศ์
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา มีสีสันมากมาย ทั้งคงสภาพในสีเดิม และ สีทีเปลี่ยนแปลงไป ทว่า เรากลับไม่ทันได้
สังเกตว่า การที่ มันเปลี่ยนแปลงไป? มีสาเหตุจากอะไร? สีต่างๆมาจากไหน? ทาไมมันถึงได้เปลี่ยนไป? สิ่งเหล่านี้เมื่ออยู่
ใกล้ตัวมากๆ แม้ว่าจะพบเจอบ่อยครั้งหรือไม่ก็ตาม จะทาให้เกิดความเคยชิน และคิดว่า “เป็นแค่เรื่องปกติทั่วไป” หรือ “มัน
เป็นของมันอยู่แล้ว” จนอาจทาให้เราลืมไปว่า “จริงๆแล้วเราอาจจะเข้าใจผิดตั้งแต่แรกก็ได้” โครงงานนี้จึงทามาเพื่อขยาย
ความเข้าใจ และ ช่วยในการทบทวน อย่างง่าย โดยเริ่มจากสิ่งที่เรามองเห็นอยู่ทุกวัน อย่าง “แสง” ว่า มันมาจากอะไร มัน
มีแค่สีขาวๆ ที่ทาให้มองเห็นจริงหรือไม่? ทาไมท้องฟ้ าจึงมีสีฟ้ า? แล้วประโยชน์ของแสง นอกจากจะทาให้เรามองเห็นแล้ว
แสงยังมีประโยชน์อย่างไรบ้าง?
ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อให้สามารถสร้างแนวคิดใหม่ขึ้นมา กระผมจึงเลือกทาโครงงานนี้
เพราะว่า คาถามที่ได้กล่าวมาข้างต้นที่มาจากสิ่งใกล้ตัวนั้น ย่อมสร้างแนวคิดใหม่เพื่อนาไปต่อยอดจากองค์ความรู้เดิมได้
นอกจากนี้การคิดต่อยอดโดยเริ่มจากสิ่งใกล้ตัว สามารถทาได้หลากหลายสถานที่ในทุกๆเวลา ทาให้เราสามารถกระจาย
ความรู้ควบคู่ไปกับแนวคิดที่สร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ
สมาชิกกลุ่ม
นาย อนุกูล บุญยวง มัธยมศึกษาปีที่ 6 เลขที่10
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับแสงและสเปกตรัม
2. เพื่อให้คนส่วนใหญ่หันมาสนใจสิ่งรอบข้าง
3. เพื่อสร้างแหล่งความรู้ใหม่ที่ตรงหลักการ
4. เพื่อแก้ไขความเข้าใจในสิ่งทาบิดเบือนด้านทฤษฎี
ขอบเขตของโครงงาน
โครงงานคอมพิวเตอร์ colorful sky ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นความรู้ และ เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ที่อ่านและ
ศึกษาเกิดการฉุกคิด และ สร้างคาถาม ไปจนถึง ศึกษาค้นคว้าหาสิ่งที่สงสัย เพื่อนาไปประยุกต์ใช้กับทฤษฎีอื่น รวมไปถึง
การกลับมาฉุกคิดว่าทฤษฎีที่เคยจดจามามีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และ ตรงกับทฤษฎีอื่นด้วยหรือไม่ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รับ
ข้อมูลที่ละเอียดและเข้าใจมากยิ่งขึ้น
หลักการและทฤษฎี
ทฤษฎีสี (Theory of Color) หมายถึง ทฤษฎีของแม่สี ที่เป็นต้นกาเนิด ของการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้สร้างงานด้าน
ต่าง ๆ โดยเฉพาะการนาไปใช้ในงานออกแบบทัศนศิลป์ ทุกสาขา ทฤษฎีสีที่เกี่ยวข้องกับ งานออกแบบทัศนศิลป์ สามารถแบ่งได้เป็น 2
แบบคือ ทฤษฎีสีแสง (Light Color) การผสมของสีประเภทนี้เป็นการผสมสีแสง เรียกว่า การผสมแบบบวก (Additive Mixing) และ
ทฤษฎีสีวัตถุธาตุ(Pigmentary Color) การผสมของสีประเภทนี้เป็น การผสมของรงควัตถุ (Pigment) เรียกว่าการผสมแบบลบ
(Subtractive Mixing) ซึ่งจะได้กล่าวถึงตามลาดับ ดังต่อไปนี้
ทฤษฎีสีแสง (Light Color)
ทฤษฎีสีแสงนี้มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น แม่สีบวก (Additive Color),
แม่สีของนักวิทยาศาสตร์ (Scientific Color) หรือแม่สีแสงสีประเภทนี้เป็นเรื่อง ที่เกี่ยวพันกันระหว่าง สี ความร้อน และแสง จากการ
ค้นพบของ เซอร์ ไอแซค นัวตัน พบว่า แสงอาทิตย์มีสีต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านแท่งแก้ว รูปสามเหลี่ยม (Prism)
แสงที่ผ่านออกมาอีกด้านหนึ่งจะมี 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง และถ้านาสีทั้ง 7 นี้มาเรียงบนวงกลมนาไปหมุน
เร็ว ๆ บนแป้ นหมุน จะเห็นสี ทั้ง 7 รวมกันเป็นสีขาว แสดงให้เห็น
ว่า แสงในธรรมชาตินั้นมีอยู่ถึง 7 สี แต่รวมกันอยู่ เรียกว่า
Spectrum
แม่สีบวก (Additive Color) หรือแม่สีวิทยาศาสตร์ มี 3 สี คือ
1. สีแดง (Red, R)
2. สีเขียว (Green, G)
1. น้าเงิน (Blue, B)
การผสมสีแบบบวก (Additive Color Mixing)
การผสมสีแบบบวกนี้เป็นรูปแบบการผสมของแสง ไม่ใช่การผสมของวัตถุ ที่มีสี บนกระดาษ เนื่องจากแสงสีขาวประกอบด้วยลาแสงที่
มีสีต่าง ๆ ตามความยาวคลื่นแสง ความยาวคลื่นแสงพื้นฐานได้แก่ สีแดง เขียว และน้าเงิน เมื่อคลื่นแสงเหล่านี้มีการซ้อนทับกัน ก็จะ
ก่อให้เกิดการบวก และรวมตัวกันของความยาวคลื่นแสง จึงเป็นที่มาของชื่อ “สีแบบบวก”
(Additive Color) แสงหรือแม่สีทั้งสามนี้เป็นสีขั้นต้น เมื่อผสมเข้าด้วยกันเป็นคู่ หรือการผสมสีแบบบวก (Additive Mixing) จะได้สีขั้น
ที่สอง
แสงที่มาจากดวงอาทิตย์ปกติเป็นแสงสีขาวแต่จริงๆ แล้วประกอบด้วยแสงสีต่างๆ หลายสี คือ สีม่วง สีคราม สีน้าเงิน สีเขียว สีเหลือง สี
แสด และสีแดง ซึ่งเราสามารถมองเห็นแสงสีต่างๆ เหล่านี้ตอนเราเห็นรุ้งกินน้า แสงจากดวงอาทิตย์เมื่อเคลื่อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศของ
โลก จะวิ่งชนโมเลกุลของก๊าซ ฝุ่นละอองและหยดน้า ซึ่งปกติจะทาให้แสงสีฟ้ ากระจายตัวไปทั่วท้องฟ้ าได้ดีกว่าแสงสีอื่น จึงทาให้เรา
มองเห็นท้องฟ้ าเป็นสีฟ้ า ขบวนการที่ทาให้เราเห็นท้องฟ้ าเป็นสีฟ้ าเรียกว่า เรย์เลห์ สแคตเตอริง (Rayleigh scattering) ซึ่งเรียกตาม
ชื่อของนักฟิสิกส์ที่ชื่อ จอห์น เรย์เลห์ ซึ่งเป็นผู้ที่อธิบายขบวนการนี้เป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1870 การกระจัดกระจายแบบเรย์เล
(Rayleigh Scatter) – เกิดขึ้นเมื่อความยาวช่วงคลื่นมีขนาดมากกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคที่คลื่นไปกระทบ (เช่น ก๊าซ) ซึ่งจะ
เกิดในช่วงคลื่นสั้นมากกว่าช่วงคลื่นยาว ยิ่งช่วงคลื่นสั้นจะยิ่งมีการกระจัดกระจายมาก มีผลทาให้ความคมชัดของภาพน้อยลง ส่วน
ใหญ่จะปรากฏเป็นสีเทาปนฟ้ า (คลื่นสั้น)
แสงนั้น ถูกจัดไว้ให้มีคุณสมบัติหลัก คือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งอนุภาค มีการเคลื่อนที่เป็นทั้งคลื่นไฟฟ้ าและรังสี มนุษย์จึงนาพลังงานที่ได้
จากแสงมาใช้ประโยชน์ โดยใช้ซิลิกอนมาสร้างเป็นแผงโซล่าร์เซลล์(Solar Cell) โดยรับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์มาผลิต
ไฟฟ้ าอีกด้วย
วิธีดาเนินงาน
แนวทางดาเนินงาน
1.กาหนดหัวข้อ
2.ศึกษาและค้นคว้า
3.จัดทาโครงร่างโครงงาน
4.ตรวจสอบงาน
5.ปรับปรุงแก้ไข
6.นาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.ปริซึม
2.แผงโซล่าร์เซลล์
งบประมาณ
300-500 บาท
ขั้นตอนและการดาเนินงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้มีความรู้เกี่ยวกับแสงและสเปกตรัม
2.รู้ว่าท้องฟ้ าทาไมจึงมีสีฟ้ า
3.ได้ความรู้เกี่ยวกับสีทีมองเห็น
4.ได้รับรู้ประโยชน์จากแสง
สถานที่ดาเนินการ
บ้านและโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี
2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขา ฟิสิกส์
3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทั่วไป
แหล่งอ้างอิง
http://www.nstda.or.th/sci-kids-menu/1137-why-is-the-sky-blue
http://www.scitu.net/gcom/?p=807
http://www.rmutphysics.com/charud/naturemystery/colour/colour1.htm

More Related Content

What's hot (9)

65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
65 การนับและความน่าจะเป็น บทนำ
 
คณิต
คณิตคณิต
คณิต
 
Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3Basic m5-2-chapter3
Basic m5-2-chapter3
 
เฉลย O net 53
เฉลย O net 53เฉลย O net 53
เฉลย O net 53
 
Limit
LimitLimit
Limit
 
ทฤษฎีสี
ทฤษฎีสีทฤษฎีสี
ทฤษฎีสี
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
62 ลำดับและอนุกรม ตอนที่4_ผลบวกย่อย
 
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
ตรรกศาสตร์และการพิสูจน์
 

Viewers also liked

โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)Thanarak Karunyarat
 
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองManatsanan O-aree
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609stampst
 
2558 project
2558 project2558 project
2558 projectIMP
 
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์Natchalit Namkong
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ Warittha Nokmeerod
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานKpSwagger
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมMu PPu
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมnoonatzu
 
ออโรร่า
ออโรร่าออโรร่า
ออโรร่าstampst
 
พีชคณิตบูลีน
พีชคณิตบูลีนพีชคณิตบูลีน
พีชคณิตบูลีนBird Kesasai
 

Viewers also liked (16)

โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
โครงงานคอมพิวเตอร์ (1)
 
My eyes your eyes
My eyes your eyesMy eyes your eyes
My eyes your eyes
 
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเองดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
ดูแลตัวเองเพื่อตัวเอง
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 23 609
 
2558 project
2558 project2558 project
2558 project
 
Sasawat subhem 13
Sasawat subhem 13Sasawat subhem 13
Sasawat subhem 13
 
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างงานโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)โครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
โครงงานคอมพิวเตอร์(เดี่ยว)
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์  ส่งให้เพื่อนค่ะ
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ ส่งให้เพื่อนค่ะ
 
Com project
Com projectCom project
Com project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงานแบบเสนอโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอโครงร่างโครงงาน
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
เพลี้ย
เพลี้ยเพลี้ย
เพลี้ย
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
ออโรร่า
ออโรร่าออโรร่า
ออโรร่า
 
พีชคณิตบูลีน
พีชคณิตบูลีนพีชคณิตบูลีน
พีชคณิตบูลีน
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kansiri Sai-ud
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมJames Kaew
 
พศิน โครงงาน
พศิน โครงงานพศิน โครงงาน
พศิน โครงงานFluke Mak
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะNada Inthanon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมBoyle606
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์potatolnw007
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassaraapassararungsri
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินApisit Sangatid
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kingky Kung
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project T000 Ter
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5T000 Ter
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 nuttida-607-23
 

Similar to แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
พศิน โครงงาน
พศิน โครงงานพศิน โครงงาน
พศิน โครงงาน
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
สื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะสื่อการศึกษาชีวะ
สื่อการศึกษาชีวะ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16Aunchalee norfa no.16
Aunchalee norfa no.16
 
607_07
607_07607_07
607_07
 
Com
ComCom
Com
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2562 final-project apassara
2562 final-project  apassara2562 final-project  apassara
2562 final-project apassara
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project (1)
2560 project  (1)2560 project  (1)
2560 project (1)
 
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดินตามรอย...สี่แผ่นดิน
ตามรอย...สี่แผ่นดิน
 
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607 Nuttida 23 2561 project 607
Nuttida 23 2561 project 607
 

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน colorful sky ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี ชื่อผู้จัดทาโครงงาน นาย อนุกูล บุญยวง เลขที่10 มัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้องเรียนที่ 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงานภาคเรียนที่ 1-2 ประจาปีการศึกษาปี 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานดังต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Colorful Sky ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน : นาย อนุกูล บุญยวง ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา : คุณครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม : นาย กิตติศักดิ์ ไชยดิษพงศ์ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน สิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัวเรา มีสีสันมากมาย ทั้งคงสภาพในสีเดิม และ สีทีเปลี่ยนแปลงไป ทว่า เรากลับไม่ทันได้ สังเกตว่า การที่ มันเปลี่ยนแปลงไป? มีสาเหตุจากอะไร? สีต่างๆมาจากไหน? ทาไมมันถึงได้เปลี่ยนไป? สิ่งเหล่านี้เมื่ออยู่ ใกล้ตัวมากๆ แม้ว่าจะพบเจอบ่อยครั้งหรือไม่ก็ตาม จะทาให้เกิดความเคยชิน และคิดว่า “เป็นแค่เรื่องปกติทั่วไป” หรือ “มัน เป็นของมันอยู่แล้ว” จนอาจทาให้เราลืมไปว่า “จริงๆแล้วเราอาจจะเข้าใจผิดตั้งแต่แรกก็ได้” โครงงานนี้จึงทามาเพื่อขยาย ความเข้าใจ และ ช่วยในการทบทวน อย่างง่าย โดยเริ่มจากสิ่งที่เรามองเห็นอยู่ทุกวัน อย่าง “แสง” ว่า มันมาจากอะไร มัน มีแค่สีขาวๆ ที่ทาให้มองเห็นจริงหรือไม่? ทาไมท้องฟ้ าจึงมีสีฟ้ า? แล้วประโยชน์ของแสง นอกจากจะทาให้เรามองเห็นแล้ว แสงยังมีประโยชน์อย่างไรบ้าง? ดังนั้น เพื่อเป็นการเสริมสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อให้สามารถสร้างแนวคิดใหม่ขึ้นมา กระผมจึงเลือกทาโครงงานนี้ เพราะว่า คาถามที่ได้กล่าวมาข้างต้นที่มาจากสิ่งใกล้ตัวนั้น ย่อมสร้างแนวคิดใหม่เพื่อนาไปต่อยอดจากองค์ความรู้เดิมได้ นอกจากนี้การคิดต่อยอดโดยเริ่มจากสิ่งใกล้ตัว สามารถทาได้หลากหลายสถานที่ในทุกๆเวลา ทาให้เราสามารถกระจาย ความรู้ควบคู่ไปกับแนวคิดที่สร้างสรรค์ได้อย่างมีประสิทธิ์ภาพ สมาชิกกลุ่ม นาย อนุกูล บุญยวง มัธยมศึกษาปีที่ 6 เลขที่10
  • 3. วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับแสงและสเปกตรัม 2. เพื่อให้คนส่วนใหญ่หันมาสนใจสิ่งรอบข้าง 3. เพื่อสร้างแหล่งความรู้ใหม่ที่ตรงหลักการ 4. เพื่อแก้ไขความเข้าใจในสิ่งทาบิดเบือนด้านทฤษฎี ขอบเขตของโครงงาน โครงงานคอมพิวเตอร์ colorful sky ท้องฟ้ าเปลี่ยนสี จัดทาขึ้นเพื่อ เป็นความรู้ และ เป็นตัวกระตุ้นให้ผู้ที่อ่านและ ศึกษาเกิดการฉุกคิด และ สร้างคาถาม ไปจนถึง ศึกษาค้นคว้าหาสิ่งที่สงสัย เพื่อนาไปประยุกต์ใช้กับทฤษฎีอื่น รวมไปถึง การกลับมาฉุกคิดว่าทฤษฎีที่เคยจดจามามีความถูกต้อง น่าเชื่อถือ และ ตรงกับทฤษฎีอื่นด้วยหรือไม่ เพื่อให้ผู้ศึกษาได้รับ ข้อมูลที่ละเอียดและเข้าใจมากยิ่งขึ้น หลักการและทฤษฎี ทฤษฎีสี (Theory of Color) หมายถึง ทฤษฎีของแม่สี ที่เป็นต้นกาเนิด ของการผสมสีเพื่อให้เกิดเป็นสีต่าง ๆ เพื่อนาไปใช้สร้างงานด้าน ต่าง ๆ โดยเฉพาะการนาไปใช้ในงานออกแบบทัศนศิลป์ ทุกสาขา ทฤษฎีสีที่เกี่ยวข้องกับ งานออกแบบทัศนศิลป์ สามารถแบ่งได้เป็น 2 แบบคือ ทฤษฎีสีแสง (Light Color) การผสมของสีประเภทนี้เป็นการผสมสีแสง เรียกว่า การผสมแบบบวก (Additive Mixing) และ ทฤษฎีสีวัตถุธาตุ(Pigmentary Color) การผสมของสีประเภทนี้เป็น การผสมของรงควัตถุ (Pigment) เรียกว่าการผสมแบบลบ (Subtractive Mixing) ซึ่งจะได้กล่าวถึงตามลาดับ ดังต่อไปนี้ ทฤษฎีสีแสง (Light Color) ทฤษฎีสีแสงนี้มีชื่อเรียกอีกหลายชื่อ เช่น แม่สีบวก (Additive Color), แม่สีของนักวิทยาศาสตร์ (Scientific Color) หรือแม่สีแสงสีประเภทนี้เป็นเรื่อง ที่เกี่ยวพันกันระหว่าง สี ความร้อน และแสง จากการ ค้นพบของ เซอร์ ไอแซค นัวตัน พบว่า แสงอาทิตย์มีสีต่าง ๆ รวมกันอยู่ เมื่อให้แสงอาทิตย์ส่องผ่านแท่งแก้ว รูปสามเหลี่ยม (Prism) แสงที่ผ่านออกมาอีกด้านหนึ่งจะมี 7 สี คือ ม่วง คราม น้าเงิน เขียว เหลือง แสด แดง และถ้านาสีทั้ง 7 นี้มาเรียงบนวงกลมนาไปหมุน เร็ว ๆ บนแป้ นหมุน จะเห็นสี ทั้ง 7 รวมกันเป็นสีขาว แสดงให้เห็น ว่า แสงในธรรมชาตินั้นมีอยู่ถึง 7 สี แต่รวมกันอยู่ เรียกว่า Spectrum แม่สีบวก (Additive Color) หรือแม่สีวิทยาศาสตร์ มี 3 สี คือ 1. สีแดง (Red, R) 2. สีเขียว (Green, G) 1. น้าเงิน (Blue, B)
  • 4. การผสมสีแบบบวก (Additive Color Mixing) การผสมสีแบบบวกนี้เป็นรูปแบบการผสมของแสง ไม่ใช่การผสมของวัตถุ ที่มีสี บนกระดาษ เนื่องจากแสงสีขาวประกอบด้วยลาแสงที่ มีสีต่าง ๆ ตามความยาวคลื่นแสง ความยาวคลื่นแสงพื้นฐานได้แก่ สีแดง เขียว และน้าเงิน เมื่อคลื่นแสงเหล่านี้มีการซ้อนทับกัน ก็จะ ก่อให้เกิดการบวก และรวมตัวกันของความยาวคลื่นแสง จึงเป็นที่มาของชื่อ “สีแบบบวก” (Additive Color) แสงหรือแม่สีทั้งสามนี้เป็นสีขั้นต้น เมื่อผสมเข้าด้วยกันเป็นคู่ หรือการผสมสีแบบบวก (Additive Mixing) จะได้สีขั้น ที่สอง แสงที่มาจากดวงอาทิตย์ปกติเป็นแสงสีขาวแต่จริงๆ แล้วประกอบด้วยแสงสีต่างๆ หลายสี คือ สีม่วง สีคราม สีน้าเงิน สีเขียว สีเหลือง สี แสด และสีแดง ซึ่งเราสามารถมองเห็นแสงสีต่างๆ เหล่านี้ตอนเราเห็นรุ้งกินน้า แสงจากดวงอาทิตย์เมื่อเคลื่อนที่ผ่านชั้นบรรยากาศของ โลก จะวิ่งชนโมเลกุลของก๊าซ ฝุ่นละอองและหยดน้า ซึ่งปกติจะทาให้แสงสีฟ้ ากระจายตัวไปทั่วท้องฟ้ าได้ดีกว่าแสงสีอื่น จึงทาให้เรา มองเห็นท้องฟ้ าเป็นสีฟ้ า ขบวนการที่ทาให้เราเห็นท้องฟ้ าเป็นสีฟ้ าเรียกว่า เรย์เลห์ สแคตเตอริง (Rayleigh scattering) ซึ่งเรียกตาม ชื่อของนักฟิสิกส์ที่ชื่อ จอห์น เรย์เลห์ ซึ่งเป็นผู้ที่อธิบายขบวนการนี้เป็นคนแรกในปี ค.ศ. 1870 การกระจัดกระจายแบบเรย์เล (Rayleigh Scatter) – เกิดขึ้นเมื่อความยาวช่วงคลื่นมีขนาดมากกว่าเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคที่คลื่นไปกระทบ (เช่น ก๊าซ) ซึ่งจะ เกิดในช่วงคลื่นสั้นมากกว่าช่วงคลื่นยาว ยิ่งช่วงคลื่นสั้นจะยิ่งมีการกระจัดกระจายมาก มีผลทาให้ความคมชัดของภาพน้อยลง ส่วน ใหญ่จะปรากฏเป็นสีเทาปนฟ้ า (คลื่นสั้น) แสงนั้น ถูกจัดไว้ให้มีคุณสมบัติหลัก คือ มีคุณสมบัติเป็นทั้งอนุภาค มีการเคลื่อนที่เป็นทั้งคลื่นไฟฟ้ าและรังสี มนุษย์จึงนาพลังงานที่ได้ จากแสงมาใช้ประโยชน์ โดยใช้ซิลิกอนมาสร้างเป็นแผงโซล่าร์เซลล์(Solar Cell) โดยรับพลังงานความร้อนจากแสงอาทิตย์มาผลิต ไฟฟ้ าอีกด้วย วิธีดาเนินงาน แนวทางดาเนินงาน 1.กาหนดหัวข้อ 2.ศึกษาและค้นคว้า 3.จัดทาโครงร่างโครงงาน 4.ตรวจสอบงาน 5.ปรับปรุงแก้ไข 6.นาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.ปริซึม 2.แผงโซล่าร์เซลล์ งบประมาณ 300-500 บาท
  • 5. ขั้นตอนและการดาเนินงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้มีความรู้เกี่ยวกับแสงและสเปกตรัม 2.รู้ว่าท้องฟ้ าทาไมจึงมีสีฟ้ า 3.ได้ความรู้เกี่ยวกับสีทีมองเห็น 4.ได้รับรู้ประโยชน์จากแสง สถานที่ดาเนินการ บ้านและโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สาขา ฟิสิกส์ 3.กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ทั่วไป