SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน สื่อการศึกษา เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช
ชื่อผู้ทาโครงงาน
นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้นม.6 ห้อง 8
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) สื่อการศึกษา เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช
ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Photosynthesis
ประเภทโครงงาน สื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สิรินดา อินทนนท์ ม. 6/8 เลขที่ 6
ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2558
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
เนื่องจากวิชาชีววิทยานั่น เป็นวิชาที่จะเน้นไปในด้านความจามากกว่าคานวณ
อีกทั้งยังมีเนื้อหาที่มากเกินที่จะจาได้หมด ในบางเรื่องก็มีเนื้อหายากทาให้ไม่ค่อยเข้าใจในเรื่องนั่น
อย่างเช่นในเรื่องของพืชนั้นมีเนื้อหาที่ซับซ้อนอีกทั้งยังมีความคล้ายคลึงในบางจุดของหัวข้อในเรื่องพืช
ผู้จัดทาจึงคิดจะจัดทาเป็นสื่อเพื่อการศึกษา เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความเข้าใจในเรื่องมากขึ้น
เพื่อใช้สอบแข่งขันต่างๆหรือเพื่อใช้ในการสอบในโรงเรียน ในส่วนของสื่อที่จะจัดทานั้น
ผู้จัดทามีแนวคิดในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้อ่าน คือ
จะมีตั้งแต่การสรุปเนื้อหาให้กระชับและเข้าใจได้ง่ายแลพแบบฝึกหัดเล็กน้อย เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของผู้อ่าน
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาของคนที่สนใจในเรื่อง องค์ประกอบและการสังเคราะห์แสงของพืช
2. เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน
3. เพื่อใช้เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์
ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เนื้อหาเรื่อง องค์ประกอบและการสังเคราะห์แสงของพืช
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
- Van Helmont
ในปี ค.ศ. 1648 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (J.B. Van Helmomt)
นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ได้ทดลอง ปลูกต้นหลิวหนัก 5
ปอนด์ในถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์
ระหว่างทากาทดลองได้รดน้าต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกๆวัน
ด้วยน้าฝนหรือน้ากลั่นเป็นระยะเวลา 5ปีต้นหลิวเจริญขึ้นหนักเป็น 169ปอนด์ 3 ออนซ์
(ไม่ได้รวมน้าหนักของใบซึ่งร่วงไปในแต่ละปี)
และเมื่อนาดินในถังมาทาให้แห้งแล้วนาไปชั่ง
ปรากฏว่ามีน้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น
ข้อสรุปได้ว่า น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นได้มาจากน้าเพียงอย่างเดียว
ซึ่งข้อสรุปนี้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางมากในยุคนั้น
- Joseph Priestley
ในปี ค.ศ. 1772โจเซฟ พริสท์ลีย์ (Joseph Priestley)
นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวได้ว่า…“การหายใจ การเน่าเปื่อยและการตายของสัตว์
ทาให้อากาศเสีย แต่พืชจะทาให้อากาศเสียนั้นบริสุทธิ์ขึ้นและมีประโยชนต์ ต่อการดารงชีวิต”
เขา ได้ทาการทดลองโดยจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้ว ปรากฏว่าสักครู่เทียนไขก็ดับ
และเมื่อใส่หนูเข้าไปในครอบแก้วครู่ต่อมาหนูก็ตาย แต่ถ้าเอาพืชสีเขียว
ใส่ในครอบแก้วที่เคยจุดเทียนไขเอาไว้ก่อนแล้ว อีก 10
วันต่อมาเมื่อจุดเทียนไขในครอบแก้วนั้นใหม่
ปรากฏว่าเทียนไขลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่งโดยไม่ดับทันที
การทดลองที่ 1
ให้ข้อสรุป ไว้ว่า
การลุกไหม้ของเทียนไขและการหายใจของหนูทาให้เกิดอากาศเสีย
ดังนั้นจึงทาให้เทียนไขดับและทาให้หนูตาย
4
การทดลองที่ 2
ต่อ มาโจเซฟ พริสต์ลีย์ ได้ทาการทดลองจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วและนาพืชไว้ด้วย
พบว่าเทียนไขยังคงจุดติดไฟได้ดี และเมื่อทาการทดลองอีกครั้งโดยใส่หนูไว้ในครอบแก้วและนาพืชใส่ไว้ด้วย
พบว่าหนูยังคงมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน
จากการทดลองดังกล่าวโจเซฟ พริสต์ลีย์ได้ให้ข้อสรุปไว้ว่า พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้
- Jan Ingen-Housz
พ.ศ. 2322 แจน อิเก็นฮูซ นายแพทย์ชาวดัทช์ ได้ทาการทดลองคล้ายกับ พริสต์ลีย์
และพิสูจน์ให้เห็นว่า การทดลองของ พริสต์ลีย์ จะได้ผลก็ต่อเมื่อมีแสง
สรุปผลการทดลอง การที่พืชจะเปลี่ยนอากาศเสีย เป็นอากาศดีได้นั้น พืชต้องใช้แสงด้วย
ต่อมาในปีพ.ศ. 2339แจน อินเก็น ฮูซ เสนอว่า พืชเก็บธาตุคาร์บอน
ซึ่งได้มาจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ในรูปของสารอินทรีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวดัทช์
ได้ทาการทดลองคล้ายกับโจเซฟ พริสต์ลีย์ โดยใส่พืชไว้ในครอบแก้ว แต่แยกเป็นส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ลาต้น ใบ
เป็นต้น แล้วทิ้งไว้ในที่มืดชั่วระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้นจึงจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วแต่ละอัน
พบว่าเทียนไขในครอบแก้วทุกอันไม่ติดไฟ และเมื่อทาการทดลองอีก
ครั้งโดยนาครอบแก้วทุกอันไปไว้ในบริเวณที่มีแสงสว่าง ระยะเวลาหนึ่ง
หลังจากนั้นจึงจุดเทียนไขในครอบแก้วแต่ละอัน
พบว่าในครอบแก้วที่มีส่วนของพืชซึ่งมีสีเขียวสามารถจุดเทียนไขให้ติดไฟได้ จากการทดลอง
- Jean Senebier
พ.ศ. 2325(ค.ศ.1782) ฌอง ซีนีบิเยร์ (Jean Senebier) ค้นพบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้
และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์เป็น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์
ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ แก๊สออกซิเจน
- Nicolas Theodore deSoussure
พ.ศ. 2347 นิ โคลาส ธีโอดอร์ เดอโซซูร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิส ๆ
ได้พิจารณาการค้นพบของ แวน เฮลมองท์ ที่แสดงให้เห็นว่า
น้าหนักของพืชเพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ เขาสันนิษฐานว่า
น้าหนักที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่พืชได้รับ และ
5
ได้ทาการรวบรวมและศึกษาผลงานของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตหลายๆ ท่าน
โดยอาศัยความรู้พื้นฐานทางด้านเคมี
สมัยใหม่ทาให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชดังต่อไปนี้
- พืช จะคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนในเวลากลางวัน
และจะคายเฉพาะแก๊คาร์บอนไดออกไซด์ในเวลากลางคืน แสดงว่าพืชหายใจตลอดเวลา
แต่พืชมีการสังเคราะห์แสงเฉพาะเวลากลางวันหรือเมื่อได้รับแสง
- แร่ธาตุในดินมีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช
- น้าไม่ใช่เพียงละลายแร่ธาตุในดินให้แก่พืชเท่านั้น
แต่น้ายังมีบทบาทสาคัญโดยตรงในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช
-เขาจึงสรุปว่าน้าหนักที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ
- Julius Sachs
ค.ศ. 1862 จูเลียสซาซ (JuliusSachs) พบว่า สารอินทรีย์ที่พืชสร้าง คือ น้าตาล
ซึ่งเป็นสารคาร์โบไฮเดรต WHIHELM ENGELMAN ชาวเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2438 หรือ ค.ศ.
1895 การทดลองของเองเกลมัน ใช้Aerobic bacteria และใช้ส่าหร่าย spirogyra ที่
มีรงควัตถุเหมือนพืช เพื่อยืนยันว่าความยาวคลื่อ ณแสงสีแดง และแสงสีม่วง
ทาให้เกิดการสังเคราะห์มากที่สุด คือมีการปล่อย ออกซิเจนออกมามากสุดนั่นเอง
จากการทดลองพบว่า
แบคทีเรียที่ต้องการออกซิเจนมารวมกลุ่มกันที่บริเวณสาหร่ายได้รับแสง สีแดงและสีน้าเงิน
เพราะทั้งสองบริเวณนี้สาหร่ายจะให้แก๊สออกซิเจน
- Van Niel
ในปี ค.ศ. 1930 แวน นีล(Van Niel) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด พบว่า
แบคทีเรียบางชนิด (Green sulfur bacteriaและ Purple sulfur bacteria)
สามารถสังเคราะห์แสงได้โดยไม่ใช้H2O แต่ใช้H2S (ไฮโดรเจนซัลไฟด์) แทน จึงเกิดซัลเฟอร์
(S) ออกมา แทนที่จะเกิด O2
- การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรีย ก็เป็นหลักฐานอีกอย่างหนึ่งที่สนับสนุนว่า O2
6
ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมาจาก H2O (เนื่องจากแบคทีเรีย ไม่ใช้ H2O ในการ
สังเคราะห์ด้วยแสง จึงไม่เกิด O2 แต่เกิดซัลเฟอร์ (S)ออกมา)
- แวน นีล( Van Niel) ได้เสนอสมมติฐานว่า…ในกระบวนการสร้างอาหารของพืชนั้น
น่าจะคล้ายกับการสร้างอาหารของแบคทีเรีย ซึ่งแสง (light) มีบทบาทสาคัญคือ ทาให้โมเลกุล
ของน้าแตกตัวเป็น H+ กับ OH- จากนั้น H+ จะเข้าทาปฏิกิริยากับ CO2 เกิดเป็นคาร์โบไฮเดรต ( C H2O )
ขึ้น
- Robin Hill
ในปี ค.ศ. 1973 โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ได้ทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่ง
มีคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากใบพืชพวกผักโขม และมีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยปรากฏว่า
เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส และมี O2
เกิดขึ้นแต่ถ้าผ่านแสงเข้าไปในคลอโรพลาสต์ที่ไม่มีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยจะไม่มีออกซิเจนเกิดขึ้น
ดังนั้นการที่เกลือเฟอริกจะเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสได้ก็ต่อเมื่อได้รับไฮโดรเจน
จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลองนี้แสดงว่าเกลือเฟอริกต้องได้รับไฮโดรเจน ขณะเดียวกันมี O2
ในปฏิกิริยาด้วย เกลือเฟอริกจึงทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน
ซึ่งการค้นคว้าต่อมาพบว่ามีสารที่ทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจนอีกหลายชนิด เช่น
เฟอริกไซยาไนด์และเมธีลีนบลู เป็นต้น
ซึ่งสามารถสรุปผลการทดลองนี้ได้ว่าไฮโดรเจนที่เกลือเฟอริกได้รับและ O2 ที่เกิดขึ้นมาจาก H2O
- สารประกอบที่ทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน (H- accepter) ในพืชคือ… NADP+ (nicotinamide
adenine dinucleotide phosphate)
- Sam Ruben & Martin Kamen
วิธีการทดลองเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า
O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากน้า ค.ศ.1941 แซม รูเบน และ มาร์ติน
คาเมน (Sam Ruben และ Martin Kamen)
7
ได้นาสาหร่ายสีเขียวในปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลงไปในขวดแก้ว 2 ใบคือ ก. และ ข.
แล้วใส่น้าและคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวด
ทั้ง 2ดังนี้
ขวด ก. ใส่H2O ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ 18
O แต่CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา
ขวด ข. ใส่C O2 ที่ประกอบด้วย 18
O แต่ใส่ H2O ที่มี O2 ธรรมดา ตั้งขวดทั้ง 2ใบให้ได้รับแสง
สาหร่ายจะสังเคราะห์ ด้วยแสง เกิด O2 ขึ้น นาO2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วย แสงแล้วมาทดสอบพบว่า
ขวด ก. O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น 18
O
ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น O2ธรรมดา
สรุปผลการทดลองได้ว่า…
O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากโมเลกุลของน้า
- Daniel Arnon
ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon)
และคณะแห่งมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียที่เบิร์กเลย์
ได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สาร บางอย่าง เช่น ADP
หมู่ฟอสเฟต (Pi) NADP+ และ CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมาได้แล้ว
ให้แสงจะมีปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น
ต่อมาอาร์นอนได้ทาการทดลองเพื่อติดตามขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยา โดยควบคุมปัจจัยบาง อย่าง
แล้วสังเกตผลการทดลองที่เกิดขึ้น อาร์นอนพบว่าถ้าให้สารต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้วยกเว้น คาร์บอนไดออกไซด์
ปรากฏว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นได้สารบางอย่างแต่ไม่มีการสร้างคาร์โบไฮเดรต
อาร์นอนได้ทาการทดลองต่อไปอีก โดยให้ปัจจัยต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วแก่คลอโรพลาสต์ ยกเว้น C
O2และ NADP+ พบว่าเกิด ATP อย่างเดียวเท่านั้น ดังสมการ
8
จากการทดลองนี้แสดงว่าคลอโรพลาสต์ที่ได้รับแสงจะสามารถสร้าง ATP ได้เพียงอย่างเดียว หรือสร้างทั้ง
ATP NADPH+H+ และ O2 ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าคลอโรพลาสต์นั้นจะได้รับ ADP และ Pi เท่านั้น หรือทั้ง NADP+
ADP และ Pi อาจสรุปได้ว่า พืชจะให้ NADPH+H+ และ O2 เมื่อได้รับ NADP+
ต่อมาอาร์นอนได้ทาการทดลองใหม่ โดยเติมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP และ NADPH+H+
ลงไปในสารละลายของคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากเซลล์แต่ ไม่ให้แสงสว่าง ผลปรากฏว่า มีน้าตาลเกิดขึ้น
แสดงว่าปัจจัยในการสังเคราะห์ คือ ATP และ NADPH+H+ ไม่ใช่แสง
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. วิเคราะห์และเลือกหัวข้อ
2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการโครงงาน
3. นาข้อมูลมาทาความเข้าใจและสรุปออกมา
4. ออกแบบสื่อที่คิดจะทาออกมา
5. เรียบเรียงข้อมูลที่สรุปแล้วลงไป
6. นาเสนอผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
- หนังสือเรียนวิชาชีวะวิทยา
- คอมพิวเตอร์
- โปรแกรม Microsoft Ofiice Powerpoint
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
9
ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. สื่อการเรียนรู้เป็นไปตามที่หวังไว้
2. ผู้อ่านจะมีความเข้าใจในเรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืชมากขึ้น
สถานที่ดาเนินการ
บ้าน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. ชีววิทยา
2. คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน)
- PAT2 ชีววิทยา พี่วิเวียน ออนดีมานด์ เล่ม6
- Essential Biology

More Related Content

What's hot

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightThanyamon Chat.
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reactionsukanya petin
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)Thitaree Samphao
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสOui Nuchanart
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงdnavaroj
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงพัน พัน
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่งkaoijai
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงWichai Likitponrak
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryporpia
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2Anana Anana
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงTiew Yotakong
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3Anana Anana
 

What's hot (18)

กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlightกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงlight
 
Photosynthetic reaction
Photosynthetic reactionPhotosynthetic reaction
Photosynthetic reaction
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง (T)
 
โครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาสโครงสร้างคลอโรพลาส
โครงสร้างคลอโรพลาส
 
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสงคลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
คลอโรฟิลล์กับการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
การสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสงการสังเคราะห์ด้วยแสง
การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
light reaction
light reactionlight reaction
light reaction
 
Photosynthesis
PhotosynthesisPhotosynthesis
Photosynthesis
 
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic  สำหรับห้องหนึ่งReaction organic  สำหรับห้องหนึ่ง
Reaction organic สำหรับห้องหนึ่ง
 
C3 c4-cam
C3 c4-camC3 c4-cam
C3 c4-cam
 
สังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสงสังเคราะห์แสง
สังเคราะห์แสง
 
14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM14.พืช C4 and CAM
14.พืช C4 and CAM
 
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistryเคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
เคมีอินทรีย์ Organic-chemistry
 
Chemistry
Chemistry Chemistry
Chemistry
 
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
กระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง2
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสงบทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์ด้วยแสง
 
สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3สังเคราะห์แสง3
สังเคราะห์แสง3
 
carbondioxide fixation
carbondioxide fixationcarbondioxide fixation
carbondioxide fixation
 

Similar to สื่อการศึกษาชีวะ

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์natnaree2098
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์pattamonhpgo
 
2561 project 1 suiya-aryee no.9
2561 project  1 suiya-aryee no.92561 project  1 suiya-aryee no.9
2561 project 1 suiya-aryee no.9AryeeSuai
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1parwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1parwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectfparwaritfast
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectfparwaritfast
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thunnattapat
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์charintip0204
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกladyingviolet
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาysmhcnboice
 

Similar to สื่อการศึกษาชีวะ (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Com
ComCom
Com
 
2561 project 1 suiya-aryee no.9
2561 project  1 suiya-aryee no.92561 project  1 suiya-aryee no.9
2561 project 1 suiya-aryee no.9
 
Thitiporn1
Thitiporn1Thitiporn1
Thitiporn1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
Save wolrdsaveenergy   com58projectf1Save wolrdsaveenergy   com58projectf1
Save wolrdsaveenergy com58projectf1
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
Save wolrdsaveenergy com58projectf
Save wolrdsaveenergy   com58projectfSave wolrdsaveenergy   com58projectf
Save wolrdsaveenergy com58projectf
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
AT1
AT1AT1
AT1
 
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิกผักออร์เเกนิก
ผักออร์เเกนิก
 
โครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลาโครงงานไวรัสอีโบลา
โครงงานไวรัสอีโบลา
 
Photosyntasis book
Photosyntasis bookPhotosyntasis book
Photosyntasis book
 
Work1 608_29
Work1 608_29Work1 608_29
Work1 608_29
 
2561 project -7
2561 project -72561 project -7
2561 project -7
 

More from Nada Inthanon

7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยายNada Inthanon
 
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ Nada Inthanon
 
1 ประวัติและข้อมูลติดต่อ
1  ประวัติและข้อมูลติดต่อ1  ประวัติและข้อมูลติดต่อ
1 ประวัติและข้อมูลติดต่อNada Inthanon
 

More from Nada Inthanon (17)

36
3636
36
 
เฉลย M ath
เฉลย M athเฉลย M ath
เฉลย M ath
 
Eng
EngEng
Eng
 
Social
SocialSocial
Social
 
Thai
ThaiThai
Thai
 
Bio
BioBio
Bio
 
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
7วิชาสามัญ เคมี เฉลย ขยาย
 
Chem test
Chem testChem test
Chem test
 
เฉลย M ath
เฉลย M athเฉลย M ath
เฉลย M ath
 
Chem test
Chem testChem test
Chem test
 
Physic
PhysicPhysic
Physic
 
เฉลย M ath
เฉลย M athเฉลย M ath
เฉลย M ath
 
Math
MathMath
Math
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Blogger
BloggerBlogger
Blogger
 
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
ใบงานที่ 1 : ใบงานแบบสำรวจและประวัติ
 
1 ประวัติและข้อมูลติดต่อ
1  ประวัติและข้อมูลติดต่อ1  ประวัติและข้อมูลติดต่อ
1 ประวัติและข้อมูลติดต่อ
 

สื่อการศึกษาชีวะ

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน สื่อการศึกษา เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 ชั้นม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว สิรินดา อินทนนท์ เลขที่ 6 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) สื่อการศึกษา เรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืช ชื่อโครงงาน(ภาษาอังกฤษ) Photosynthesis ประเภทโครงงาน สื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาว สิรินดา อินทนนท์ ม. 6/8 เลขที่ 6 ชื่อที่ปรึกษาครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2ปีการศึกษา 2558 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน(อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) เนื่องจากวิชาชีววิทยานั่น เป็นวิชาที่จะเน้นไปในด้านความจามากกว่าคานวณ อีกทั้งยังมีเนื้อหาที่มากเกินที่จะจาได้หมด ในบางเรื่องก็มีเนื้อหายากทาให้ไม่ค่อยเข้าใจในเรื่องนั่น อย่างเช่นในเรื่องของพืชนั้นมีเนื้อหาที่ซับซ้อนอีกทั้งยังมีความคล้ายคลึงในบางจุดของหัวข้อในเรื่องพืช ผู้จัดทาจึงคิดจะจัดทาเป็นสื่อเพื่อการศึกษา เพื่อให้ผู้อ่านได้มีความเข้าใจในเรื่องมากขึ้น เพื่อใช้สอบแข่งขันต่างๆหรือเพื่อใช้ในการสอบในโรงเรียน ในส่วนของสื่อที่จะจัดทานั้น ผู้จัดทามีแนวคิดในการพัฒนาให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้อ่าน คือ จะมีตั้งแต่การสรุปเนื้อหาให้กระชับและเข้าใจได้ง่ายแลพแบบฝึกหัดเล็กน้อย เพื่อวัดความรู้ความเข้าใจของผู้อ่าน วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาของคนที่สนใจในเรื่อง องค์ประกอบและการสังเคราะห์แสงของพืช 2. เพื่อใช้เป็นสื่อการสอน 3. เพื่อใช้เทคโนโลยี อินเทอร์เน็ตให้เกิดประโยชน์ ขอบเขตโครงงาน(คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เนื้อหาเรื่อง องค์ประกอบและการสังเคราะห์แสงของพืช
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) - Van Helmont ในปี ค.ศ. 1648 ฌอง แบบติสท์ แวน เฮลมองท์ (J.B. Van Helmomt) นักวิทยาศาสตร์ชาวเบลเยี่ยม ได้ทดลอง ปลูกต้นหลิวหนัก 5 ปอนด์ในถังใบใหญ่ที่บรรจุดินซึ่งทาให้แห้งสนิทหนัก 200 ปอนด์ ระหว่างทากาทดลองได้รดน้าต้นหลิวที่ปลูกไว้ทุกๆวัน ด้วยน้าฝนหรือน้ากลั่นเป็นระยะเวลา 5ปีต้นหลิวเจริญขึ้นหนักเป็น 169ปอนด์ 3 ออนซ์ (ไม่ได้รวมน้าหนักของใบซึ่งร่วงไปในแต่ละปี) และเมื่อนาดินในถังมาทาให้แห้งแล้วนาไปชั่ง ปรากฏว่ามีน้าหนักน้อยกว่าดินที่ใช้ก่อนทาการทดลองเพียง 2 ออนซ์เท่านั้น ข้อสรุปได้ว่า น้าหนักของต้นหลิวที่เพิ่มขึ้นได้มาจากน้าเพียงอย่างเดียว ซึ่งข้อสรุปนี้ได้รับการยอมรับอย่างกว้างขวางมากในยุคนั้น - Joseph Priestley ในปี ค.ศ. 1772โจเซฟ พริสท์ลีย์ (Joseph Priestley) นักวิทยาศาสตร์ชาวอังกฤษกล่าวได้ว่า…“การหายใจ การเน่าเปื่อยและการตายของสัตว์ ทาให้อากาศเสีย แต่พืชจะทาให้อากาศเสียนั้นบริสุทธิ์ขึ้นและมีประโยชนต์ ต่อการดารงชีวิต” เขา ได้ทาการทดลองโดยจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้ว ปรากฏว่าสักครู่เทียนไขก็ดับ และเมื่อใส่หนูเข้าไปในครอบแก้วครู่ต่อมาหนูก็ตาย แต่ถ้าเอาพืชสีเขียว ใส่ในครอบแก้วที่เคยจุดเทียนไขเอาไว้ก่อนแล้ว อีก 10 วันต่อมาเมื่อจุดเทียนไขในครอบแก้วนั้นใหม่ ปรากฏว่าเทียนไขลุกไหม้อยู่ได้ระยะหนึ่งโดยไม่ดับทันที การทดลองที่ 1 ให้ข้อสรุป ไว้ว่า การลุกไหม้ของเทียนไขและการหายใจของหนูทาให้เกิดอากาศเสีย ดังนั้นจึงทาให้เทียนไขดับและทาให้หนูตาย
  • 4. 4 การทดลองที่ 2 ต่อ มาโจเซฟ พริสต์ลีย์ ได้ทาการทดลองจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วและนาพืชไว้ด้วย พบว่าเทียนไขยังคงจุดติดไฟได้ดี และเมื่อทาการทดลองอีกครั้งโดยใส่หนูไว้ในครอบแก้วและนาพืชใส่ไว้ด้วย พบว่าหนูยังคงมีชีวิตอยู่ได้เป็นเวลานาน จากการทดลองดังกล่าวโจเซฟ พริสต์ลีย์ได้ให้ข้อสรุปไว้ว่า พืชสามารถเปลี่ยนอากาศเสียให้เป็นอากาศดีได้ - Jan Ingen-Housz พ.ศ. 2322 แจน อิเก็นฮูซ นายแพทย์ชาวดัทช์ ได้ทาการทดลองคล้ายกับ พริสต์ลีย์ และพิสูจน์ให้เห็นว่า การทดลองของ พริสต์ลีย์ จะได้ผลก็ต่อเมื่อมีแสง สรุปผลการทดลอง การที่พืชจะเปลี่ยนอากาศเสีย เป็นอากาศดีได้นั้น พืชต้องใช้แสงด้วย ต่อมาในปีพ.ศ. 2339แจน อินเก็น ฮูซ เสนอว่า พืชเก็บธาตุคาร์บอน ซึ่งได้มาจากแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ไว้ในรูปของสารอินทรีย์ นักวิทยาศาสตร์ชาวดัทช์ ได้ทาการทดลองคล้ายกับโจเซฟ พริสต์ลีย์ โดยใส่พืชไว้ในครอบแก้ว แต่แยกเป็นส่วนต่างๆ ของพืช เช่น ลาต้น ใบ เป็นต้น แล้วทิ้งไว้ในที่มืดชั่วระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้นจึงจุดเทียนไขไว้ในครอบแก้วแต่ละอัน พบว่าเทียนไขในครอบแก้วทุกอันไม่ติดไฟ และเมื่อทาการทดลองอีก ครั้งโดยนาครอบแก้วทุกอันไปไว้ในบริเวณที่มีแสงสว่าง ระยะเวลาหนึ่ง หลังจากนั้นจึงจุดเทียนไขในครอบแก้วแต่ละอัน พบว่าในครอบแก้วที่มีส่วนของพืชซึ่งมีสีเขียวสามารถจุดเทียนไขให้ติดไฟได้ จากการทดลอง - Jean Senebier พ.ศ. 2325(ค.ศ.1782) ฌอง ซีนีบิเยร์ (Jean Senebier) ค้นพบว่าแก๊สที่เกิดจากการลุกไหม้ และแก๊สที่เกิดจากการหายใจของสัตว์เป็น แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ส่วนแก๊สที่ช่วยในการลุกไหม้และแก๊สที่ใช้ในการหายใจของสัตว์คือ แก๊สออกซิเจน - Nicolas Theodore deSoussure พ.ศ. 2347 นิ โคลาส ธีโอดอร์ เดอโซซูร์ นักวิทยาศาสตร์ชาวสวิส ๆ ได้พิจารณาการค้นพบของ แวน เฮลมองท์ ที่แสดงให้เห็นว่า น้าหนักของพืชเพิ่มขึ้นมากกว่าน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ เขาสันนิษฐานว่า น้าหนักที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ที่พืชได้รับ และ
  • 5. 5 ได้ทาการรวบรวมและศึกษาผลงานของนักวิทยาศาสตร์ในอดีตหลายๆ ท่าน โดยอาศัยความรู้พื้นฐานทางด้านเคมี สมัยใหม่ทาให้ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชดังต่อไปนี้ - พืช จะคายแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์และแก๊สออกซิเจนในเวลากลางวัน และจะคายเฉพาะแก๊คาร์บอนไดออกไซด์ในเวลากลางคืน แสดงว่าพืชหายใจตลอดเวลา แต่พืชมีการสังเคราะห์แสงเฉพาะเวลากลางวันหรือเมื่อได้รับแสง - แร่ธาตุในดินมีความจาเป็นต่อการเจริญเติบโตของพืช - น้าไม่ใช่เพียงละลายแร่ธาตุในดินให้แก่พืชเท่านั้น แต่น้ายังมีบทบาทสาคัญโดยตรงในกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืช -เขาจึงสรุปว่าน้าหนักที่เพิ่มขึ้นบางส่วนเป็นน้าหนักของน้าที่พืชได้รับ - Julius Sachs ค.ศ. 1862 จูเลียสซาซ (JuliusSachs) พบว่า สารอินทรีย์ที่พืชสร้าง คือ น้าตาล ซึ่งเป็นสารคาร์โบไฮเดรต WHIHELM ENGELMAN ชาวเยอรมัน ในปี พ.ศ. 2438 หรือ ค.ศ. 1895 การทดลองของเองเกลมัน ใช้Aerobic bacteria และใช้ส่าหร่าย spirogyra ที่ มีรงควัตถุเหมือนพืช เพื่อยืนยันว่าความยาวคลื่อ ณแสงสีแดง และแสงสีม่วง ทาให้เกิดการสังเคราะห์มากที่สุด คือมีการปล่อย ออกซิเจนออกมามากสุดนั่นเอง จากการทดลองพบว่า แบคทีเรียที่ต้องการออกซิเจนมารวมกลุ่มกันที่บริเวณสาหร่ายได้รับแสง สีแดงและสีน้าเงิน เพราะทั้งสองบริเวณนี้สาหร่ายจะให้แก๊สออกซิเจน - Van Niel ในปี ค.ศ. 1930 แวน นีล(Van Niel) แห่งมหาวิทยาลัยสแตนฟอร์ด พบว่า แบคทีเรียบางชนิด (Green sulfur bacteriaและ Purple sulfur bacteria) สามารถสังเคราะห์แสงได้โดยไม่ใช้H2O แต่ใช้H2S (ไฮโดรเจนซัลไฟด์) แทน จึงเกิดซัลเฟอร์ (S) ออกมา แทนที่จะเกิด O2 - การสังเคราะห์ด้วยแสงของแบคทีเรีย ก็เป็นหลักฐานอีกอย่างหนึ่งที่สนับสนุนว่า O2
  • 6. 6 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงของพืชมาจาก H2O (เนื่องจากแบคทีเรีย ไม่ใช้ H2O ในการ สังเคราะห์ด้วยแสง จึงไม่เกิด O2 แต่เกิดซัลเฟอร์ (S)ออกมา) - แวน นีล( Van Niel) ได้เสนอสมมติฐานว่า…ในกระบวนการสร้างอาหารของพืชนั้น น่าจะคล้ายกับการสร้างอาหารของแบคทีเรีย ซึ่งแสง (light) มีบทบาทสาคัญคือ ทาให้โมเลกุล ของน้าแตกตัวเป็น H+ กับ OH- จากนั้น H+ จะเข้าทาปฏิกิริยากับ CO2 เกิดเป็นคาร์โบไฮเดรต ( C H2O ) ขึ้น - Robin Hill ในปี ค.ศ. 1973 โรบิน ฮิลล์ (Robin Hill) ได้ทาการทดลองผ่านแสงเข้าไปในของผสมซึ่ง มีคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากใบพืชพวกผักโขม และมีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยปรากฏว่า เกลือเฟอริกเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัส และมี O2 เกิดขึ้นแต่ถ้าผ่านแสงเข้าไปในคลอโรพลาสต์ที่ไม่มีเกลือเฟอริกอยู่ด้วยจะไม่มีออกซิเจนเกิดขึ้น ดังนั้นการที่เกลือเฟอริกจะเปลี่ยนเป็นเกลือเฟอรัสได้ก็ต่อเมื่อได้รับไฮโดรเจน จากปฏิกิริยาที่เกิดขึ้นในการทดลองนี้แสดงว่าเกลือเฟอริกต้องได้รับไฮโดรเจน ขณะเดียวกันมี O2 ในปฏิกิริยาด้วย เกลือเฟอริกจึงทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน ซึ่งการค้นคว้าต่อมาพบว่ามีสารที่ทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจนอีกหลายชนิด เช่น เฟอริกไซยาไนด์และเมธีลีนบลู เป็นต้น ซึ่งสามารถสรุปผลการทดลองนี้ได้ว่าไฮโดรเจนที่เกลือเฟอริกได้รับและ O2 ที่เกิดขึ้นมาจาก H2O - สารประกอบที่ทาหน้าที่เป็นตัวรับไฮโดรเจน (H- accepter) ในพืชคือ… NADP+ (nicotinamide adenine dinucleotide phosphate) - Sam Ruben & Martin Kamen วิธีการทดลองเพื่อพิสูจน์ให้เห็นว่า O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากน้า ค.ศ.1941 แซม รูเบน และ มาร์ติน คาเมน (Sam Ruben และ Martin Kamen)
  • 7. 7 ได้นาสาหร่ายสีเขียวในปริมาณที่เท่าๆกัน ใส่ลงไปในขวดแก้ว 2 ใบคือ ก. และ ข. แล้วใส่น้าและคาร์บอนไดออกไซด์ลงไปในขวด ทั้ง 2ดังนี้ ขวด ก. ใส่H2O ซึ่งประกอบด้วยออกซิเจนซึ่งเป็นสารกัมมันตภาพรังสี คือ 18 O แต่CO2 ซึ่งมี O2 ธรรมดา ขวด ข. ใส่C O2 ที่ประกอบด้วย 18 O แต่ใส่ H2O ที่มี O2 ธรรมดา ตั้งขวดทั้ง 2ใบให้ได้รับแสง สาหร่ายจะสังเคราะห์ ด้วยแสง เกิด O2 ขึ้น นาO2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วย แสงแล้วมาทดสอบพบว่า ขวด ก. O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น 18 O ขวด ข. O2 ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงเป็น O2ธรรมดา สรุปผลการทดลองได้ว่า… O2ที่ได้จากการสังเคราะห์ด้วยแสงมาจากโมเลกุลของน้า - Daniel Arnon ในปี พ.ศ. 2494 (ค.ศ. 1951) แดเนียล อาร์นอน (Daniel Arnon) และคณะแห่งมหาวิทยาลัย แคลิฟอร์เนียที่เบิร์กเลย์ ได้ศึกษารายละเอียดเกี่ยวกับการทดลองของฮิลล์ อาร์นอนคิดว่าถ้าให้สาร บางอย่าง เช่น ADP หมู่ฟอสเฟต (Pi) NADP+ และ CO2 ลงไปในคลอโรพลาสต์ที่สกัดมาได้แล้ว ให้แสงจะมีปฏิกิริยาการสังเคราะห์ด้วยแสงจนได้น้าตาลเกิดขึ้น ต่อมาอาร์นอนได้ทาการทดลองเพื่อติดตามขั้นตอนของการเกิดปฏิกิริยา โดยควบคุมปัจจัยบาง อย่าง แล้วสังเกตผลการทดลองที่เกิดขึ้น อาร์นอนพบว่าถ้าให้สารต่างๆ ดังที่กล่าวมาแล้วยกเว้น คาร์บอนไดออกไซด์ ปรากฏว่าเกิดปฏิกิริยาเคมีขึ้นได้สารบางอย่างแต่ไม่มีการสร้างคาร์โบไฮเดรต อาร์นอนได้ทาการทดลองต่อไปอีก โดยให้ปัจจัยต่างๆ ดังที่ได้กล่าวมาแล้วแก่คลอโรพลาสต์ ยกเว้น C O2และ NADP+ พบว่าเกิด ATP อย่างเดียวเท่านั้น ดังสมการ
  • 8. 8 จากการทดลองนี้แสดงว่าคลอโรพลาสต์ที่ได้รับแสงจะสามารถสร้าง ATP ได้เพียงอย่างเดียว หรือสร้างทั้ง ATP NADPH+H+ และ O2 ก็ได้ ขึ้นอยู่กับว่าคลอโรพลาสต์นั้นจะได้รับ ADP และ Pi เท่านั้น หรือทั้ง NADP+ ADP และ Pi อาจสรุปได้ว่า พืชจะให้ NADPH+H+ และ O2 เมื่อได้รับ NADP+ ต่อมาอาร์นอนได้ทาการทดลองใหม่ โดยเติมแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ ATP และ NADPH+H+ ลงไปในสารละลายของคลอโรพลาสต์ที่สกัดออกมาจากเซลล์แต่ ไม่ให้แสงสว่าง ผลปรากฏว่า มีน้าตาลเกิดขึ้น แสดงว่าปัจจัยในการสังเคราะห์ คือ ATP และ NADPH+H+ ไม่ใช่แสง วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. วิเคราะห์และเลือกหัวข้อ 2. รวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับการโครงงาน 3. นาข้อมูลมาทาความเข้าใจและสรุปออกมา 4. ออกแบบสื่อที่คิดจะทาออกมา 5. เรียบเรียงข้อมูลที่สรุปแล้วลงไป 6. นาเสนอผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ - หนังสือเรียนวิชาชีวะวิทยา - คอมพิวเตอร์ - โปรแกรม Microsoft Ofiice Powerpoint งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
  • 9. 9 ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. สื่อการเรียนรู้เป็นไปตามที่หวังไว้ 2. ผู้อ่านจะมีความเข้าใจในเรื่อง การสังเคราะห์แสงของพืชมากขึ้น สถานที่ดาเนินการ บ้าน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. ชีววิทยา 2. คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆที่นามาใช้การทาโครงงาน) - PAT2 ชีววิทยา พี่วิเวียน ออนดีมานด์ เล่ม6 - Essential Biology