SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน
การทดลองทางจิตวิทยาล้วงลึกความลับในใจของมนุษย์
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 23
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน
ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 23
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
การทดลองทางจิตวิทยาล้วงลึกความลับในใจของมนุษย์
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Psychological experiments on the secret in the human mind.
ประเภทโครงงาน การทดลองศึกษาค้นคว้า
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
จิตใจของมนุษย์นั้นยากแท้จะหยังถึงนั้นทาให้พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสิ่งที่คาดเดาได้ยาก ในอดีตนั้นอาการ
บางอย่างที่เกิดจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนของมนุษย์จึงถูกจัดเป็นเรื่องเหนือธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันเป็นยุคแห่งความรู้
และวิทยาศาสตร์ซึ่งสามารถอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ได้จากการเริ่มทาการทดลองทางจิตวิทยา ทาให้ทราบว่า
พฤติกรรมบางอย่างที่ถูกแสดงออกมาสามารถบ่งบอกถึงนิสัย สภาพสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงความคิดของคนคนนั้นได้จึง
จะเป็นการดีหากเราได้รู้ว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเกิดจากอะไร และเกิดขึ้นในคนแบบไหนเพื่อจะสามารถนาความรู้ไป
ปรับใช้กับชีวิตของตัวเองและคนรอบข้างได้
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ต้องการให้ผู้คนทราบถึงพฤติกรรมและลักษณะของตัวเอง
2.ต้องการให้ทราบถึงวิธีแก้ไขเมื่อพบปัญหาจากพฤติกรรมดังกล่าว
3.ต้องการให้ผู้อ่านนาข้อมูลไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
เพื่อนๆในกลุ่ม 3คน และบุคลในครอบครัวจานวน 8 คน
3
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
จิตวิทยา (อังกฤษ: psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต ,
กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การ
รับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์ , อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นใน
ชีวิตประจาวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น และยังรวมถึงการใช้ความรู้
ทางจิตวิทยาสาหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทาความเข้าใจถึงหน้าที่หรือ
จุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทาการศึกษา
ขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม
ประเภทหลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา
1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ได้มาจาก 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มพฤติกรรมและกลุ่มความรู้
1.1กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism)
ทฤษฏีการเสริมแรง ของพาฟลอบ การปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียวสิ่งเร้านั้นก็อาจจะ
ทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้น ได้ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง
นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มี
หลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง(Connectionism
Theory) ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response Theory)ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
4
เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ (Pavlov) กล่าวไว้ว่า ปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่
ได้มาจากสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว
สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นได้ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม ทฤษฎี
ความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ ธอร์นไดค์ (Thorndike) ซึ่งกล่าวไว้ว่า สิ่งเร้า
หนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่
สาคัญคือ
1. กฎแห่งการผล (Law of Effect)
2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise)
3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness)
แนวคิดของธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ
ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ
ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ คือ
.....1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน
.....2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถสร้าง
ความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้
หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนของเขา ไว้ 5 ประการ คือ
.....1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity)
.....2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation)
.....3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset)
.....4. คานึงถึงเรื่องเอกัตตะบุคคล (Individualization)
.....5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization)
ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง(S-RTheory หรือ Operant Conditioning) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกิน
เนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกิริยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิด
การตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้แนวคิดของสกินเนอร์นั้น นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอนแบบ
โปรแกรม (Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก
คาร์เพนเตอร์ และเดล(C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทาง
การศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ คือ หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจ
5
ที่สาคัญในกิจกรรมการเรียนการ สอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดัน ส่งเสริมและเพิ่มพูนกระบวนการจูงใจที่มี
อิทธิพลต่อพลังความสนใจความต้องการ ความปรารถนา และความคาดหวังของผู้เรี ยนที่จะศึกษา การพัฒนา
มโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล วัสดุการเรียนการสอนจะช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่ผู้เรียนแต่ละคน
ดังนั้นการเลือก การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้องสัมพันธ์กบความสามารถของผู้สอน และ
ผู้เรียน กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อจะเป็นแบบ
ลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจาก
สื่อ เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็ นระบบการมีส่วนรวมและ การปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วย
ตนเองมากที่สุ ดการฝึกซ้าและ การเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือ
ช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ต่างๆ จะ ต้องมีความสอดคล้องกับความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์
ของผู้เรียน ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล การถ่ายโยงที่ดีโดยที่การ
เรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้อย่าง อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียน
ต้องการแนะนาในการปฏิบัติ และเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้นั้นที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในสถานการณ์จริง
การให้รู้ผล การเรียนรู้จะดีขึ้น ส่วนบูเกสสกี (Bugelski) ได้สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็ นผลจากการกระทาของ
ผู้เรียน ไม่ใช้กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่ได้สะดวกซึ่ งหมายถึงว่า
เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็นตัวการประสานความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษายังต้องอาศัยวิธีการที่ สาคัญ คือ วิธีการเชิง
มนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนาในด้านความเจริญเติบโตของ
ผู้เรียนแต่ละคน วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธี
ระบบทั้งเพราะการเรียนการสอนเป็ นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการ
เข้าใจเนื้อหาวิชาจิตวิทยาการเรียนรู้
1.2กลุ่มความรู้ (Cognitive)
ทฤษฏีภาคสนาม เช่นของไดเลอร์ (congnitive Field Theory )เน้นความสาคัญของส่วนรวม ดังนั้นแนวคิดของการ
สอนซึ่งมุ่งให้ผู้เรียนมองเห็นส่วนรวมก่อนโดยเน้นเรียนจากประสบการณ์
ความหมายกลุ่มปัญญานิยม
ปัญญา นิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกวากลุ่มพุทธินิยมเป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทาง
ปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้ได้ขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรม ออกไปสู่กระบวนการ
ทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่
เกิด
จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็น
กระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล และการ
ดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ใน
การที่จะสร้างความรู้ความ เข้าใจให้แก่ตนเอง
6
ทฤษฎีปัญญานิยมนี้เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้(Chomsky) ที่ไม่เห็น ด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดา ของ
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์มนุษย์ไว้วา เป็นเสมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้
เชื่อวา พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น
มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกนออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการ
สอนก็ควรที่จะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วย
2 ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล
ได้รับการพัฒนามาจากแนวความคิดเรื่องสิ่งเร้าและการตอบสนอง (Stimulus-Response) หรือทฤษฎี เอส-อาร์
(S-R theory) ของกาเย่ และนามาประยุกต์ใช้อธิบายว่า บุคคลมีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น บุคลิกภาพ
ทัศนคติ สติปัญญา และความสนใจ เป็นต้น
ความแตกต่างนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทาให้มีพฤติกรรมการสื่อสารและการเลือกเปิดรับสาร
ที่แตกต่างกัน ได้แก่
1) มนุษย์เรามีความแตกต่างกันมากในองค์ประกอบทางจิตวิทยาส่วนบุคคล
2) ความแตกต่างนี้บางส่วนมาจากลักษณะแตกต่างทางชีวภาค หรือทางร่างกายของแต่ละบุคคล แต่ส่วน
ใหญ่แล้วจะมาจากความแตกต่างที่เกิดจากการเรียนรู้
3) มนุษย์ซึ่งถูกชุบเลี้ยงภายใต้สภาพการณ์ต่างๆ จะเปิดรับความคิดเห็นแตกต่างกันไป
4) การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทาให้เกิดทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อที่รวมเป็นลักษณะทางจิตวิทยาส่วน
บุคคลที่แตกต่างกันไป
3 ทฤษฎีการพัฒนาการ ประกอบด้วย ทฤษฎีของเปียเจท์ บรูนเนอร์ อิริคสัน ดีเซล
ทฤษฎีพัฒนาการของดีเซล (Gesell’s Theory of Development) ได้อธิบายว่า พฤติกรรมของบุคคลจะ
ขึ้นอยู่กับพัฒนาการ ซึ่งจะเป็นไปตามธรรมชาติ และเมื่อถึงวัยก็จะสามารถ กระทาพฤติกรรมต่างๆ ได้เอง ไม่
จาเป็นต้องฝึก หรือเร่งเมื่อยังไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องคานึงความพร้อม ความสามารถ
ความสนใจ และความตองการของผู้เรียน
ทฤษฎีพัฒนาการของเปียเจท์ (Piaget’s Theory of Development) ได้อธิบายว่าการ พัฒนาการสตปัญญาและ
ความคิดของผู้เรียนนั้นเกิดจากการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม และผู้สอนควรจะต้องจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน
การสอนให้สอดคล้องกับความพร้อมของผู้เรียนด้วย
ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์ (Bruner’s Theory of Development) ได้อธิบายการ ความพร้อมของเด็กสามารถ
จะปรับได้ซึ่งสามารถจะเสนอเนื้อหาหาใดๆ แก่เด็กในอายุเท่าใดก็ได้แต่จะต้องรู้จักการตัดเนื้อหาและวิธีการสอนที่
เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเหล่านั้น ดังนั้นผู้สอนจึงจาเป็นจะต้องเข้าใจเด็ก และรู้จักกระตุ้นโดยการจัด
สภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการของเด็กด้วย
ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน (Erikson’s Theory of Development ) ได้อธิบายว่า การพัฒนาการทางบุคลิกภาพ
ย่อมขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์กับสภาพสังคมที่มีอิทธิพลมาเป็นลาดับขั้นของการพัฒนา และจะ
7
สืบเนื่องต่อๆ ไปเด็กที่มีสภาพสังคมมาดี ก็จะมีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี ดังนั้นผู้สอนควรจะต้องสร้าง
สัมพันธภาพกับผู้เรียน ให้ความสนใจเพื่อชวยแก้ปัญหาค่านิยมบางประการ
หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาที่สาคัญ
จิตวิทยาที่เกี่ยวขี้องกับการศึกษาและการเรียนการสอนโดยตรงได้แก่
1. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental psychology) จะกล่าวถึงพัฒนาของบุคคลแต่ละวัยในด้าน
ต่างๆ หรือความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งช่วยในการจัดการเรียน การอบรมสั่งสอนมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของ
ผู้เรียนยิ่งขึ้น
2. จิตวิทยาที่ว่าด้วยความแตกต่างระหว่างบุคคล (Psychology of individual Differences) จะกล่าวถึงความ
แตกต่างของบุคคลในด้านต่างๆ และธรรมชาติของบุคคลที่จักต้องยอมรับลักษณะเช่นนี้เพื่อที่จะชวยจัดการศึกษา
ให้ดีที่สุดสาหรับผู้เรียนทุกๆ คน
3. จิตวิทยาการเรียนรู้ (Psychology of learning) จะกล่าวถึง สภาพการณ์เรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ของ
คนเรา ซึ่งจะอธิบายโดยทฤษฎีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (S-R Theory) ลักษณะหนึ่งและอธิบายโดยทฤษฎีความรู้
(Cognitive Theory) หรือ Cognitive-rield Theory) ซึ่งจะช่วยในด้านการสอนโดยตรง
4. จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Psychology of Personality) จะกล่าวถึงพฤติกรรมการเรียนรู้ และแรงจูงใจที่
ปฎิสัมพันธ์กัน ซึ่งจะชวยให้ผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนดีขึ้น
5. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) จะกล่าวถึง คุณค่า จริยธรรม และการรวมกลุ่มขอบุคคล รวมทั้งอิทธิพล
ของกลุ่มและสภาพแวดล้อม ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการเรียนการสอน และการปรับ
สภาพการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสังคม
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1.เลือกหัวข้อ
2.นาเสนอหัวข้อกับคุณครู
3.ศึกษารวบรวมข้อมูล
4.จัดทารายงาน
5.นาเสนอครู
6.ปรับปรุงแก้ไข
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
-เนื่องจากเป็นการทดลองทางจิตวิทยาจึงไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์มากนัก
งบประมาณ
-ไม่มี
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน --
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน -- --
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน --
5 ปรับปรุงทดสอบ --
6 การทาเอกสารรายงาน -- --
7 ประเมินผลงาน -
8 นาเสนอโครงงาน --
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1.มีความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยามากขึ้น
2.สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน
3.เผยแพร่ความรู้ให้ผ็อื่นได้
สถานที่ดาเนินการ
1.ห้องคอมพิวเตอร์ รร.ยุพราชวิทยาลัย
2.ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.วิทยาศาสตร์
2.ดนตรี
3.สังคม
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. การทดลองทางจิตวิทยา ที่เปิดเผยความจริงของมนุษย์เราออกมา
(https://zpore.com/psycho-experiments/)
2. 13 การทดลองทางจิตวิทยาแบบแปลกๆ ที่ทาขึ้นเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์
(https://www.catdumb.com/psychology-experiment-339/)
3. ทฤษฏีทางจิตวิทยา
(http://sparachineeb.blogspot.com/)
9

More Related Content

What's hot

โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
Ananyaluk Chaiwut
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
Nattapon
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
jariya221
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
Uraiwan Chankan
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
Aon Narinchoti
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
jeerawan_l
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
Kamolthip Boonpo
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Jo Smartscience II
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
Nisachol Poljorhor
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
supanyasaengpet
 

What's hot (20)

สถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theoryสถานการณ์ Constructivist theory
สถานการณ์ Constructivist theory
 
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
สรุปเนื้อหาการบรรยาย หลักสูตรการเรียนการสอนสำหรับนักศึกษา Generation Z รุ่นที่ 1
 
09 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv209 10-14 cognitive constructivismv2
09 10-14 cognitive constructivismv2
 
Constructivism
Constructivism Constructivism
Constructivism
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและคอมพิวเตอร์ ของนักเรียนช...
 
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
บทความ เกี่ยวกับการสอนคณิตศาสตร์
 
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยมสถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
สถานการณ์ปัญหาพุทธิปัญญานิยม
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรมบันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
บันทึกการทดลองใช้นวัตกรรม
 
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
จิตวิทยาการสอนคณิตศาสตร์
 
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยมสรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
สรุปสถานการณ์ปัญหาตามทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม
 
Lesson 5 construct
Lesson 5 constructLesson 5 construct
Lesson 5 construct
 
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพวิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
วิจัยสำรวจทัศนคติของนักเรียนที่มีต่อวิชาการงานอาชีพ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอนทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพุทธิปัญญานิยมและการออกแบบการสอน
 
คู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรมคู่มือการใช้นวัตกรรม
คู่มือการใช้นวัตกรรม
 
Animaltherapy
AnimaltherapyAnimaltherapy
Animaltherapy
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 

Similar to Nuttida 23 2561 project 607

2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
fauunutcha
 

Similar to Nuttida 23 2561 project 607 (20)

งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
2561 project -2
2561 project -22561 project -2
2561 project -2
 
Psychosis
PsychosisPsychosis
Psychosis
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project 14
2561 project  142561 project  14
2561 project 14
 
Worf 34-608
Worf 34-608Worf 34-608
Worf 34-608
 
com604_32_pornpawee
com604_32_pornpaweecom604_32_pornpawee
com604_32_pornpawee
 
2562 final-project-8
2562 final-project-82562 final-project-8
2562 final-project-8
 
2561 project
2561 project 2561 project
2561 project
 
2561 project 14 607
2561 project  14 6072561 project  14 607
2561 project 14 607
 
2561 project (5)
2561 project  (5)2561 project  (5)
2561 project (5)
 
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้วนางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
นางสาว ดรัญพร โกฏิเเก้ว
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Phosis
PhosisPhosis
Phosis
 
2562 final-project 06
2562 final-project 062562 final-project 06
2562 final-project 06
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์งานคอมสมบูรณ์
งานคอมสมบูรณ์
 
2560 project .doc2
2560 project .doc22560 project .doc2
2560 project .doc2
 

Nuttida 23 2561 project 607

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน การทดลองทางจิตวิทยาล้วงลึกความลับในใจของมนุษย์ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 23 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์ ชั้น ม.6/7 เลขที่ 23 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) การทดลองทางจิตวิทยาล้วงลึกความลับในใจของมนุษย์ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Psychological experiments on the secret in the human mind. ประเภทโครงงาน การทดลองศึกษาค้นคว้า ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณัฐธิดา เนตรพงศ์ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) จิตใจของมนุษย์นั้นยากแท้จะหยังถึงนั้นทาให้พฤติกรรมของมนุษย์เป็นสิ่งที่คาดเดาได้ยาก ในอดีตนั้นอาการ บางอย่างที่เกิดจากพฤติกรรมที่ซับซ้อนของมนุษย์จึงถูกจัดเป็นเรื่องเหนือธรรมชาติ แต่ในปัจจุบันเป็นยุคแห่งความรู้ และวิทยาศาสตร์ซึ่งสามารถอธิบายพฤติกรรมของมนุษย์ได้จากการเริ่มทาการทดลองทางจิตวิทยา ทาให้ทราบว่า พฤติกรรมบางอย่างที่ถูกแสดงออกมาสามารถบ่งบอกถึงนิสัย สภาพสิ่งแวดล้อม รวมไปถึงความคิดของคนคนนั้นได้จึง จะเป็นการดีหากเราได้รู้ว่าพฤติกรรมเหล่านั้นเกิดจากอะไร และเกิดขึ้นในคนแบบไหนเพื่อจะสามารถนาความรู้ไป ปรับใช้กับชีวิตของตัวเองและคนรอบข้างได้ วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ต้องการให้ผู้คนทราบถึงพฤติกรรมและลักษณะของตัวเอง 2.ต้องการให้ทราบถึงวิธีแก้ไขเมื่อพบปัญหาจากพฤติกรรมดังกล่าว 3.ต้องการให้ผู้อ่านนาข้อมูลไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) เพื่อนๆในกลุ่ม 3คน และบุคลในครอบครัวจานวน 8 คน
  • 3. 3 หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) จิตวิทยา (อังกฤษ: psychology) คือ ศาสตร์ที่ว่าด้วยการศึกษาเกี่ยวกับจิตใจ (กระบวนการของจิต , กระบวนความคิด, และพฤติกรรม ของมนุษย์ด้วยกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ เนื้อหาที่นักจิตวิทยาศึกษาเช่น การ รับรู้ (กระบวนการรับข้อมูลของมนุษย์ , อารมณ์, บุคลิกภาพ, พฤติกรรม, และรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล จิตวิทยายังมีความหมายรวมไปถึงการประยุกต์ใช้ความรู้กับกิจกรรมในด้านต่าง ๆ ของมนุษย์ที่เกิดขึ้นใน ชีวิตประจาวัน (เช่นกิจกรรมที่เกิดขึ้นในครอบครัว, ระบบการศึกษา, การจ้างงานเป็นต้น และยังรวมถึงการใช้ความรู้ ทางจิตวิทยาสาหรับการรักษาปัญหาสุขภาพจิต นักจิตวิทยามีความพยายามที่จะศึกษาทาความเข้าใจถึงหน้าที่หรือ จุดประสงค์ต่าง ๆ ของพฤติกรรมที่เกิดขึ้นจากตัวบุคคลและพฤติกรรมที่เกิดขึ้นในสังคม ขณะเดียวกันก็ทาการศึกษา ขั้นตอนของระบบประสาทซึ่งมีผลต่อการควบคุมและแสดงออกของพฤติกรรม ประเภทหลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาการศึกษา 1 ทฤษฎีการเรียนรู้ ได้มาจาก 2 กลุ่มใหญ่ คือ กลุ่มพฤติกรรมและกลุ่มความรู้ 1.1กลุ่มพฤติกรรม (Behaviorism) ทฤษฏีการเสริมแรง ของพาฟลอบ การปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียวสิ่งเร้านั้นก็อาจจะ ทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้น ได้ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้อง นักจิตวิทยาการศึกษากลุ่มนี้เช่น chafe Watson Pavlov, Thorndike, Skinner ซึ่งทฤษฎีของนักจิตวิทยากลุ่มนี้มี หลายทฤษฎี เช่น ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory) ทฤษฎีความสัมพันธ์ต่อเนื่อง(Connectionism Theory) ทฤษฎีการเสริมแรง (Stimulus-Response Theory)ทฤษฎีการวางเงื่อนไข (Conditioning Theory)
  • 4. 4 เจ้าของทฤษฎีนี้คือ พอฟลอบ (Pavlov) กล่าวไว้ว่า ปฏิกิริยาตอบสนองอย่างใดอย่างหนึ่งของร่างกายของคนไม่ ได้มาจากสิ่งเร้าอย่างใดอย่างหนึ่งแต่เพียงอย่างเดียว สิ่งเร้านั้นก็อาจจะทาให้เกิดการตอบสนองเช่นนั้นได้ถ้าหากมีการวางเงื่อนไขที่ถูกต้องเหมาะสม ทฤษฎี ความสัมพันธ์ต่อเนื่อง (Connectionism Theory) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ ธอร์นไดค์ (Thorndike) ซึ่งกล่าวไว้ว่า สิ่งเร้า หนึ่ง ๆ ย่อมทาให้เกิดการตอบสนองหลาย ๆ อย่าง จนพบสิ่งที่ตอบสนองที่ดีที่สุด เขาได้ค้นพบกฎการเรียนรู้ที่ สาคัญคือ 1. กฎแห่งการผล (Law of Effect) 2. กฎแห่งการฝึกหัด (Law of Exercise) 3. กฎแห่งความพร้อม (Law of Readiness) แนวคิดของธอร์นไดค์ นักการศึกษาและจิตวิทยาชาวเยอรมัน ผู้ให้กาเนินทฤษฎีแห่งการเรียนรู้ ได้เสนอหลักการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ และเสนอหลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาไว้ 5 ประการ ภารกิจของการสอนของครูไว้ 2 ประการ คือ .....1. ควรจัดเรื่องหรือสิ่งที่จะสอนต่าง ๆ ที่ควรจะไปด้วยกัน ให้ได้ดาเนินไปด้วยกัน .....2. ควรให้รางวัลการสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสม และไม่ควรให้ความสะดวกใด ๆ ถ้าไม่สามารถสร้าง ความสัมพันธ์เชื่อมโยงที่เหมาะสมขึ้นมาได้ หลักการเบื้องต้นเกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษาและการสอนของเขา ไว้ 5 ประการ คือ .....1. การกระทากิจกรรมต่าง ๆ ด้วยตนเอง (Self – Activity) .....2. การทาให้เกิดความสนใจด้วยการจูงใจ (Interest Motivation) .....3. การเตรียมสภาพที่เหมาะสมทางจิตภาพ (Preparation and Mentalset) .....4. คานึงถึงเรื่องเอกัตตะบุคคล (Individualization) .....5. คานึงถึงเรื่องการถ่ายทอดทางสังคม (Socialization) ทฤษฎีการวางเงื่อนไข/ทฤษฎีการเสริมแรง(S-RTheory หรือ Operant Conditioning) เจ้าของทฤษฎีนี้คือ สกิน เนอร์ (Skinner) กล่าวว่า ปฏิกิริยาตอบสนองหนึ่งอาจไม่ใช่เนื่องมาจากสิ่งเร้าสิ่งเดียว สิ่งเร้านั้นๆ ก็คงจะทาให้เกิด การตอบสนองเช่นเดียวกันได้ ถ้าได้แนวคิดของสกินเนอร์นั้น นามาใช้ในการสอนแบบสาเร็จรูป หรือการสอนแบบ โปรแกรม (Program Inattention) สกินเนอร์เป็นผู้คิดบทเรียนโปรแกรมเป็นคนแรก คาร์เพนเตอร์ และเดล(C.R. Carpenter and Edgar Dale) ได้ประมวลหลักการและทฤษฏีเทคโนโลยีทาง การศึกษาในลักษณะของการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ คือ หลักการจูงใจ สื่อเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีพลังจูงใจ
  • 5. 5 ที่สาคัญในกิจกรรมการเรียนการ สอน เพราะเป็นสิ่งที่สามารถผลักดัน ส่งเสริมและเพิ่มพูนกระบวนการจูงใจที่มี อิทธิพลต่อพลังความสนใจความต้องการ ความปรารถนา และความคาดหวังของผู้เรี ยนที่จะศึกษา การพัฒนา มโนทัศน์ (Concept) ส่วนบุคคล วัสดุการเรียนการสอนจะช่วยส่งเสริมความ คิด ความเข้าใจแก่ผู้เรียนแต่ละคน ดังนั้นการเลือก การผลิตและการใช้วัสดุการเรียนการสอน ควรจะต้องสัมพันธ์กบความสามารถของผู้สอน และ ผู้เรียน กระบวนการเลือกและการสอนด้วยสื่อเทคโนโลยี ความสัมพันธ์ระหว่างการปฏิบัติเกี่ยวกับสื่อจะเป็นแบบ ลูกโซ่ในกระบวนการเรียนการสอน การจัดระเบียบประสบการณ์เทคโนโลยีทางการศึกษา ผู้เรียนจะเรียนได้ดีจาก สื่อ เทคโนโลยีที่จัดระเบียบเป็ นระบบการมีส่วนรวมและ การปฏิบัติ ผู้เรียนต้องการมีส่วนร่วม และการปฏิบัติด้วย ตนเองมากที่สุ ดการฝึกซ้าและ การเปลี่ยนแปลงสิ่งเร้าบ่อยๆ อัตราการเสนอสื่อในการเรียนการสอน อัตราหรือ ช่วงเวลาการเสนอข้อความรู้ต่างๆ จะ ต้องมีความสอดคล้องกับความสามารถอัตราการเรียนรู้และประสบการณ์ ของผู้เรียน ความชัดเจน ความสอดคล้อง และความเป็นผล การถ่ายโยงที่ดีโดยที่การ เรียนรู้แบบเก่าไม่อาจถ่ายทอดไปสู่การเรียนรู้ใหม่ได้อย่าง อัตโนมัติ จึงควรจะต้องสอนแบบถ่ายโยงเพราะผู้เรียน ต้องการแนะนาในการปฏิบัติ และเจตคติที่ดีต่อการเรียนรู้นั้นที่เป็นประโยชน์ต่อการนาไปใช้ในสถานการณ์จริง การให้รู้ผล การเรียนรู้จะดีขึ้น ส่วนบูเกสสกี (Bugelski) ได้สนับสนุนว่า การเรียนรู้จะเป็ นผลจากการกระทาของ ผู้เรียน ไม่ใช้กระบวนการถ่ายทอดของผู้สอน เพื่อผู้เรียนจะได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่ได้สะดวกซึ่ งหมายถึงว่า เทคโนโลยีทางการศึกษาจะเป็นตัวการประสานความรู้โดยตรงแก่ผู้เรียน หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวกบนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษายังต้องอาศัยวิธีการที่ สาคัญ คือ วิธีการเชิง มนุษยวิทยา (Humunistic Approach) ได้แก่ การที่ครูให้ความสนใจต่อการพัฒนาในด้านความเจริญเติบโตของ ผู้เรียนแต่ละคน วิธีการสอนเชิงระบบ (Systematic Approach) ได้แก่ การจัดการเรียนการสอน โดยอาศัยวิธี ระบบทั้งเพราะการเรียนการสอนเป็ นการถ่ายทอดศิลปะ วัฒนธรรม ความรับผิดชอบต่อสังคมในลักษณะของการ เข้าใจเนื้อหาวิชาจิตวิทยาการเรียนรู้ 1.2กลุ่มความรู้ (Cognitive) ทฤษฏีภาคสนาม เช่นของไดเลอร์ (congnitive Field Theory )เน้นความสาคัญของส่วนรวม ดังนั้นแนวคิดของการ สอนซึ่งมุ่งให้ผู้เรียนมองเห็นส่วนรวมก่อนโดยเน้นเรียนจากประสบการณ์ ความหมายกลุ่มปัญญานิยม ปัญญา นิยมหรือกลุ่มความรู้ความเข้าใจ หรือบางครั้งอาจเรียกวากลุ่มพุทธินิยมเป็นกลุ่มที่เน้นกระบวนการทาง ปัญญาหรือความคิด นักคิดกลุ่มนี้ได้ขยายขอบเขตของความคิดที่เน้นทางด้านพฤติกรรม ออกไปสู่กระบวนการ ทางความคิด ซึ่งเป็นกระบวนการภายในสมอง นักคิดกลุ่มนี้เชื่อว่าการเรียนรู้ของมนุษย์ไม่ใช่เรื่องของพฤติกรรมที่ เกิด จากกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งเร้าเพียงเท่านั้น การเรียนรู้ของมนุษย์มีความซับซ้อนยิ่งไปกว่านั้น การเรียนรู้เป็น กระบวนการทางความคิดที่เกิดจากการสะสมข้อมูล การสร้างความหมาย และความสัมพันธ์ของข้อมูล และการ ดึงข้อมูลออกมาใช้ในการกระทาและการแก้ปัญหาต่างๆ การเรียนรู้เป็นกระบวนการทางสติปัญญาของมนุษย์ใน การที่จะสร้างความรู้ความ เข้าใจให้แก่ตนเอง
  • 6. 6 ทฤษฎีปัญญานิยมนี้เกิดขึ้นจากแนวคิดของชอมสกี้(Chomsky) ที่ไม่เห็น ด้วยกับสกินเนอร์ (Skinner) บิดา ของ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม ในการมองพฤติกรรมมนุษย์มนุษย์ไว้วา เป็นเสมือนการทดลองทางวิทยาศาสตร์ ชอมสกี้ เชื่อวา พฤติกรรมมนุษย์นั้นเป็นเรื่องของภายในจิตใจ มนุษย์ไม่ใช่ผ้าขาวที่เมื่อใส่สีอะไรลงไปก็จะกลายเป็นสีนั้น มนุษย์มีความนึกคิด มีอารมณ์จิตใจและความรู้สึกภายในที่แตกต่างกนออกไป ดังนั้นการออกแบบการเรียนการ สอนก็ควรที่จะคานึงถึงความแตกต่างภายในของมนุษย์ด้วย 2 ทฤษฎีความแตกต่างระหว่างบุคคล ได้รับการพัฒนามาจากแนวความคิดเรื่องสิ่งเร้าและการตอบสนอง (Stimulus-Response) หรือทฤษฎี เอส-อาร์ (S-R theory) ของกาเย่ และนามาประยุกต์ใช้อธิบายว่า บุคคลมีความแตกต่างกันหลายประการ เช่น บุคลิกภาพ ทัศนคติ สติปัญญา และความสนใจ เป็นต้น ความแตกต่างนี้ยังขึ้นอยู่กับสภาพทางสังคมและวัฒนธรรมทาให้มีพฤติกรรมการสื่อสารและการเลือกเปิดรับสาร ที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) มนุษย์เรามีความแตกต่างกันมากในองค์ประกอบทางจิตวิทยาส่วนบุคคล 2) ความแตกต่างนี้บางส่วนมาจากลักษณะแตกต่างทางชีวภาค หรือทางร่างกายของแต่ละบุคคล แต่ส่วน ใหญ่แล้วจะมาจากความแตกต่างที่เกิดจากการเรียนรู้ 3) มนุษย์ซึ่งถูกชุบเลี้ยงภายใต้สภาพการณ์ต่างๆ จะเปิดรับความคิดเห็นแตกต่างกันไป 4) การเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทาให้เกิดทัศนคติ ค่านิยม และความเชื่อที่รวมเป็นลักษณะทางจิตวิทยาส่วน บุคคลที่แตกต่างกันไป 3 ทฤษฎีการพัฒนาการ ประกอบด้วย ทฤษฎีของเปียเจท์ บรูนเนอร์ อิริคสัน ดีเซล ทฤษฎีพัฒนาการของดีเซล (Gesell’s Theory of Development) ได้อธิบายว่า พฤติกรรมของบุคคลจะ ขึ้นอยู่กับพัฒนาการ ซึ่งจะเป็นไปตามธรรมชาติ และเมื่อถึงวัยก็จะสามารถ กระทาพฤติกรรมต่างๆ ได้เอง ไม่ จาเป็นต้องฝึก หรือเร่งเมื่อยังไม่พร้อมในการจัดการเรียนการสอน ผู้สอนจะต้องคานึงความพร้อม ความสามารถ ความสนใจ และความตองการของผู้เรียน ทฤษฎีพัฒนาการของเปียเจท์ (Piaget’s Theory of Development) ได้อธิบายว่าการ พัฒนาการสตปัญญาและ ความคิดของผู้เรียนนั้นเกิดจากการปรับตัวกับสิ่งแวดล้อม และผู้สอนควรจะต้องจัดสภาพแวดล้อมทางการเรียน การสอนให้สอดคล้องกับความพร้อมของผู้เรียนด้วย ทฤษฎีพัฒนาการของบรูเนอร์ (Bruner’s Theory of Development) ได้อธิบายการ ความพร้อมของเด็กสามารถ จะปรับได้ซึ่งสามารถจะเสนอเนื้อหาหาใดๆ แก่เด็กในอายุเท่าใดก็ได้แต่จะต้องรู้จักการตัดเนื้อหาและวิธีการสอนที่ เหมาะสมกับพัฒนาการของเด็กเหล่านั้น ดังนั้นผู้สอนจึงจาเป็นจะต้องเข้าใจเด็ก และรู้จักกระตุ้นโดยการจัด สภาพการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับความต้องการของเด็กด้วย ทฤษฎีพัฒนาการของอีริคสัน (Erikson’s Theory of Development ) ได้อธิบายว่า การพัฒนาการทางบุคลิกภาพ ย่อมขึ้นอยู่กับการปฏิสัมพันธ์ระหว่างอินทรีย์กับสภาพสังคมที่มีอิทธิพลมาเป็นลาดับขั้นของการพัฒนา และจะ
  • 7. 7 สืบเนื่องต่อๆ ไปเด็กที่มีสภาพสังคมมาดี ก็จะมีผลต่อการพัฒนาบุคลิกภาพที่ดี ดังนั้นผู้สอนควรจะต้องสร้าง สัมพันธภาพกับผู้เรียน ให้ความสนใจเพื่อชวยแก้ปัญหาค่านิยมบางประการ หลักการและทฤษฎีทางจิตวิทยาที่สาคัญ จิตวิทยาที่เกี่ยวขี้องกับการศึกษาและการเรียนการสอนโดยตรงได้แก่ 1. จิตวิทยาพัฒนาการ (Developmental psychology) จะกล่าวถึงพัฒนาของบุคคลแต่ละวัยในด้าน ต่างๆ หรือความพร้อมของผู้เรียน ซึ่งช่วยในการจัดการเรียน การอบรมสั่งสอนมีความสอดคล้องกับธรรมชาติของ ผู้เรียนยิ่งขึ้น 2. จิตวิทยาที่ว่าด้วยความแตกต่างระหว่างบุคคล (Psychology of individual Differences) จะกล่าวถึงความ แตกต่างของบุคคลในด้านต่างๆ และธรรมชาติของบุคคลที่จักต้องยอมรับลักษณะเช่นนี้เพื่อที่จะชวยจัดการศึกษา ให้ดีที่สุดสาหรับผู้เรียนทุกๆ คน 3. จิตวิทยาการเรียนรู้ (Psychology of learning) จะกล่าวถึง สภาพการณ์เรียนรู้ และกระบวนการเรียนรู้ของ คนเรา ซึ่งจะอธิบายโดยทฤษฎีการตอบสนองต่อสิ่งเร้า (S-R Theory) ลักษณะหนึ่งและอธิบายโดยทฤษฎีความรู้ (Cognitive Theory) หรือ Cognitive-rield Theory) ซึ่งจะช่วยในด้านการสอนโดยตรง 4. จิตวิทยาบุคลิกภาพ (Psychology of Personality) จะกล่าวถึงพฤติกรรมการเรียนรู้ และแรงจูงใจที่ ปฎิสัมพันธ์กัน ซึ่งจะชวยให้ผู้สอนเข้าใจพฤติกรรมของผู้เรียนดีขึ้น 5. จิตวิทยาสังคม (Social Psychology) จะกล่าวถึง คุณค่า จริยธรรม และการรวมกลุ่มขอบุคคล รวมทั้งอิทธิพล ของกลุ่มและสภาพแวดล้อม ซึ่งจะช่วยให้ผู้สอนสามารถใช้กระบวนการกลุ่มในการเรียนการสอน และการปรับ สภาพการเรียนการสอนให้สอดคล้องกับสังคม วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1.เลือกหัวข้อ 2.นาเสนอหัวข้อกับคุณครู 3.ศึกษารวบรวมข้อมูล 4.จัดทารายงาน 5.นาเสนอครู 6.ปรับปรุงแก้ไข เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ -เนื่องจากเป็นการทดลองทางจิตวิทยาจึงไม่จาเป็นต้องใช้อุปกรณ์มากนัก งบประมาณ -ไม่มี
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน -- 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน -- -- 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน -- 5 ปรับปรุงทดสอบ -- 6 การทาเอกสารรายงาน -- -- 7 ประเมินผลงาน - 8 นาเสนอโครงงาน -- ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1.มีความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยามากขึ้น 2.สามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน 3.เผยแพร่ความรู้ให้ผ็อื่นได้ สถานที่ดาเนินการ 1.ห้องคอมพิวเตอร์ รร.ยุพราชวิทยาลัย 2.ห้องสมุดโรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.วิทยาศาสตร์ 2.ดนตรี 3.สังคม แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. การทดลองทางจิตวิทยา ที่เปิดเผยความจริงของมนุษย์เราออกมา (https://zpore.com/psycho-experiments/) 2. 13 การทดลองทางจิตวิทยาแบบแปลกๆ ที่ทาขึ้นเพื่อให้เข้าใจธรรมชาติของมนุษย์ (https://www.catdumb.com/psychology-experiment-339/) 3. ทฤษฏีทางจิตวิทยา (http://sparachineeb.blogspot.com/)
  • 9. 9