SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5
ปีการศึกษา 2562
ชื่อโครงงาน โรคกลัวทะเล
ชื่อผู้ทําโครงงาน
ชื่อ นางสาวอาพัชชาพรประมวล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 7
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
นางสาวอาพัชชาพร ประมวล เลขที่ 7
คําชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคกลัวทะเล
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Thalassophobia
ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application)
ชื่อผู้ทําโครงงาน นางสาวอาพัชชาพร ประมวล
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดําเนินงาน กันยายน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562
ที่มาและความสําคัญของโครงงาน
โรคกลัวทะเลจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง คือมีความรู้สึกกลัวนํ้าเค็ม กลัวคลื่นขนาดใหญ่ กลัว
ความลึกของนํ้าที่เหมือนจะห่างไกลพื้นดิน หรือกลัวระยะห่างจากชายฝั่ง กลัวสิ่งที่ไม่มีรากฐานให้ยึดเกาะ และ
ในบางกรณีอาจรู้สึกกลัวความเวิ้งว้างที่ดูไร้ซึ่งขอบเขตของท้องทะเลหรือแม่นํ้าที่กว้างใหญ่ หรือบางคนสามารถ
เห็นทะเลได้แต่ถ้าให้ลงไปเล่นก็ไม่กล้า เพราะมีความกลัวโลกใต้ผืนนํ้าที่ดูช่างลึกลับจับใจ โดยมีอาการตัวสั่น
เหงื่อแตก ใจเต้นเร็ว เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่นํ้าที่มีความลึกและกว้างใหญ่ ในบางคนอาจมีอาการเห็น
ภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง ผู้จัดทําจึงเล็งเห็นว่าควรเราทําความรู้จักกับโรคกลัว
ทะเล เพื่อศึกษาหาวิธีป้ องกันการรักษาโรคกลัวทะเลได้ดีมากยิ่งขึ้น
3
วัตถุประสงค์
1.เพื่อศึกษาวิธีป้ องกันการรักษาโรคกลัวทะเล
2.เพื่อส่งเสริมให้สุขภาพร่างกายดีขึ้น
ขอบเขตโครงงาน
- ผู้ที่มีอาการกลัวนํ้าลึกหรือทะเล ช่วงวัยรุ่นจนถึงผู้สูงอายุ
หลักการและทฤษฎี
ในการจัดทําโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทําได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซต์ดังนี้
โรคกลัวทะเล หรือ thalassophobia เป็นภาษากรีก thalasso หมายถึงทะเล ห้วงมหาสมุทรหรือแหล่งนํ้า
ขนาดใหญ่ ส่วน phobia ก็คือความกลัวต่อสิ่งต่างๆ อย่างผิดปกติ กลัวเกินเหตุ กลัวอย่างไม่มีเหตุผลดังนั้นคําว่า
thalassophobia จึงแปลว่าโรคกลัวทะเล
โรคกลัวทะเลจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง คือมีความรู้สึกกลัวนํ้าเค็ม กลัวคลื่นขนาดใหญ่ กลัว
ความลึกของนํ้าที่เหมือนจะห่างไกลพื้นดิน หรือกลัวระยะห่างจากชายฝั่ง กลัวสิ่งที่ไม่มีรากฐานให้ยึดเกาะ และ
ในบางเคสอาจรู้สึกกลัวความเวิ้งว้างที่ดูไร้ซึ่งขอบเขตของท้องทะเลหรือแม่นํ้าที่กว้างใหญ่ หรือบางคนสามารถ
เห็นทะเลได้แต่ถ้าให้ลงไปเล่นก็ไม่กล้า เพราะมีความกลัวโลกใต้ผืนนํ้าที่ดูช่างลึกลับจับใจ
สาเหตุ
• เกิดจากภาพอุบัติเหตุทางนํ้าที่เห็นได้บ่อย ๆ ในภาพยนตร์ ข่าว และสารคดี โดยเฉพาะประเด็นสัตว์ใต้
ท้องทะเลที่น่ากลัว มีพิษรุนแรง หรือเหตุเรือล่มที่น่าหดหู่ใจ
• เกิดจากคําสั่งสอนของผู้ปกครองว่า อย่าเข้าใกล้ทะเล เดี๋ยวโดนคลื่นซัดหายไป อย่าลงเล่นนํ้า เดี๋ยวจม
หาย
• เกิดจากความผิดปกติของยีน หรือความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจกระทบให้ฮอร์โมนในร่างกายไม่
สมดุล ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตหลั่งออกมาไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ซึ่งอาจทําให้ขาด
ตรรกะในบางเรื่อง หรือส่งผลให้อารมณ์ความรู้สึกผิดแผกไปจากปกติได้
4
อาการ
• ตัวสั่น เหงื่อแตก ใจเต้นเร็ว เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่นํ้าที่มีความลึกและกว้างใหญ่
• หากได้ดูรูปภาพ สารคดี หรือภาพยนตร์ที่มีฉากการตายในทะเล ฉากเรือล่ม มีผู้คนล้มตายจํานวนมาก
หรือเห็นภาพข่าวเหตุการณ์สึนามิจะรู้สึกกลัวแทบหยุดหายใจ ต้องรีบหันหน้าหนีจากภาพนั้น หรือใน
บางคนอาจมีอาการเห็นภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง
• ถ้าต้องล่องเรือ หรือลงไปสัมผัสนํ้าทะเลจะมีอาการใจสั่น ตัวชา ไม่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้และ
หากมีอาการกลัวมาก ๆ อาจถึงขั้นเป็นลมล้มพับ กรี๊ด วิ่งหนี หรืออาเจียนออกมา
การรักษา
• การสะกดจิตบําบัด (Hypnotherapy)
เป็นการรักษาความกลัวด้วยการที่นักจิตวิทยาจะขุดรากถอนโคนถึงสาเหตุของความกลัวนั้น ๆ
แล้วค่อย ๆ เคลียร์ต้นเหตุของความกลัวออกไปทีละอย่าง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดก็อาจช่วยลดความวิตกกังวล
ให้ผู้ป่วยได้หรืออาจบําบัดจนหายจากอาการกลัวทะเล
• การจัดพฤติกรรมของสมองและใต้จิตสํานึก (Neuro-linguistic programming therapy)
วงการจิตแพทย์เรียกกันว่าการรักษาแบบ NLP โดยจะค่อย ๆ ปรับความเข้าใจกับผู้ป่วยให้เขาหลุด
ออกจากโลกแห่งความกลัวที่สร้างขึ้นมาหลอนตัวเอง ซึ่งแม้วิธีนี้จะต้องใช้เวลาในการรักษา (ขึ้นอยู่กับ
ความร่วมมือของผู้ป่วย) แต่ก็เป็นวิธีรักษาโรคกลัวทะเลและโรคโฟเบียอื่น ๆ ที่ค่อนข้างได้ผลดีวิธีหนึ่ง
วิธีดําเนินงาน
แนวทางการดําเนินงาน
1.เลือกหัวข้อที่จะทํา
2.นําเสนอหัวข้อให้คุณครู
3.ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ โรคกลัวทะเล
4.จัดทํารายงาน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง
5.นําเสนอคุณครู
6.ปรับปรุงและแก้ไข
5
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1.คอมพิวเตอร์
2.อินเทอร์เน็ต
3.เอกสารที่เกี่ยวข้อง
งบประมาณ
ไม่มี
ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน
ลําดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน อาพัชชาพร
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อาพัชชาพร
3 จัดทําโครงร่างงาน อาพัชชาพร
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน อาพัชชาพร
5 ปรับปรุงทดสอบ อาพัชชาพร
6 การทําเอกสารรายงาน อาพัชชาพร
7 ประเมินผลงาน อาพัชชาพร
8 นําเสนอโครงงาน อาพัชชาพร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
คาดว่าผู้ที่อยู่ในวัยรุ่นจนถึงวัยทํางานได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับโรคกลัวทะเล และมีวิธีการจัดการรักษาที่
ถูกต้อง อีกทั้งยังส่งเสริมให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพทางจิตดีมากขึ้นอีกด้วย
สถานที่ดําเนินการ
ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1.เทคโนโยลี
2.วิทยาศาสตร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นํามาใช้การทําโครงงาน)
- ที่มา
แหล่งข้อมูล : https://health.kapook.com/view158692.html

More Related Content

What's hot

What's hot (20)

2562 final-project 34-610
2562 final-project 34-6102562 final-project 34-610
2562 final-project 34-610
 
Project1 604
Project1 604Project1 604
Project1 604
 
At1
At1At1
At1
 
4k kk
4k kk4k kk
4k kk
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Influenza
InfluenzaInfluenza
Influenza
 
แบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอมแบบร่างโครงงานคอม
แบบร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โปรแกรมทดสอบตาบอดสี
โปรแกรมทดสอบตาบอดสีโปรแกรมทดสอบตาบอดสี
โปรแกรมทดสอบตาบอดสี
 
Kittapad
KittapadKittapad
Kittapad
 
2562 final-project-18
2562 final-project-182562 final-project-18
2562 final-project-18
 
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสีนางสาวปภาพักต์ ทะสี
นางสาวปภาพักต์ ทะสี
 
11111
1111111111
11111
 
น้องหมา
น้องหมาน้องหมา
น้องหมา
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2559 project1
2559 project12559 project1
2559 project1
 
604 35 project
604 35 project604 35 project
604 35 project
 
สารคดี
สารคดีสารคดี
สารคดี
 
604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ 604 36 เคป่ะ
604 36 เคป่ะ
 

Similar to 607_07

2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710noey2846
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33fauunutcha
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project comNookNick8
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์KrataeBenjarat
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNutjira Kabmala
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610patittaoumm
 
2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01dewdrw
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33ssusere69edb
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser5110ef
 
2562 final-project 5-609
2562 final-project 5-6092562 final-project 5-609
2562 final-project 5-609ssuser6b27cf
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project Likhasiri
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37naiizu
 
Influenza
 Influenza Influenza
InfluenzaNutvipa
 

Similar to 607_07 (20)

2562 final-project 0710
2562 final-project 07102562 final-project 0710
2562 final-project 0710
 
2562 final-project 612-33
2562 final-project 612-332562 final-project 612-33
2562 final-project 612-33
 
work 1 project com
work 1 project comwork 1 project com
work 1 project com
 
2562 final-project 07
2562 final-project 072562 final-project 07
2562 final-project 07
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่5 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project โครงงานคอม2559 project
โครงงานคอม2559 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2561 project (6)
2561 project  (6)2561 project  (6)
2561 project (6)
 
2562 final-project -06-610
2562 final-project -06-6102562 final-project -06-610
2562 final-project -06-610
 
at1
at1at1
at1
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
2559 project01
2559 project012559 project01
2559 project01
 
2562 final-project-615-33
2562 final-project-615-332562 final-project-615-33
2562 final-project-615-33
 
Project1
Project1Project1
Project1
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 5-609
2562 final-project 5-6092562 final-project 5-609
2562 final-project 5-609
 
2562 final-project
2562 final-project  2562 final-project
2562 final-project
 
2562 final-project 605-37
2562 final-project 605-372562 final-project 605-37
2562 final-project 605-37
 
Influenza
 Influenza Influenza
Influenza
 

607_07

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5 ปีการศึกษา 2562 ชื่อโครงงาน โรคกลัวทะเล ชื่อผู้ทําโครงงาน ชื่อ นางสาวอาพัชชาพรประมวล เลขที่ 7 ชั้น ม.6 ห้อง 7 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดําเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 62 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทําข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… นางสาวอาพัชชาพร ประมวล เลขที่ 7 คําชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคกลัวทะเล ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Thalassophobia ประเภทโครงงาน โครงงานประเภทการประยุกต์ใช้งาน (Application) ชื่อผู้ทําโครงงาน นางสาวอาพัชชาพร ประมวล ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดําเนินงาน กันยายน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2562 ที่มาและความสําคัญของโครงงาน โรคกลัวทะเลจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง คือมีความรู้สึกกลัวนํ้าเค็ม กลัวคลื่นขนาดใหญ่ กลัว ความลึกของนํ้าที่เหมือนจะห่างไกลพื้นดิน หรือกลัวระยะห่างจากชายฝั่ง กลัวสิ่งที่ไม่มีรากฐานให้ยึดเกาะ และ ในบางกรณีอาจรู้สึกกลัวความเวิ้งว้างที่ดูไร้ซึ่งขอบเขตของท้องทะเลหรือแม่นํ้าที่กว้างใหญ่ หรือบางคนสามารถ เห็นทะเลได้แต่ถ้าให้ลงไปเล่นก็ไม่กล้า เพราะมีความกลัวโลกใต้ผืนนํ้าที่ดูช่างลึกลับจับใจ โดยมีอาการตัวสั่น เหงื่อแตก ใจเต้นเร็ว เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่นํ้าที่มีความลึกและกว้างใหญ่ ในบางคนอาจมีอาการเห็น ภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง ผู้จัดทําจึงเล็งเห็นว่าควรเราทําความรู้จักกับโรคกลัว ทะเล เพื่อศึกษาหาวิธีป้ องกันการรักษาโรคกลัวทะเลได้ดีมากยิ่งขึ้น
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ 1.เพื่อศึกษาวิธีป้ องกันการรักษาโรคกลัวทะเล 2.เพื่อส่งเสริมให้สุขภาพร่างกายดีขึ้น ขอบเขตโครงงาน - ผู้ที่มีอาการกลัวนํ้าลึกหรือทะเล ช่วงวัยรุ่นจนถึงผู้สูงอายุ หลักการและทฤษฎี ในการจัดทําโครงงานศึกษาในครั้งนี้ ทางผู้จัดทําได้ศึกษาเอกสารจากเว็บไซต์ดังนี้ โรคกลัวทะเล หรือ thalassophobia เป็นภาษากรีก thalasso หมายถึงทะเล ห้วงมหาสมุทรหรือแหล่งนํ้า ขนาดใหญ่ ส่วน phobia ก็คือความกลัวต่อสิ่งต่างๆ อย่างผิดปกติ กลัวเกินเหตุ กลัวอย่างไม่มีเหตุผลดังนั้นคําว่า thalassophobia จึงแปลว่าโรคกลัวทะเล โรคกลัวทะเลจัดเป็นโรคกลัวชนิดเฉพาะเจาะจง คือมีความรู้สึกกลัวนํ้าเค็ม กลัวคลื่นขนาดใหญ่ กลัว ความลึกของนํ้าที่เหมือนจะห่างไกลพื้นดิน หรือกลัวระยะห่างจากชายฝั่ง กลัวสิ่งที่ไม่มีรากฐานให้ยึดเกาะ และ ในบางเคสอาจรู้สึกกลัวความเวิ้งว้างที่ดูไร้ซึ่งขอบเขตของท้องทะเลหรือแม่นํ้าที่กว้างใหญ่ หรือบางคนสามารถ เห็นทะเลได้แต่ถ้าให้ลงไปเล่นก็ไม่กล้า เพราะมีความกลัวโลกใต้ผืนนํ้าที่ดูช่างลึกลับจับใจ สาเหตุ • เกิดจากภาพอุบัติเหตุทางนํ้าที่เห็นได้บ่อย ๆ ในภาพยนตร์ ข่าว และสารคดี โดยเฉพาะประเด็นสัตว์ใต้ ท้องทะเลที่น่ากลัว มีพิษรุนแรง หรือเหตุเรือล่มที่น่าหดหู่ใจ • เกิดจากคําสั่งสอนของผู้ปกครองว่า อย่าเข้าใกล้ทะเล เดี๋ยวโดนคลื่นซัดหายไป อย่าลงเล่นนํ้า เดี๋ยวจม หาย • เกิดจากความผิดปกติของยีน หรือความผิดปกติที่ต่อมไทรอยด์ ซึ่งอาจกระทบให้ฮอร์โมนในร่างกายไม่ สมดุล ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไตหลั่งออกมาไม่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกาย ซึ่งอาจทําให้ขาด ตรรกะในบางเรื่อง หรือส่งผลให้อารมณ์ความรู้สึกผิดแผกไปจากปกติได้
  • 4. 4 อาการ • ตัวสั่น เหงื่อแตก ใจเต้นเร็ว เมื่อมองเห็นคลื่นทะเล หรือแม่นํ้าที่มีความลึกและกว้างใหญ่ • หากได้ดูรูปภาพ สารคดี หรือภาพยนตร์ที่มีฉากการตายในทะเล ฉากเรือล่ม มีผู้คนล้มตายจํานวนมาก หรือเห็นภาพข่าวเหตุการณ์สึนามิจะรู้สึกกลัวแทบหยุดหายใจ ต้องรีบหันหน้าหนีจากภาพนั้น หรือใน บางคนอาจมีอาการเห็นภาพหลอนเหล่านั้นให้อยู่ไม่เป็นสุขไปอีกสักระยะหนึ่ง • ถ้าต้องล่องเรือ หรือลงไปสัมผัสนํ้าทะเลจะมีอาการใจสั่น ตัวชา ไม่สามารถเป็นตัวของตัวเองได้และ หากมีอาการกลัวมาก ๆ อาจถึงขั้นเป็นลมล้มพับ กรี๊ด วิ่งหนี หรืออาเจียนออกมา การรักษา • การสะกดจิตบําบัด (Hypnotherapy) เป็นการรักษาความกลัวด้วยการที่นักจิตวิทยาจะขุดรากถอนโคนถึงสาเหตุของความกลัวนั้น ๆ แล้วค่อย ๆ เคลียร์ต้นเหตุของความกลัวออกไปทีละอย่าง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดก็อาจช่วยลดความวิตกกังวล ให้ผู้ป่วยได้หรืออาจบําบัดจนหายจากอาการกลัวทะเล • การจัดพฤติกรรมของสมองและใต้จิตสํานึก (Neuro-linguistic programming therapy) วงการจิตแพทย์เรียกกันว่าการรักษาแบบ NLP โดยจะค่อย ๆ ปรับความเข้าใจกับผู้ป่วยให้เขาหลุด ออกจากโลกแห่งความกลัวที่สร้างขึ้นมาหลอนตัวเอง ซึ่งแม้วิธีนี้จะต้องใช้เวลาในการรักษา (ขึ้นอยู่กับ ความร่วมมือของผู้ป่วย) แต่ก็เป็นวิธีรักษาโรคกลัวทะเลและโรคโฟเบียอื่น ๆ ที่ค่อนข้างได้ผลดีวิธีหนึ่ง วิธีดําเนินงาน แนวทางการดําเนินงาน 1.เลือกหัวข้อที่จะทํา 2.นําเสนอหัวข้อให้คุณครู 3.ศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ โรคกลัวทะเล 4.จัดทํารายงาน และเอกสารที่เกี่ยวข้อง 5.นําเสนอคุณครู 6.ปรับปรุงและแก้ไข
  • 5. 5 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.คอมพิวเตอร์ 2.อินเทอร์เน็ต 3.เอกสารที่เกี่ยวข้อง งบประมาณ ไม่มี ขั้นตอนและแผนดําเนินงาน ลําดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน อาพัชชาพร 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล อาพัชชาพร 3 จัดทําโครงร่างงาน อาพัชชาพร 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน อาพัชชาพร 5 ปรับปรุงทดสอบ อาพัชชาพร 6 การทําเอกสารรายงาน อาพัชชาพร 7 ประเมินผลงาน อาพัชชาพร 8 นําเสนอโครงงาน อาพัชชาพร ผลที่คาดว่าจะได้รับ คาดว่าผู้ที่อยู่ในวัยรุ่นจนถึงวัยทํางานได้รับรู้เรื่องราวเกี่ยวกับโรคกลัวทะเล และมีวิธีการจัดการรักษาที่ ถูกต้อง อีกทั้งยังส่งเสริมให้สุขภาพร่างกายและสุขภาพทางจิตดีมากขึ้นอีกด้วย สถานที่ดําเนินการ ห้องคอมพิวเตอร์ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย