SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2558
ชื่อโครงงาน : แสงวิบวับบนฟ้าคือแสงอะไรกันนะ
ชื่อผู้ทำาโครงงาน
นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 6
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูล
วรรณ์
ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ
ศึกษา 2558
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
2
สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิก
นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 6
คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ
ไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
แสงอะไรวิบวับบนฟ้ากันนะ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
What is that!!! The twinkling light in the sky
ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อนการศึกษา
ชื่อผู้ทำาโครงงาน : นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์
ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม
ระยะเวลาดำาเนินงาน : 1 เดือน
ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของ
การทำาโครงงาน)
โลกของเรายังมีสิ่งที่หน้าค้นหาอีกมากมายรอให้เราเข้าไปค้นหา
อยู่เพียงแค่เรากล้าที่จะก้าวออกมาและเข้าไปค้นหาสิ่งน่าอัศจรรย์ใจที่ซ่อน
อยู่ภายในโลกแห่งนี้และเราจะพบกับโลกใบใหม่ที่กว้างใหญ่
โลกใบใหม่ต่อไปนี้เป็นโลกที่มีความอัศจรรย์ของมันซ่อนอยู่มัน
ไม่สามารถจับต้องได้แต่คุณสามารถมองเห็นมันได้ด้วยตาเปล่าพบได้ไม่บ่อย
นักพบได้ในเฉพาะขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ในช่วงฤดูหนาวเท่านั้นสิ่งนี้
บางคนก็ตั้งข้อสันนิษฐานว่ามีรูปร่างลักษณะคล้ายกับผ้าม่านที่เรารู้จักและมีสี
ที่แปลกตาจากสีทั่วไปที่เราเห็นกันทุกวันสิ่งนี้เรียกว่า “ออโรร่า”เป็น
ปรากฏการณ์ที่ปรากฏเป็นแนวแสงสว่างสีต่างๆ บนท้องฟ้ายามคำ่าคืน รูปร่าง
คล้ายกับม่าน และมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างรวดเร็ว แสงเหนือ-แสงใต้
มักเกิดขึ้นในบริเวณที่ละติจูดสูง เช่น บริเวณใกล้ขั้วโลกเหนือ ที่เรียกว่า แสง
เหนือ (aurora borealis) และบริเวณใกล้ขั้วโลกใต้ ที่เรียกว่า แสงใต้
(aurora australis) และอยู่ในระดับความสูงตั้งแต่ 80-1,000 กิโลเมตร เหนือ
3
พื้นดินแสงเหนือ-แสงใต้ เกิดจากอนุภาคในอวกาศที่มีประจุผ่านเข้ามาในชั้น
บรรยากาศของ โลก แล้วทำาให้ก๊าซที่อยู่ใน ชั้นบรรยากาศเกิด การแตกตัว
และปลดปล่อยพลังงานในรูปของแสง ซึ่งจะให้แสงสีที่มีลักษณะเฉพาะที่แตก
ต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของก๊าซที่เกิดการแตกตัว โดยที่ออกซิเจนจะให้แสงสี
เขียวหรือสีแดง ไนโตรเจนให้สีนำ้าเงินหรือสีแดง ฮีเลียมให้สีฟ้าและสีชมพู
ดังนั้นแสงสีต่างๆ ที่มองเห็นได้ จึงเกิดจากสีเหล่านี้หรือเกิดการผสมจนเป็นสี
ที่แปลกไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1.ศึกษาการเกิดปรากฏการณ์ออโรร่า
2.ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนในในออโรร่า
3.เพื่อนำาความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดหรือบูรณาการในวิชาฟิสิกส์
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ
ทำาโครงงาน)
จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ ออโรร่า เพื่อเป็นการศึกษาพลัง
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา
โครงงาน)
แสงออโรราเกิดจากอนุภาคมีประจุไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์ถูกสนามแม่
เหล็กโลกดึงมันเข้าสู่บริเวณขั้วโลกจากการที่สนามแม่เหล็กโลกแผ่ออกไป
รอบๆและปรากฏการณ์แสงออโรราที่เกิดขึ้นอย่างสมำ่าเสมอ ทำาให้เขาสรุปได้
ว่า อนุภาคมีประจุที่เข้ามายังโลกมาจากดวงอาทิตย์ แถมพุ่งเข้ามาชนโลกเรา
อย่างต่อเนื่องด้วย ปัจจุบันเราเรียกอนุภาคมีประจุเหล่านี้ว่า ลมสุริยะ (Solar
wind) อย่างไรก็ตามกว่าทฤษฎีของเขาจะถูกยืนยันอย่างชัดเจนก็ต้องรอ
จนถึงยุคที่มนุษย์เราไปอวกาศได้ ซึ่งทุกวันนี้นักวิทยาศาสตร์สามารถไข
ปริศนาเกี่ยวกับแสงออโรราได้มากมาย
ออโรราเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดบริเวณประเทศแถบขั้วโลกทั้ง
เหนือและใต้ โดยมีลักษณะของแสงเป็นสีสันสวยงามและมีรูปร่างแปรเปลี่ยน
แตกต่างกันไปอย่างรวดเร็ว ลมสุริยะคืออนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่พุ่งออกมา
จากดวงอาทิตย์ได้แก่ โปรตอนและอิเล็กตรอน ซึ่งอนุภาคเหล่านี้เคลื่อนที่
ด้วยอัตราเร็วราวๆ 1.5 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง (ประมาณ 40 เท่าของ
4
ความเร็วที่ยานอวกาศต้องใช้ในการหลุดจากแรงโน้มถ่วงโลก ) ซึ่งกระแส
ลมส่วนที่เร็วมากๆอาจเร็วมากกว่านี้ถึง 2 เท่าทีเดียว กระแสลมดังกล่าวบางที
ก็ถูกเสริมความเร็วได้นะครับ จากพวยก๊าซขนาดใหญ่ที่ระเบิดบนดวงอาทิตย์
ที่เรียกว่า coronal mass ejection (CME)
แต่โลกเรามีสนามแม่เหล็กที่มองไม่เห็นคอยปกป้องเราจากอนุภาคเหล่านี้
ลมสุริยะพัดกระหนำ่าลงบน magnetosphere ของโลกซึ่งเป็นบริเวณใน
อวกาศที่อนุภาคมีประจุไฟฟ้าได้รับอิทธิพลจากสนามแม่เหล็กโลกอย่างเต็มที่
ซึ่งส่วนที่อ่อนแอที่สุดก็คือบริเวณขั้วแม่เหล็กโลกทั้งสองขั้วนั่นเอง อนุภาคที่
สามารถเข้าสู่ชั้นบรรยากาศด้านบนของโลกได้โดยตรงจะทำาให้เกิดแสงออ
โรราในตอนกลางวัน อนุภาคบางส่วนเคลื่อนเข้ามาทางส่วนหางของสนาม
แม่เหล็กโลกซึ่งอยู่ฝั่งกลางคืนแล้วถูกผลักกลับเข้ามาทำาให้เกิดแสงออโรรา
รอบๆขั้วแม่เหล็กโลก
ถ้า CME รุนแรงมากสามารถทำาให้เกิดปรากฏการณ์ พายุแม่เหล็กโลก
(Geomagnetic storm) คือการที่สนามแม่เหล็กโลกถูกรบกวนโดยลมสุริยะที่
รุนแรงขึ้นรวมทั้งสนามแม่เหล็กของลมสุริยะเองทำาให้สนามแม่เหล็กโลกมี
พลังงานสูงขึ้น ส่งผลให้เข็มทิศบนโลกอาจเบนออกจากทิศเหนือได้
5
เราสามารถมองว่าสนามแม่เหล็กของลมสุริยะนั้นเป็นสนามแม่เหล็ก
ส่วนที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์เพิ่มเติมซึ่งเรียกว่า interplanetary
magnetic field (IMF) และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์
(ดวงอาทิตย์ก็หมุนรอบตัวเอง โดยแต่ละตำาแหน่งมีอัตราการหมุนเร็วไม่เท่า
กัน ที่เส้นศูนย์สูตรดวงอาทิตย์หมุนครบรอบภายใน 25 วัน) ทำาให้ IMF มี
ลักษณะเป็นเกลียวก้นหอย เรียกว่า Parker spiral
โดยดวงอาทิตย์อยู่ที่ศูนย์กลางของก้นหอย ชื่อก้นหอยถูกตั้งชื่อตาม ยูจีน
ปาร์กเกอร์ (Eugene Parker เกิดปี 1927) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันผู้
ศึกษาเรื่องนี้
จุดที่สนามแม่เหล็กโลกกับดวงอาทิตย์เกิดเป็นเหมือนรอยต่อของสนามแม่
เหล็กโลกและสนามแม่เหล็กของลมสุริยะ ที่นั่นความดันของทั้งสองสนามนี้
เท่ากันพอดีเรียกว่า Magnetopause ซึ่งมีการเลื่อนตำาแหน่งไปมาเนื่องจาก
สนามแม่เหล็กของลมสุริยะที่เปลี่ยนแปลงความแรงอยู่ตลอดนั่นเอง
สนามแม่เหล็กโลกฝั่งกลางวันจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ แต่ IMF นั้น
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอาจจะชี้ไปในทิศทางเดียวกันหรือตรงข้ามก็ได้ ถ้า
IMF ชี้ไปทางทิศเหนือเช่นเดียวกับสนามแม่เหล็กโลก สองสนามนี้จะผลักกัน
6
ไม่รุนแรงนักเหมือนแท่งแม่เหล็กสองแท่งผลักกัน ดังนั้นลมสุริยะจึงถูกผลัก
ให้เคลื่อนไปรอบๆ magnetosphere
แต่ถ้า IMF ชี้ไปทางทิศใต้ สนามแม่เหล็กจะเกิดการเชื่อมต่อกันเรียกว่า
magnetic reconnection เกิดขึ้นเมื่อเส้นแรงแม่เหล็กรวมกันจนเกิดการ
เปลี่ยนแปลงรูปแบบไป ทำาให้เกิดการปลดปล่อยความร้อนและพลังงานออก
มา เนื่องจากปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในฝั่งกลางวันทำาให้อนุภาคมีประจุ
ต่างๆรวมทั้งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเข้าสู่ magnetosphere จากนั้น
พลังงานและอนุภาคจะวิ่งไปสู่ฝั่งกลางคืนทำาให้สนามแม่เหล็กฝั่งกลางคืน
เปลี่ยนแปลงรูปร่างและส่งผลให้อนุภาคมีประจุเหล่านั้นถูกส่งเข้าสู่ขั้วโลก
เมื่ออนุภาคเข้าสู่ขั้วโลกจะถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็น
แผ่นเหนือชั้นบรรยากาศโลก จากนั้นจึงเข้าสู่บรรยากาศโลกชั้นในด้วย
ความเร็วสูง ลักษณะการเกิดแสงออโรรานั้นคล้ายๆกับหลอดคาโทดใน
โทรทัศน์ สายไฟนำาอิเล็กตรอน(สนามแม่เหล็กโลก)มาสู่ปืนยิง
อิเล็กตรอน(สนามไฟฟ้าเหนือชั้นบรรยากาศ)ซึ่งจะยิงอิเล็กตรอนเข้าสู่ฉาก
บนโทรทัศน์(ชั้นบรรยากาศ) จนเกิดเป็นภาพที่เราเห็น
อนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่เข้ามาสู่โลกจะชนกับอะตอมหลักๆก็คืออะตอมของ
ไนโตรเจนและออกซิเจน ที่ความสูงราวๆ 80-300 กิโลเมตร สูงเหนือ
ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศทั้งปวง การชนดังกล่าวส่งพลังงานให้สู่อะตอม
เหล่านั้นทำาให้เกิดการปลดปล่อยพลังงานออกมา
อะตอมของออกซิเจนปลดปล่อยแสงสีเขียว และสีแดงสว่าง ซึ่งเป็นสี
สองสีที่โดดเด่นของแสงออโรรา อะตอมออกซิเจนปล่อยสีแดงออกมีที่ความสู
งมากๆ ดังนั้นออโรราในตำาแหน่งสูงๆจึงเป็นสีแดง ส่วนอะตอมของ
ไนโตรเจนปล่อยแสงสีฟ้าและสีแดงเข้ม
สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่เข้าใจดีนักก็คือทำาไมออโรราจึงมีรูปร่าง
หน้าตาอย่างที่เป็นอยู่ ออโรราที่เป็นเหมือนผ้าม่านนั้นเราพออธิบายได้
เนื่องจากอนุภาคมีประจุไฟฟ้าถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าที่มีลักษณะเป็นแผ่น
ทำาให้เกิดแสงที่มีลักษณะเป็นแผ่นเหมือนผ้าม่านที่มีความกว้างเป็นสิบ
กิโลเมตรทีเดียว ส่วนความยาวของมันอาจสัมพันธ์อยู่กับความเปลี่ยนแปลง
7
ของ magnetosphere แต่ลักษณะอื่นๆนั้นยังคงเป็นปริศนาให้ศึกษากันต่อ
ไป
วิธีดำาเนินงาน
แนวทางการดำาเนินงาน
1. กำาหนดหัวข้อ
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดทำาโครงร่างโครงงาน
4. ตรวจสอบงาน
5. ปรับปรุงแก้ไข
6. นำาเสนอโครงงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. สมุดเปล่า
3. ดินสอ – ยางลบ
4.
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน
ลำา
ดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด
ชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
1
2
1
3
1
4
1
5
1
6
17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
3 จัดทำาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้าง
โครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
8
6 การทำาเอกสาร
รายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นำาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา
โครงงาน)
1. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ออโรร่า
2. เพื่อนำาความรู้ที่ได้รับไปต่อยอด
3. เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ที่สนใจ
สถานที่ดำาเนินการ
1. บ้านพัก
2. โรงเรียน
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
1. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์
แหล่งอ้างอิง
1. http://www.narit.or.th/index.php/astronomy-article/588-
miracle-aurora
2. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD
%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B2_(
%E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2%
E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA
%E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C)#.E0.B8.84.E0.
B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E
0.B8.A2.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.8A.E0.B8.B7.
E0.B9.88.E0.B8.AD
3. http://www.scimath.org/astronomyarticle/item/2104-aurora

More Related Content

What's hot

2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1achirayaRchi
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกselenagomezz
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยGuy Prp
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาmind jirapan
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Rachan Potaya
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)2_PiR
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1Nuttida Meepo
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรมThanakorn Intrarat
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานpoompeemm
 

What's hot (20)

2560 project .pdf1
2560 project .pdf12560 project .pdf1
2560 project .pdf1
 
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออกใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
ใบงานที่ 5 โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง ไข้เลือดออก
 
Computer
ComputerComputer
Computer
 
โครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทยโครงงานกล้วยไม้ไทย
โครงงานกล้วยไม้ไทย
 
Com2561 32
Com2561 32Com2561 32
Com2561 32
 
Project มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมาProject มหัศจรรย์โลมา
Project มหัศจรรย์โลมา
 
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
โครงร่างโครงงาน ชนกันต์
 
พีม
พีมพีม
พีม
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2561 project (1)
2561 project  (1)2561 project  (1)
2561 project (1)
 
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1การขับขี่อย่างปลอดภัย1
การขับขี่อย่างปลอดภัย1
 
Jj
JjJj
Jj
 
2561 project 04
2561 project 042561 project 04
2561 project 04
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Chel
ChelChel
Chel
 
โครงงานเปรม
โครงงานเปรมโครงงานเปรม
โครงงานเปรม
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
งานโก๋
งานโก๋งานโก๋
งานโก๋
 
Project com 47
Project com 47Project com 47
Project com 47
 
at1
at1at1
at1
 

Viewers also liked

Global InterGold_Stimulačný marketingový program GOLDSET_ slovenského jazyka.
Global InterGold_Stimulačný marketingový program  GOLDSET_ slovenského jazyka.Global InterGold_Stimulačný marketingový program  GOLDSET_ slovenského jazyka.
Global InterGold_Stimulačný marketingový program GOLDSET_ slovenského jazyka.Александра Прокопец
 
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогодення
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогоденняРедакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогодення
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогоденняOdesa National Scientific Library
 
Product function
Product functionProduct function
Product functiontif76228
 
Texas ACP Letter of Eligibility
Texas ACP Letter of EligibilityTexas ACP Letter of Eligibility
Texas ACP Letter of EligibilityGary Schroeder
 
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 році
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 роціВидавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 році
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 роціOdesa National Scientific Library
 
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT Continuity and Resilience
 
Master these photography tips to be a better Photographer
Master these photography tips to be a better PhotographerMaster these photography tips to be a better Photographer
Master these photography tips to be a better PhotographerNitin Khanna
 
As 18 etapas da avaliação de Competências
As 18 etapas da avaliação de CompetênciasAs 18 etapas da avaliação de Competências
As 18 etapas da avaliação de CompetênciasAlvaro Mello
 
Implementing a Business Continuity Management System in Telecoms
Implementing a Business Continuity Management System in TelecomsImplementing a Business Continuity Management System in Telecoms
Implementing a Business Continuity Management System in TelecomsGlobal Risk Forum GRFDavos
 

Viewers also liked (20)

Global InterGold_Stimulačný marketingový program GOLDSET_ slovenského jazyka.
Global InterGold_Stimulačný marketingový program  GOLDSET_ slovenského jazyka.Global InterGold_Stimulačný marketingový program  GOLDSET_ slovenského jazyka.
Global InterGold_Stimulačný marketingový program GOLDSET_ slovenského jazyka.
 
Productivite transparence
Productivite transparenceProductivite transparence
Productivite transparence
 
Universidad 1
Universidad 1Universidad 1
Universidad 1
 
Recursos didácticos ROOR
Recursos didácticos ROORRecursos didácticos ROOR
Recursos didácticos ROOR
 
Template 1
Template 1Template 1
Template 1
 
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогодення
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогоденняРедакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогодення
Редакційний відділ ОННБ ім. М. Горького: історія та сьогодення
 
Product function
Product functionProduct function
Product function
 
My avatar
My avatarMy avatar
My avatar
 
Propuesta Para Restaurar la Justicia
Propuesta Para Restaurar la JusticiaPropuesta Para Restaurar la Justicia
Propuesta Para Restaurar la Justicia
 
Texas ACP Letter of Eligibility
Texas ACP Letter of EligibilityTexas ACP Letter of Eligibility
Texas ACP Letter of Eligibility
 
Template 3
Template 3Template 3
Template 3
 
Rabi Season 2015-16 Trials
Rabi Season 2015-16 TrialsRabi Season 2015-16 Trials
Rabi Season 2015-16 Trials
 
Template 2
Template 2Template 2
Template 2
 
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 році
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 роціВидавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 році
Видавничо-бібліографічна діяльність ОННБ ім. М.Горького в 2014 році
 
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT
HOW TO PLAN AND MANAGE A BCM AND IT DR PROJECT
 
Master these photography tips to be a better Photographer
Master these photography tips to be a better PhotographerMaster these photography tips to be a better Photographer
Master these photography tips to be a better Photographer
 
photography composition
photography compositionphotography composition
photography composition
 
As 18 etapas da avaliação de Competências
As 18 etapas da avaliação de CompetênciasAs 18 etapas da avaliação de Competências
As 18 etapas da avaliação de Competências
 
Hollow flashlight
Hollow flashlightHollow flashlight
Hollow flashlight
 
Implementing a Business Continuity Management System in Telecoms
Implementing a Business Continuity Management System in TelecomsImplementing a Business Continuity Management System in Telecoms
Implementing a Business Continuity Management System in Telecoms
 

Similar to ออโรร่า

worrakamon
worrakamonworrakamon
worrakamonisaka123
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project ssuser71dcde
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะChanin Monkai
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอมJirakit Suttikham
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Hathaichanok Pintamong
 
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์การ์ด คนริมเหนือ
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนNuttida Meepo
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมgreatzaza007
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Rapol
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปEakkamol Dechudom
 
615 28 namthip
615 28 namthip615 28 namthip
615 28 namthipportgasjan
 
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีโครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีPanichaya Charoenphol
 

Similar to ออโรร่า (20)

Tense
TenseTense
Tense
 
Tense
TenseTense
Tense
 
worrakamon
worrakamonworrakamon
worrakamon
 
2562 final-project
2562 final-project 2562 final-project
2562 final-project
 
Cumkeaw
CumkeawCumkeaw
Cumkeaw
 
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
ใบงานที่ 5 โครงงานระบบสุริยะ
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Gameproject
GameprojectGameproject
Gameproject
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์
แบบเสนอร่างโครงงานเทคนิคการขับบิ๊กไบค์
 
การพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟนการพัฒนาไอโฟน
การพัฒนาไอโฟน
 
เพลี้ย
เพลี้ยเพลี้ย
เพลี้ย
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไปแบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง กำจัดน้ำเสียให้หมดไป
 
615 28 namthip
615 28 namthip615 28 namthip
615 28 namthip
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
2558
25582558
2558
 
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรีโครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
โครงงานพระกีสาโคตมีเถรี
 

ออโรร่า

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง 33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและ การสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2558 ชื่อโครงงาน : แสงวิบวับบนฟ้าคือแสงอะไรกันนะ ชื่อผู้ทำาโครงงาน นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 6 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูล วรรณ์ ระยะเวลาดำาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการ ศึกษา 2558 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
  • 2. 2 สำานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทำาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิก นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์ เลขที่ 2 ชั้น ม.6 ห้อง 6 คำาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อ ไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) แสงอะไรวิบวับบนฟ้ากันนะ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) What is that!!! The twinkling light in the sky ประเภทโครงงาน : โครงงานเพื่อนการศึกษา ชื่อผู้ทำาโครงงาน : นายกิตติศักดิ์ ไชยดิษยะพงษ์ ชื่อที่ปรึกษา : ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม ระยะเวลาดำาเนินงาน : 1 เดือน ที่มาและความสำาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของ การทำาโครงงาน) โลกของเรายังมีสิ่งที่หน้าค้นหาอีกมากมายรอให้เราเข้าไปค้นหา อยู่เพียงแค่เรากล้าที่จะก้าวออกมาและเข้าไปค้นหาสิ่งน่าอัศจรรย์ใจที่ซ่อน อยู่ภายในโลกแห่งนี้และเราจะพบกับโลกใบใหม่ที่กว้างใหญ่ โลกใบใหม่ต่อไปนี้เป็นโลกที่มีความอัศจรรย์ของมันซ่อนอยู่มัน ไม่สามารถจับต้องได้แต่คุณสามารถมองเห็นมันได้ด้วยตาเปล่าพบได้ไม่บ่อย นักพบได้ในเฉพาะขั้วโลกเหนือและขั้วโลกใต้ในช่วงฤดูหนาวเท่านั้นสิ่งนี้ บางคนก็ตั้งข้อสันนิษฐานว่ามีรูปร่างลักษณะคล้ายกับผ้าม่านที่เรารู้จักและมีสี ที่แปลกตาจากสีทั่วไปที่เราเห็นกันทุกวันสิ่งนี้เรียกว่า “ออโรร่า”เป็น ปรากฏการณ์ที่ปรากฏเป็นแนวแสงสว่างสีต่างๆ บนท้องฟ้ายามคำ่าคืน รูปร่าง คล้ายกับม่าน และมีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างอย่างรวดเร็ว แสงเหนือ-แสงใต้ มักเกิดขึ้นในบริเวณที่ละติจูดสูง เช่น บริเวณใกล้ขั้วโลกเหนือ ที่เรียกว่า แสง เหนือ (aurora borealis) และบริเวณใกล้ขั้วโลกใต้ ที่เรียกว่า แสงใต้ (aurora australis) และอยู่ในระดับความสูงตั้งแต่ 80-1,000 กิโลเมตร เหนือ
  • 3. 3 พื้นดินแสงเหนือ-แสงใต้ เกิดจากอนุภาคในอวกาศที่มีประจุผ่านเข้ามาในชั้น บรรยากาศของ โลก แล้วทำาให้ก๊าซที่อยู่ใน ชั้นบรรยากาศเกิด การแตกตัว และปลดปล่อยพลังงานในรูปของแสง ซึ่งจะให้แสงสีที่มีลักษณะเฉพาะที่แตก ต่างกัน ขึ้นอยู่กับชนิดของก๊าซที่เกิดการแตกตัว โดยที่ออกซิเจนจะให้แสงสี เขียวหรือสีแดง ไนโตรเจนให้สีนำ้าเงินหรือสีแดง ฮีเลียมให้สีฟ้าและสีชมพู ดังนั้นแสงสีต่างๆ ที่มองเห็นได้ จึงเกิดจากสีเหล่านี้หรือเกิดการผสมจนเป็นสี ที่แปลกไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทำาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1.ศึกษาการเกิดปรากฏการณ์ออโรร่า 2.ให้ความรู้แก่ผู้ที่สนในในออโรร่า 3.เพื่อนำาความรู้ที่ได้รับไปต่อยอดหรือบูรณาการในวิชาฟิสิกส์ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจำากัดของการ ทำาโครงงาน) จัดทำาโครงงานคอมพิวเตอร์ ออโรร่า เพื่อเป็นการศึกษาพลัง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทำา โครงงาน) แสงออโรราเกิดจากอนุภาคมีประจุไฟฟ้าจากดวงอาทิตย์ถูกสนามแม่ เหล็กโลกดึงมันเข้าสู่บริเวณขั้วโลกจากการที่สนามแม่เหล็กโลกแผ่ออกไป รอบๆและปรากฏการณ์แสงออโรราที่เกิดขึ้นอย่างสมำ่าเสมอ ทำาให้เขาสรุปได้ ว่า อนุภาคมีประจุที่เข้ามายังโลกมาจากดวงอาทิตย์ แถมพุ่งเข้ามาชนโลกเรา อย่างต่อเนื่องด้วย ปัจจุบันเราเรียกอนุภาคมีประจุเหล่านี้ว่า ลมสุริยะ (Solar wind) อย่างไรก็ตามกว่าทฤษฎีของเขาจะถูกยืนยันอย่างชัดเจนก็ต้องรอ จนถึงยุคที่มนุษย์เราไปอวกาศได้ ซึ่งทุกวันนี้นักวิทยาศาสตร์สามารถไข ปริศนาเกี่ยวกับแสงออโรราได้มากมาย ออโรราเป็นปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดบริเวณประเทศแถบขั้วโลกทั้ง เหนือและใต้ โดยมีลักษณะของแสงเป็นสีสันสวยงามและมีรูปร่างแปรเปลี่ยน แตกต่างกันไปอย่างรวดเร็ว ลมสุริยะคืออนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่พุ่งออกมา จากดวงอาทิตย์ได้แก่ โปรตอนและอิเล็กตรอน ซึ่งอนุภาคเหล่านี้เคลื่อนที่ ด้วยอัตราเร็วราวๆ 1.5 ล้านกิโลเมตรต่อชั่วโมง (ประมาณ 40 เท่าของ
  • 4. 4 ความเร็วที่ยานอวกาศต้องใช้ในการหลุดจากแรงโน้มถ่วงโลก ) ซึ่งกระแส ลมส่วนที่เร็วมากๆอาจเร็วมากกว่านี้ถึง 2 เท่าทีเดียว กระแสลมดังกล่าวบางที ก็ถูกเสริมความเร็วได้นะครับ จากพวยก๊าซขนาดใหญ่ที่ระเบิดบนดวงอาทิตย์ ที่เรียกว่า coronal mass ejection (CME) แต่โลกเรามีสนามแม่เหล็กที่มองไม่เห็นคอยปกป้องเราจากอนุภาคเหล่านี้ ลมสุริยะพัดกระหนำ่าลงบน magnetosphere ของโลกซึ่งเป็นบริเวณใน อวกาศที่อนุภาคมีประจุไฟฟ้าได้รับอิทธิพลจากสนามแม่เหล็กโลกอย่างเต็มที่ ซึ่งส่วนที่อ่อนแอที่สุดก็คือบริเวณขั้วแม่เหล็กโลกทั้งสองขั้วนั่นเอง อนุภาคที่ สามารถเข้าสู่ชั้นบรรยากาศด้านบนของโลกได้โดยตรงจะทำาให้เกิดแสงออ โรราในตอนกลางวัน อนุภาคบางส่วนเคลื่อนเข้ามาทางส่วนหางของสนาม แม่เหล็กโลกซึ่งอยู่ฝั่งกลางคืนแล้วถูกผลักกลับเข้ามาทำาให้เกิดแสงออโรรา รอบๆขั้วแม่เหล็กโลก ถ้า CME รุนแรงมากสามารถทำาให้เกิดปรากฏการณ์ พายุแม่เหล็กโลก (Geomagnetic storm) คือการที่สนามแม่เหล็กโลกถูกรบกวนโดยลมสุริยะที่ รุนแรงขึ้นรวมทั้งสนามแม่เหล็กของลมสุริยะเองทำาให้สนามแม่เหล็กโลกมี พลังงานสูงขึ้น ส่งผลให้เข็มทิศบนโลกอาจเบนออกจากทิศเหนือได้
  • 5. 5 เราสามารถมองว่าสนามแม่เหล็กของลมสุริยะนั้นเป็นสนามแม่เหล็ก ส่วนที่แผ่ออกมาจากดวงอาทิตย์เพิ่มเติมซึ่งเรียกว่า interplanetary magnetic field (IMF) และเนื่องจากการหมุนรอบตัวเองของดวงอาทิตย์ (ดวงอาทิตย์ก็หมุนรอบตัวเอง โดยแต่ละตำาแหน่งมีอัตราการหมุนเร็วไม่เท่า กัน ที่เส้นศูนย์สูตรดวงอาทิตย์หมุนครบรอบภายใน 25 วัน) ทำาให้ IMF มี ลักษณะเป็นเกลียวก้นหอย เรียกว่า Parker spiral โดยดวงอาทิตย์อยู่ที่ศูนย์กลางของก้นหอย ชื่อก้นหอยถูกตั้งชื่อตาม ยูจีน ปาร์กเกอร์ (Eugene Parker เกิดปี 1927) นักดาราศาสตร์ชาวอเมริกันผู้ ศึกษาเรื่องนี้ จุดที่สนามแม่เหล็กโลกกับดวงอาทิตย์เกิดเป็นเหมือนรอยต่อของสนามแม่ เหล็กโลกและสนามแม่เหล็กของลมสุริยะ ที่นั่นความดันของทั้งสองสนามนี้ เท่ากันพอดีเรียกว่า Magnetopause ซึ่งมีการเลื่อนตำาแหน่งไปมาเนื่องจาก สนามแม่เหล็กของลมสุริยะที่เปลี่ยนแปลงความแรงอยู่ตลอดนั่นเอง สนามแม่เหล็กโลกฝั่งกลางวันจะชี้ไปทางทิศเหนือเสมอ แต่ IMF นั้น เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาอาจจะชี้ไปในทิศทางเดียวกันหรือตรงข้ามก็ได้ ถ้า IMF ชี้ไปทางทิศเหนือเช่นเดียวกับสนามแม่เหล็กโลก สองสนามนี้จะผลักกัน
  • 6. 6 ไม่รุนแรงนักเหมือนแท่งแม่เหล็กสองแท่งผลักกัน ดังนั้นลมสุริยะจึงถูกผลัก ให้เคลื่อนไปรอบๆ magnetosphere แต่ถ้า IMF ชี้ไปทางทิศใต้ สนามแม่เหล็กจะเกิดการเชื่อมต่อกันเรียกว่า magnetic reconnection เกิดขึ้นเมื่อเส้นแรงแม่เหล็กรวมกันจนเกิดการ เปลี่ยนแปลงรูปแบบไป ทำาให้เกิดการปลดปล่อยความร้อนและพลังงานออก มา เนื่องจากปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ้นในฝั่งกลางวันทำาให้อนุภาคมีประจุ ต่างๆรวมทั้งพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาเข้าสู่ magnetosphere จากนั้น พลังงานและอนุภาคจะวิ่งไปสู่ฝั่งกลางคืนทำาให้สนามแม่เหล็กฝั่งกลางคืน เปลี่ยนแปลงรูปร่างและส่งผลให้อนุภาคมีประจุเหล่านั้นถูกส่งเข้าสู่ขั้วโลก เมื่ออนุภาคเข้าสู่ขั้วโลกจะถูกเร่งโดยสนามไฟฟ้าขนาดใหญ่ที่มีลักษณะเป็น แผ่นเหนือชั้นบรรยากาศโลก จากนั้นจึงเข้าสู่บรรยากาศโลกชั้นในด้วย ความเร็วสูง ลักษณะการเกิดแสงออโรรานั้นคล้ายๆกับหลอดคาโทดใน โทรทัศน์ สายไฟนำาอิเล็กตรอน(สนามแม่เหล็กโลก)มาสู่ปืนยิง อิเล็กตรอน(สนามไฟฟ้าเหนือชั้นบรรยากาศ)ซึ่งจะยิงอิเล็กตรอนเข้าสู่ฉาก บนโทรทัศน์(ชั้นบรรยากาศ) จนเกิดเป็นภาพที่เราเห็น อนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่เข้ามาสู่โลกจะชนกับอะตอมหลักๆก็คืออะตอมของ ไนโตรเจนและออกซิเจน ที่ความสูงราวๆ 80-300 กิโลเมตร สูงเหนือ ปรากฏการณ์ลมฟ้าอากาศทั้งปวง การชนดังกล่าวส่งพลังงานให้สู่อะตอม เหล่านั้นทำาให้เกิดการปลดปล่อยพลังงานออกมา อะตอมของออกซิเจนปลดปล่อยแสงสีเขียว และสีแดงสว่าง ซึ่งเป็นสี สองสีที่โดดเด่นของแสงออโรรา อะตอมออกซิเจนปล่อยสีแดงออกมีที่ความสู งมากๆ ดังนั้นออโรราในตำาแหน่งสูงๆจึงเป็นสีแดง ส่วนอะตอมของ ไนโตรเจนปล่อยแสงสีฟ้าและสีแดงเข้ม สิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ยังไม่เข้าใจดีนักก็คือทำาไมออโรราจึงมีรูปร่าง หน้าตาอย่างที่เป็นอยู่ ออโรราที่เป็นเหมือนผ้าม่านนั้นเราพออธิบายได้ เนื่องจากอนุภาคมีประจุไฟฟ้าถูกเร่งด้วยสนามไฟฟ้าที่มีลักษณะเป็นแผ่น ทำาให้เกิดแสงที่มีลักษณะเป็นแผ่นเหมือนผ้าม่านที่มีความกว้างเป็นสิบ กิโลเมตรทีเดียว ส่วนความยาวของมันอาจสัมพันธ์อยู่กับความเปลี่ยนแปลง
  • 7. 7 ของ magnetosphere แต่ลักษณะอื่นๆนั้นยังคงเป็นปริศนาให้ศึกษากันต่อ ไป วิธีดำาเนินงาน แนวทางการดำาเนินงาน 1. กำาหนดหัวข้อ 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดทำาโครงร่างโครงงาน 4. ตรวจสอบงาน 5. ปรับปรุงแก้ไข 6. นำาเสนอโครงงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. สมุดเปล่า 3. ดินสอ – ยางลบ 4. งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดำาเนินงาน ลำา ดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิด ชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 1 2 1 3 1 4 1 5 1 6 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทำาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ
  • 8. 8 6 การทำาเอกสาร รายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นำาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทำา โครงงาน) 1. เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจในปรากฏการณ์ออโรร่า 2. เพื่อนำาความรู้ที่ได้รับไปต่อยอด 3. เพื่อเป็นวิทยาทานแก่ผู้ที่สนใจ สถานที่ดำาเนินการ 1. บ้านพัก 2. โรงเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1. กลุ่มสาระวิทยาศาสตร์สาขาฟิสิกส์ แหล่งอ้างอิง 1. http://www.narit.or.th/index.php/astronomy-article/588- miracle-aurora 2. https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD %E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%B2_( %E0%B8%94%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2% E0%B8%A8%E0%B8%B2%E0%B8%AA %E0%B8%95%E0%B8%A3%E0%B9%8C)#.E0.B8.84.E0. B8.A7.E0.B8.B2.E0.B8.A1.E0.B8.AB.E0.B8.A1.E0.B8.B2.E 0.B8.A2.E0.B8.82.E0.B8.AD.E0.B8.87.E0.B8.8A.E0.B8.B7. E0.B9.88.E0.B8.AD 3. http://www.scimath.org/astronomyarticle/item/2104-aurora