SlideShare a Scribd company logo
คายสิ่งแวดลอมศึกษา
              หลักสูตร
       “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”




โดย นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง และคณะ




อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนืองมาจากพระราชดําริ
                         ่
        อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี
               กันยายน 2547
สารบัญ

เรื่อง                                                               หนา

กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา                                          1

หนวยการเรียนรูที่ 1   การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน              3
หนวยการเรียนรูที่ 2   การศึกษาธรรมชาติในเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ     7
หนวยการเรียนรูที่ 3   ภาวะโลกรอน                                   51
หนวยการเรียนรูที่ 4   ถุงเพาะชํากาบกลวย                            56

กิจกรรมคาย                                                           59

เอกสารอางอิง                                                         62
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                     1


                                  กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา

      วันแรก                                                กิจกรรม
  08.00-08.30 น.       ลงทะเบียน
  08.00-09.00 น.       ทดสอบความรู
  09.00-10.00 น.       กิจกรรมสัมพันธ
  10.00-10.10 น.       อาหารวาง
  10.10-12.00 น.       หนวยการเรียนรูที่ 1 “การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน”
  12.00-13.00 น.       อาหารกลางวัน
  13.00-14.00 น.       หนวยการเรียนรูที่ 1 “การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน” (ตอ)
  14.00-14.30 น.       หนวยยอยที่ 2.1 “ประโยชนของตนไม”
  14.30-14.50 น        หนวยยอยที่ 2.3 “แมลงและสิ่งมีชีวิตในน้า” ภาคทฤษฎี
                                                               ํ
  14.50-15.00 น.       อาหารวาง
  15.00-16.30 น        หนวยยอยที่ 2.3 “แมลงและสิ่งมีชีวิตในน้า” ภาคทฤษฎี (ตอ)
                                                                 ํ
  16.30-17.00 น        กิจกรรมสัมพันธ
  17.00-18.00 น.       พักผอน กิจสวนตัว
  18.00-19.00 น.       อาหารเย็น
  19.00-20.00 น.       หนวยยอยที่ 2.2 “นกกับสิ่งแวดลอม” ภาคทฤษฎี
  20.00-22.00 น.       หนวยการเรียนรูที่ 3 “ภาวะโลกรอน”
     21.00 น.          นอน
     วันที่สอง
  06.00-07.30 น.       นกกับสิ่งแวดลอม (ดูนกยามเชา)
  07.30-08.00 น.       พักผอน ทํากิจสวนตัว
  08.00-09.00 น.       เคารพธงชาติ/อาหารเชา
  08.00-10.00 น.       ศึกษาอุทยานธรรมชาติวิทยา
                       (ชมนิทรรศการบริเวณศาลาขอมูลธรรมชาติวิทยา)
  10.00-10.10 น.       อาหารวาง
  10.10-12.00 น.       หนวยยอยที่ 2.4 ความสัมพันธในระบบนิเวศ
  12.00-13.00 น        อาหารกลางวัน
  13.00-14.50 น.       หนวยยอยที่ 2.4 ความสัมพันธในระบบนิเวศ (ตอ)
  14.50-15.00 น.       อาหารวาง



                                           อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                     2


                               กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา (ตอ)

     วันที่สอง                                            กิจกรรม
  15.00-16.00 น.       หนวยการเรียนรูที่ 4 “ถุงเพาะชํากาบกลวย”
  16.00-17.00 น.       เตรียมนําเสนอแนวคิดเชิงอนุรักษผานละคร
  17.00-18.00 น.       พักผอน ทํากิจสวนตัว
  18.00-19.00 น.       อาหารเย็น
  19.00-21.00 น.       นําเสนอแนวคิดเชิงอนุรักษ (แสดงละคร)
     21.00 น.          นอน
     วันที่สาม
  06.00-07.30 น.       นกกับสิ่งแวดลอม (ดูนกยามเชา)
  07.30-08.00 น.       พักผอน ทํากิจสวนตัว
  08.00-09.00 น.       เคารพธงชาติ/อาหารเชา
  09.00-09.30 น.       ทดสอบความรู
                       แบบสอบถามประเมินโครงการ
                       ปลูกตนไม/บําเพ็ญประโยชน
  09.30-10.00 น.       ซอมรับประกาศนียบัตร
  10.00-10.10 น.       อาหารวาง
  10.10-10.30 น        บรรยายพิเศษ
  10.30-12.00 น.       มอบรางวัล
                       มอบประกาศนียบัตร
                       พิธีปด
                       ถายรูปหมู
  12.00-13.00 น.       อาหารกลางวัน
     13.00 น.          เสร็จสิ้นการอบรม เดินทางกลับ




                                            อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        3


               หนวยการเรียนรูที่ 1 การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน

สาระสําคัญ
         มนุษยใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม เพื่อการดํารงชีวิตในแตละวัน
ซึ่งจากการใชประโยชนของมนุษยไดสงผลกระทบทั้งทางบวกและลบแกทรัพยากรเชนกัน ดังนั้น
มนุษยควรใชทรัพยากรอยางคุมคา กอใหเกิดประโยชนสูงสุด และสงผลกระทบในทางลบนอยที่สุด
เพื่อรักษาทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน

จุดประสงค
       1. เพื่อศึกษาขั้นตอนกระบวนการผลิต การดําเนินงานของโครงการฟารมตัวอยางตาม
พระราชดําริ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ กลุมทํากระดาษสา และกลุมทําผลิตภัณฑ
กลวย
       2. เพื่อฝกทักษะการคิดวิเคราะห และการสรุปความคิดรวบยอด

เนื้อหา
        1. การทําการเกษตรแบบผสมผสาน โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นโครงการ
ฟารมตัวอยางตามพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ
        2. การทํากระดาษสา โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นกลุมทํากระดาษสา
        3. การทําผลิตภัณฑแปรรูปกลวย โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นกลุมทํา
ผลิตภัณฑกลวย

กิจกรรมการเรียนรู
         1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน
                   แนะนําการศึกษาดูงานในพื้นที่ ตามประเด็นที่ตองการใหศึกษาโดยเฉพาะ อันไดแก
ขั้นตอนการดําเนินงาน วัตถุดบ วัสดุอุปกรณที่ใช ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตและการจัดการ
                                 ิ
         2. ขั้นดําเนินการ
                   2.1 นําผูเขาอบรมไปศึกษาดูงานในพื้นที่ โดยฟงบรรยายจากเจาหนาที่จากฟารม
ตัวอย างตามพระราชดําริ สมเด็ จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ วิทยากรท องถิ่ น ของกลุมทํา
กระดาษสา และกลุมทําผลิตภัณฑกลวย พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเขาอบรมพูดคุยสอบถามเพิ่มเติม
                   2.2 ภายหลังจากการศึกษาดูงาน ใหแตละกลุมเขียนผังมโนทัศนจากความรูที่
ไดรับ ตามหัวขอที่ไดรับมอบหมาย


                                         อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                     4


                  2.3 นําเสนอผลงานโดยตัวแทนของแตละกลุม
                  2.4 อภิปรายเกี่ยวกับแตละกิจกรรมที่เกิดขึ้นตองใชทรัพยากรอะไรบาง และมี
ผลผลิตอะไรเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตบาง นอกจากนี้การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นเปนอยางไร
หรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นมีอะไรบางและสามารถปองกันไดอยางไร
                  2.5 ระดมความคิดเพื่อยกตัวอยางแนวทางการใชทรัพยากรอยางรูคุณคาในกิจกรรม
       3. ขั้นสรุป
                  กลาวสรุปถึงความจําเปนในการใชทรัพยากรเพื่อการดํารงชีวิต เมื่อใชทรัพยากรที่
มากเกินไป จะทําใหทรัพยากรลดลงอยางรวดเร็ว และกอใหเกิดของเสียเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงควรใช
ทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคากอใหเกิดประโยชนมากที่สุด

สื่อการเรียนรู
         1. กระดาษ Flip Chart
         2. ปากกาเคมีสีตางๆ
         3. บลูแทก / กระดาษกาว
         4. ใบงาน เรื่อง การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน

การประเมินผล
       1. ผลงานการเขียนผังมโนทัศน
       2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวมในการทํางาน และ
นําเสนอผลงาน




                                           อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                     5




         มนุษยใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม เพื่อการดํารงชีวิตใน
 แตละวัน ซึ่งจากการใชประโยชนของมนุษยไดสงผลกระทบทั้งทางบวกและลบแกทรัพยากร
 เชนกัน ดังนั้นมนุษยควรใชทรัพยากรอยางคุมคา กอใหเกิดประโยชนสูงสุด และสงผลกระทบ
 ในทางลบนอยที่สุด เพื่อรักษาทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน

 ภาระกิจ
 1. ศึกษาดูงาน
            โครงการฟารมตัวอยางตามพระราชดําริสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ
            กลุมทํากระดาษสา
            กลุมทําผลิตภัณฑกลวย
 โดยทําการบันทึกขอมูลจากการฟงบรรยายจากวิทยากรและจากการพูดคุยสอบถามเพิ่มเติม
 ลงในแบบบันทึก
 2. ภายหลังจากการศึกษาดูงาน ใหแตละกลุมเขียนผังมโนทัศนจากความรูที่ไดรบ ตามหัวขอที่
                                                                            ั
 ไดรับมอบหมาย
 3. นําเสนอผลงานโดยตัวแทนของแตละกลุม
 4. อภิปรายเกี่ยวกับแตละกิจกรรมที่เกิดขึ้นตองใชทรัพยากรอะไรบาง และมีผลผลิตอะไรเกิดขึ้น
 จากกระบวนการผลิตบาง นอกจากนี้การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นเปนอยางไร หรือมลภาวะทีอาจ ่
 เกิดขึ้นมีอะไรบางและสามารถปองกันไดอยางไร และระดมความคิดเพื่อยกตัวอยางแนวทางการ
 ใชทรัพยากรอยางรูคุณคา




                                            อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                      6




         เรื่อง                  วัตถุดิบที่ใช                          ขั้นตอน/วิธการ
                                                                                    ี




                                             อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                          7


         หนวยการเรียนรูที่ 2 การศึกษาธรรมชาติในเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ

สาระสําคัญ
          เสนทางศึกษาธรรมชาติเปนเครื่องมือหนึ่งในการศึกษาธรรมชาติ ที่ใหความรูความเขาใจ
ในเรื่ อ งของสภาพธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และเพื่ อ ก อ ให เ กิ ด ความเข า ใจในการอนุ รั ก ษ
ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น

หนวยยอยที่ 2.1 ประโยชนของตนไม
จุดประสงค
          1. เพื่อฝกการเก็บพรรณไมอยางงาย
          2. เพื่อฝกการสังเกตและวิเคราะหลักษณะของตนไม
          3. เพื่อศึกษาคนควาขอมูลเพิมเติมจากหองสมุดได
                                        ่
เนื้อหา
          ปาไม คือ ชุมชนของตนไม ซึ่งมีประโยชนมากมายตอการดํารงชีวิตของมนุษยทั้งทางตรง
และทางออม ไดแก ประโยชนทางตรง คือ การนําไมมาสรางอาคารบานเรือนผลิตภัณฑเครื่องใช
ต า งๆ เป น แหล ง อาหารจากส ว นต า งๆ ใช เ ส น ใยที่ ไ ด จ ากเปลื อ ก และเถาวั ล ย ม าถั ก ทอเป น
เครื่องนุงหม เชือกและอื่นๆ และทํายารักษาโรค ขณะที่ประโยชนทางออม เชน เปนแหลงตนน้ํา
ลําธาร รักษาความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ เปนแหลงพักผอนและเปนสถานที่ศึกษาหา
ความรู ปองกันและบรรเทาความแรงลม และการกัดเซาะและการพังทลายของดิน เปนแหลงที่อยู
อาศัยของสัตวปา เปนตน นับไดวาปาไมเปนแหลงทรัพยากรที่สําคัญ จึงควรชวยกันอนุรักษพื้นที่
ปาไมไวเพื่อคงความสมดุลของระบบนิเวศและมีแหลงทรัพยากรไวใชตลอดไป
กิจกรรมการเรียนรู
          1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน
                    ตั้งคําถาม “ทราบไหมวาตนไมแตละตนแตกตางกันอยางไร” และ “รูบางไหมวา
ปาไมมีประโยชนอยางไร”
          2. ขั้นดําเนินการ
                    2.1 ใหผูเขาอบรมเก็บใบไมแหงจากตนไมที่ทําการศึกษา พรอมทั้งบันทึกขอมูล
ลักษณะตนไมจากการสังเกตคราวๆ และลอกลายเปลือกของตนไมลงในกระดาษวาดเขียนบริเวณ
ขอบกระดาษ
                    2.2 ทําการสอบถามชื่อตนไม แลวคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน
ของตนไมชนิดนั้น



                                           อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                     8


                  2.3 บัน ทึ ก ข อมู ลที่ ไ ด ล งบนดา นหลั ง ของกระดาษวาดเขี ย นที่ทํ า การลอกลาย
เปลือกตนไมชนิดนั้น แลวนําตัวอยางใบไมแหงวางทาบลงบนดานหนากระดาษ โดยไมใหทับลาย
เปลือกตนไม จากนั้นปดสติกเกอรใสทับดานบนใบไมเพื่อยึดใบไมติดกับกระดาษวาดเขียน โดย
ไมใหมีฟองอากาศ
         3. ขั้นสรุป
                  ตั้งคําถาม “ประโยชนของตนไมที่ทําการศึกษามีอะไรบาง” แลวกลาวสรุปถึง
ประโยชนของตนไมและการอนุรักษ
สื่อการเรียนรู
         1. สมุดวาดเขียน หรือ กระดาษวาดเขียน หรือ แบบบันทึก
         2. สีเทียน
         3. ปากกาหรือดินสอ
         4. สติกเกอรใส (ขนาดเทากับกระดาษวาดเขียน)
         5. หนังสือในหองสมุด
         6. ตนไมที่จะทําการศึกษา
         7. ใบงาน เรื่อง ประโยชนของตนไม
         8. ใบความรู เรื่อง รูปรางของใบไม
การประเมินผล
         ผลงานในสมุดวาดเขียน หรือกระดาษวาดเขียน หรือ แบบบันทึก




                                           อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                          9




          ปาไม คือ ชุมชนของตนไม ซึ่งมีประโยชนมากมายตอการดํารงชีวิตของมนุษยทั้งทางตรง
และทางออม ไดแก ประโยชนทางตรง คือ การนําไมมาสรางอาคารบานเรือนผลิตภัณฑเครื่องใช
ต า งๆ เป น แหล ง อาหารจากส ว นต า งๆ ใช เ ส น ใยที่ ไ ด จ ากเปลื อ ก และเถาวั ล ย ม าถั ก ทอเป น
เครื่องนุงหม เชือกและอื่นๆ และทํายารักษาโรค ขณะที่ประโยชนทางออม เชน เปนแหลงตนน้ํา
ลําธาร รักษาความชุมชื้น และควบคุมสภาวะอากาศ เปนแหลงพักผอนและเปนสถานที่ศึกษาหา
ความรู ปองกันและบรรเทาความแรงลม                           ปองกันและบรรเทาการกัดเซาะและการพังทลาย
ของดิน เปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวปา เปนตน นับไดวาปาไมและตนไมเปนแหลงทรัพยากรขั้น
พื้นฐานที่สําคัญมาก ขณะเดียวกันหากเราใชประโยชนจากปาไมกันอยางเกินกําลังของมันแลว
ปญหาที่ตามมาไมใชแคความเสื่อมโทรมเทานั้น แตหมายถึงภัยอันตรายที่จะตามมาในไมชา และ
ในอนาคตอันใกลนี้อาจมีอีกหลายแหงที่จะตองประสบภัยทางธรรมชาติ ดังนั้นเราทุกคนจึงควร
ศึกษาและทําความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับการใชไมและปาไมใหมาก เพื่อจะไดชวยกันชวยกันบรรเทา
ปญหาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และร ว มอนุ รัก ษ พื้ น ที่ ปา ไม ใ ห ค งความสมดุ ลของระบบนิเ วศ และมีแ หล ง
ทรัพยากรไวใชตลอดไป

ภาระกิจ
        1. เก็บใบไมจากตนไมที่ทําการศึกษา พรอมทั้งบันทึกขอมูลลักษณะตนไมจากการสังเกต
คราวๆ โดยสามารถรูปรางของใบไมไดจากใบความรู และลอกลายเปลือกของตนไมลงในกระดาษ
วาดเขียนบริเวณขอบกระดาษดานนอก
        2. คนควาหาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะและประโยชนของตนไมชนิดนั้น
        3. บันทึกขอมูลรูปรางใบและลักษณะเดนอื่นๆ ของตนไม และประโยชน ลงบนดานหลัง
ของกระดาษวาดเขียนที่ทําการลอกลายเปลือกตนไมชนิดนั้น แลวนําตัวอยางใบไมแหงวางทาบลง
บนดานหนากระดาษ โดยไมใหทับลายเปลือกตนไม จากนั้นปดสติกเกอรใสทับดานบนใบไมเพื่อ
ยึดใบไมติดกับกระดาษวาดเขียน โดยไมใหมีฟองอากาศ




                                            อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                    10


                                        รูปรางใบไม (leaf shape)
ใบมีรูปรางแตกตางกัน ดังนี้
                                                            รูปลิ่มแคบ (subulate) ใบคอนขางสั้น
                                                            สอบแคบจากโคนใบไปยังปลายใบ
                                                            รูปเข็ม (acicular) ใบเล็กแหลมคลายเข็ม
                                                            รูปแถบ (linear) ใบยาวและแคบ ขอบใบ
                                                            เกือบจะขนานกัน
รูปขอบขนาน (oblong) ใบมีของสองขาง
ขนานกัน ความยาวเปน 2 เทาของความกวาง
รูปหอก (lanceolate)ใบรูปคลายใบหอก โคน
ใบกวางคอยๆ แคบสูปลายใบ
รูปหอกกลับ (oblanceolate) ใบรูปคลายใบ
หอกกลับ
                                                                  รูปรี (elliptic) ใบมีรูปรางรี
                                                                  สวนกวางที่สุดอยูตรงกลางใบ เมื่อ
                                                                  แบงใบออกเปน 2 สวน จะได 2 ขาง
                                                                  เทาๆ กัน
                                                                  รูปไข (ovate) ใบมีรูปรางคลายไข
สวนกวางที่สุดอยูต่ํากวากึ่งกลางใบ
รูปไขกลับ (obovate) ใบมี
รูปรางคลายไขกลับ
รูปสามเหลี่ยม (deltoid)
ใบรูปรางคลายสามเหลี่ยม
รูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด
(rhomboid) ใบมีรูปรางคลายสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด รูปไต (reniform) ใบมีรูปรางคลายไต
รูปวงกลม (orbicular) ใบมีรูปรางคลายวงกลม             รูปหัวใจ (cordate) ใบมีรูปรางคลายหัวใจ
รูปเคียว (falcate) ใบมีรูปรางคลายเคียวเกี่ยวขาว     รูปชอน (spathulate) ใบมีรูปรางคลายชอน



                                           อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                                                                                 11




                                                                                                                          (ลายเปลือก)



                                                                                       ชื่อ.......................................................................
                                                                                       ชื่อวิทยาศาสตร...................................................
                                                                                       วงศ.....................................................................
                                                                                       ลักษณะ...............................................................
                                                                                       ...........................................................................
                                                                                       ...........................................................................
                                                                                       ประโยชน............................................................
                                                       (ตัวอยางพันธุไม)
                                                                                      ...........................................................................
                                                                                       ...........................................................................


                                                                            อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         12


หนวยยอยที่ 2.2 นกกับสิ่งแวดลอม
จุดประสงค
         1. เพื่อฝกการจําแนกชนิดของนก
         2. เพื่อรูจักสังเกตลักษณะและพฤติกรรมของนก
         3. เพื่อรูจักการใชคูมือการดูนกและการใชกลองสองทางไกลแบบสองตา
เนื้อหา
         ปริมาณและชนิดของนกที่พบ สามารถแสดงใหเห็นถึงความอุดมสมบูรณของสิ่งแวดลอมบริเวณ
นั้น นกมีประโยชนในการชวยสืบพันธุและกระจายพันธุพืช บางชนิดกินแมลงซึ่งเปนการชวยควบคุม
ปริมาณแมลง หากนกที่พบมีปริมาณและชนิดลดลงยอมสงผลกระทบตอสมดุลของธรรมชาติ เราจึงควร
ชวยกันรักษาแหลงอาหารและถิ่นที่อยูอาศัยของนกเพื่อไมใหนกสูญพันธุ
กิจกรรมการเรียนรู
         1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน
                    แนะนําการดูนกในธรรมชาติ
         2. ขั้นดําเนินการ
                    2.1 ใหจับคูสมาชิกในแตละกลุม เดินตามเสนทางที่กําหนด
                    2.2 สํารวจและบันทึกขอมูลนกที่พบลงในแบบบันทึก
         3. ขั้นสรุป
                    ตั้งคําถาม “นกที่พบมีอะไรบาง นกที่พบแตกตาง
จากกลุมอื่น” แลวกลาวสรุปเกี่ยวกับนกกับสิ่งแวดลอม
สื่อการเรียนรู
         1. ใบความรูในการดูนก
         2. แบบบันทึกการสํารวจนก
         3. หนังสือคูมือการดูนกของอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ
         4. หนังสือสัตวปาในอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ
         5. กลองสองทางไกลแบบสองตา
         6. ดินสอหรือปากกา
การประเมินผล
         1. ตรวจผลงานในแบบบันทึกการสํารวจนก
         2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ และความรวมมือในการทํางาน




                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                          13




         โดยทั่วไปนกมีรูปรางเรียวไปทางหัวและทายเปนรูปกระสวย แบงเปน 7 สวน คือ ปาก หัว คอ
ลําตัว ปก หาง และขา
ปาก (bill หรือ beak)                                            ลักษณะภายนอกของนก
        ป า ก น ก เ ป น โ ค ร ง ส ร า ง
ลักษณะคลายกระดูก 2 ชิ้นประกบกัน
รูปรางของปากจะสัมพันธกับอุปนิสัย
การกิ น อาหารของนก เช น เรี ย ว
แหลมสํ า หรั บ กิ น น้ํ า ต อ ย(น้ํ า หวาน
ดอกไม) เปนขอสํ าหรับฉี กเนื้อ ตรง
และปลายคมสํ า หรั บ เจาะ แบนข า ง
สําหรับจับปลา โคงหรือแอนสําหรับ
หากินสัตวน้ําในโคลน เปนตน รูปรางของปากที่สําคัญ มีดังนี้



                                                                                          ปากแบน
                                               ปากไขว                     ปากตรง

      ปากชอน

                                                              ปากโคง
                                                                                                        ปากขอ
                                               ปากทู



                                                                 ปากแอน
    ปากงอ
                                              ปากมีโหนกแข็ง                                           ปากกรวย


                                                           ปากแบนขาง

                                             ปากมีกะบัง
               ปากเจาะ                                                                    ปากแหลมคม
                                              รูปรางปากของนก
                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        14


หัว (head)
        หัวของนกมีทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ โดยทั่วไปตาจะอยูดานขางของหัว มีนก
บางชนิดเทานั้นที่ตาจะอยูดานหนา เชน นกแสกและนกเคาตางๆ
                         
คอ (neck)
       คอของนกเปนรูปทรงกระบอก นกบางชนิดมีคอสั้นมาก บางชนิดมีคอยาวสําหรับหากินในน้ํา
หรือชายน้ําโดยเฉพาะ เชน นกยาง นกกระสา นกกระเรียน เปนตน
ลําตัว (truck)
            ลําตัวของนกโดยทั่วไปเปนรูปไข คือมีสวนหนาใหญแลวเรียวไปทางทายเล็กนอย ทั่วรางกาย
ของนกมีขนนกปกคลุม นกบางชนิดโดยเฉพาะนกน้ํา บริเวณอกหรือโคนหางมีขนที่สามารถสรางผง
ขี้ผึ้งเพื่อใชในการแตงขน ผิวหนังของนกทุกชนิดไมมีตอมเหงื่อ และตอมน้ํามัน อยางในสัตวเลี้ยงลูก
ดวยนม แตนกหลายชนิดมีตอมขนาดใหญบริเวณตะโพกหรือโคนหางดานบน ทําหนาที่สกัดน้ํามัน
ออกมาใชตกแตงขน
ปก (wings)
        ปกของนกมีไวสําหรับบิน ในนกบางชนิดจะมีสีเดนแวววาว
หาง (tail)
       หางของนกจะเปนสวนทีชวยควบคุมทิศทางในการบิน ในนกบางชนิดจะมีสีสันเดนสะดุดตา
                           ่
ขนหางอาจจะสั้นมากหรือยาวมากแลวแตชนิดนกและมักมีเปนจํานวนคูโดยแบงเปนสองขางเทาๆ กัน
ขนหางแตละเสนอาจมีความยาวเทากันหรือไมเทากันทุกเสน ทําใหเกิดรูปแบบหางตางๆ ดังนี้




                                              รูปรางหางของนก


                                              อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                            15


ขา (leg)
        ขานกเปนสวนสําคัญในการแสดงใหเห็นความเปนอยูของนกและชนิดอาหารของนกได
                                                     
เชนเดียวกับปาก โดยมีลักษณะตางกันไปตามประโยชนการใชสอย เชน เดิน เกาะ จับเหยื่อ วายน้ํา
ลุยโคลน เปนตน




    ตีนพัดเต็ม                       ตีนพัด                     ตีนพัดกึ่ง                            ตีนกลีบ

                                ลักษณะเทาของนกที่หากินตามแหลงน้ํา




         กอนที่เราจะออกไปดูนกในธรรมชาตินั้น ควรเตรียมตัวและเตรียมอุปกรณใหพรอม การศึกษา
ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ ทั้งสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศ ชวยใหสามารถเตรียมอุปกรณได
อยางเหมาะสม การแตงกายควรแตงกายใหรัดกุมและสีกลมกลืนกับสภาพแวดลอม อุปกรณหลักที่ใช
ในการดูนก ไดแก กลองสองทางไกล คูมือดูนก สมุดบันทึก และปากกาหรือดินสอสําหรับจดบันทึก
ซึ่งควรหาเปหรือกระเปาสะพาย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการพกพาอุปกรณตางๆ ทําใหคลองตัวใน
การดูนกมากยิ่งขึ้น เราควรดูนกในเวลาเชาหรือเย็น โดยเวลาเชาเปนชวงเวลาที่ดีที่สุดสําหรับการดูนก
เนื่ องจากนกส ว นใหญ อ อกหากิ น ตั้ ง แต เ ช ามื ด จนสายจึ ง หลบพั ก ผอ น ช ว งเวลานี้ น กจึ งค อ นข า ง
กระฉับกระเฉง ไมหลบซอนตัว ทําใหพบเห็นนกไดไมยาก และอากาศเย็นสบาย ชวยใหดูนกไดอยาง
เพลิดเพลิน

ขอควรปฏิบัติ
         1. ควรดูนกเปนกลุมเล็ก และควรชักชวนผูมีประสบการณและเชี่ยวชาญเรื่องนกไปดวย
            เพราะจะชวยเราจําแนกชนิดนกและอธิบายรายละเอียดตางๆ เปนการเสริมสรางความรู
            เพิ่มมากขึ้น
         2. ขณะดูนก ควรเคลื่อนไหวอยางระมัดระวังและไมควรสงเสียงดัง เพราะนกมักตกใจงาย
            และไมยอมปรากฏตัวใหดู



                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        16


         3. พยายามสํารวจดูและฟงเสียงนกรอบๆ ตัว ใชกลองสองทางไกล สองหานกตั้งแตบน
            พื้น ดิ น ในกอหญ า ตามพุ ม ไม และบนต น ไม ใ หญ ตั้ง แต ร ะดับ โคนต น จนถึ งเรือ นยอด
            รวมทั้งบนทองฟา เพราะนกแตละชนิดอาศัยอยูในสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน
         4. หลังจากพบนกแลว ควรสองกลองดูนิ่งๆ พยามสังเกตจดจํารายละเอียดตางๆ ของนกให
            มากที่สุด เชน สีสัน ลักษณะหัว ปาก หลัง ทอง ฯลฯ รวมทั้งพฤติกรรมนกที่แสดงออก
            ขนาดและรูปราง ใหสังเกตนกที่พบวามีขนาดเทาใด โดยเปรียบเทียบกับนกที่รูจักกัน
                                 ดี เชน นกกระจอกบาน เพื่อประมาณขนาดของนกที่พบอยางคราวๆ
                                 นอกจากนี้ควรสังเกตลักษณะลําตัว ปาก ปกและหางของนก เพื่อใช
                                 ในการจําแนกชนิดของนกอีกดวย
            สีและลวดลาย          สังเกตสีขนปกคลุมลําตัวและลวดลายที่เปนลักษณะเดน เชน คิ้วหรือ
                                 แถบเหนือตา แถบบนกระหมอมหรือแถบหนาผาก วงแหวนรอบตา
                                 สั ง เกตขี ด จุ ด หรื อ ลายบริ เ วณลํ า ตั ว ด า นบน แถบบนป ก ซึ่ ง อาจ
                                 สังเกตไดขณะบิน ความแตกตางของสีปกและสีบนหลัง สีบริเวณ
                                 สะโพก แถบหาง สีของปลายหาง ในบริเวณสวนลางลําตัว ใหสังเกต
                                 สีทอง แถบหรือลายขีดบนอก สีของขา
            พฤติกรรม             นกแต ล ะชนิ ด มี ท า ทางการแสดงออกและพฤติ ก รรมแตกต า งกั น
                                 สังเกตจากทาเกาะพัก นกเกาะในทาตรงตั้งฉากหรือขนานกับกิ่งไม
                                 เมื่ อ เกาะพั ก นกเกาะนิ่ ง หรื อ ขยั บ ตั ว ไปมา ชอบแกว ง หางหรื อ ไม
                                 สังเกตการไตตนไม วาตัวตั้งตรงหรือไตหัวลง การบินลงเปนลอน
                                 คลื่นหรือบินตรงไป ชอบบินรอนหรือโบกกระพือปกไปมา นอกจากนี้
                                 เสียงรองของนกก็สามารถบอกชนิดของนกได แมวาจะไมเห็นตัวก็ตาม
            จากนั้นคอยๆ เปดคูมือดูวานกที่พบเปนนกชนิดใด แลวจดรายละเอียดที่เห็นลงในสมุดบันทึก




                                               อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         17




     อุปกรณ
               กลองสองทางไกล
               คูมือดูนก หรือ คูมือหาชื่อนกในอุทยานธรรมชาติวิทยา ตามพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี:
               ลุมน้ําหวยผาก
               สมุดบันทึก หรือแบบบันทึก (ในที่นี้ใชแบบบันทึก)
               ปากกาหรือดินสอ
               แผนที่ของสถานที่ที่ดูนก (ถามี)

     วิธีการ
          1. เตรียมอุปกรณตางๆ และเตรียมตัวใหพรอม
          2. ดูนกตามเสนทางหรือบริเวณโดยรอบ เมื่อพบนกแลวทําการจําแนกจนทราบชนิดนกแลวใหทํา
             การบันทึกลงในแบบบันทึก โดยระบุเลขหนาของแผนบันทึกเพื่องายตอการจัดเรียงเอกสาร
             สําหรับแผนแรก (หนาที่ 1) ใหเขียนชื่อ-สกุลของผูดูนก หรือเขียนชื่อกลุม วันเดือนปททําการ
                                                                                                   ี่
             ดูนก สถานที่ทดูนก และระบุชวงเวลาที่ดูนก
                               ี่
          3. นกที่พบตัวแรกใหเขียนเลข 1 ในชองชนิดที่ เมื่อรูชอชนิดนกที่พบใหเขียนลงในชองชือนกที่พบ
                                                               ื่                              ่
          4. จากนั้นบันทึกขอมูลตางๆ ลงในชองขอสังเกตบางประการขณะดูนกใหทําเครื่องหมายลงใน
             ตามการสังเกตพบ สําหรับขอ 2 ลักษณะที่พบใหระบุรายละเอียดเพิ่มเติมดวย เชน การบิน บิน
             เหนือยอดไม บินตรงหรือซิกแซ็กใกลพื้นดินหรือพื้นน้ํา บินรอนและวนในระดับสูง บินผาดโผน
             หรือบินโฉบจับแมลง การเกาะ เกาะตามลําตนหรือกิงไมใหญ เกาะตามไมพุม ไมพนลาง
                                                                   ่                             ื้
             ขอนไม ตอไม การเดิน เดินตามพื้นดินหรือพืชลอยน้ํา เปนตน และทําการบันทึกขอมูลใน
             บริเวณที่เวนไวให (......) เกี่ยวกับขนาดและลักษณะสีเดน เชน ขนาดเล็กมาก เล็ก กลาง ใหญ
             ใหญมาก ลักษณะสีเดน เชน มีวงแหวนสีขวารอบตา ขาสีเหลือง แกมสีแดง
          5. ขีด I จํานวน 1 ขีด ลงในชองจํานวน โดยสามารถบันทึกขอมูลอื่นๆ ที่ตองการเกี่ยวกับนกชนิด
             นั้นๆ เชน วาดภาพลักษณะเดนของนก ไดแก เทาหรือปาก หรือบันทึกลักษณะเฉพาะคือ
             ลักษณะที่ไมมีในนกชนิดอืนหรือกลุมอืน เมื่อมองเห็นสามารถบอกไดทนทีวาเปนนกอะไร เชน
                                           ่          ่                          ั
             หงอนขนงอกยาวจากหัวหรือทายทอย เปนตน ลงในชองบันทึกเพิ่มเติม
          6. หากนกที่พบตัวถัดไปเปนนกชนิดเดิม ให ขีด I จํานวน 1 ขีด ลงในชองจํานวน แตถาเปนนก
             ชนิดใหมก็ใหบนทึกดวยวิธีการเดิม หากเปนนกที่เคยพบแลวก็ใหกลับไปทําเครื่องหมาย I ลงใน
                             ั
             ชองจํานวนของนกชนิดนั้นๆ โดย 1 ขีดแทนนก 1 ตัว
          7. เมื่อเสร็จสิ้นการดูนกใหรวมจํานวนนกของแตละชนิดที่พบ ลงบน ............. ทายชองจํานวน
          8. ในกรณีที่มีแผนที่ใหเขียนหมายเลขชนิดที่ของนกที่พบลงบนจุดที่พบในแผนที่ดวย




                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                                                                                                                                      18


                                                                                                                                                                                                                หนาที่ 1


      ชื่อ-สกุล / กลุม ................................................................วัน เดือน ป ................................สถานที่.........................................................เวลา....................
                     
  ชนิดที่           ชื่อนกที่พบ                                        ขอสังเกตบางประการขณะดูนก                                           จํานวนที่พบ (ตัว)                           บันทึกเพิ่มเติม
                                           1. บริเวณที่พบ
                                               แหลงน้ํา            ทุงหญาและปาละเมาะ                   สวน     ปาโปรง / ปาไผ
                                               ปาทึบ              อื่นๆ .........................
                                           2. ลักษณะที่พบ
                                              บิน......... เกาะที่...........                 เดินที่...........   อื่นๆ ...............
                                           3. ขนาด......................................................
                                           4. ลักษณะสีเดน...........................................                                      รวม.................ตัว
                                           1. บริเวณที่พบ
                                               แหลงน้ํา            ทุงหญาและปาละเมาะ                   สวน     ปาโปรง / ปาไผ
                                               ปาทึบ              อื่นๆ .........................
                                           2. ลักษณะที่พบ
                                              บิน......... เกาะที่...........                 เดินที่...........   อื่นๆ ...............
                                           3. ขนาด......................................................
                                           4. ลักษณะสีเดน...........................................                                      รวม.................ตัว




                                                                                                                                                        อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                                                                                                                                      19


                                                                                                                                                                                                    หนาที่ ...............


      ชื่อ-สกุล / กลุม ................................................................วัน เดือน ป ................................สถานที่.........................................................เวลา....................
                     
  ชนิดที่           ชื่อนกที่พบ                                        ขอสังเกตบางประการขณะดูนก                                           จํานวนที่พบ (ตัว)                           บันทึกเพิ่มเติม
                                           1. บริเวณที่พบ
                                               แหลงน้ํา            ทุงหญาและปาละเมาะ                   สวน     ปาโปรง / ปาไผ
                                               ปาทึบ              อื่นๆ .........................
                                           2. ลักษณะที่พบ
                                              บิน......... เกาะที่...........                 เดินที่...........   อื่นๆ ...............
                                           3. ขนาด......................................................
                                           4. ลักษณะสีเดน...........................................                                      รวม.................ตัว
                                           1. บริเวณที่พบ
                                               แหลงน้ํา            ทุงหญาและปาละเมาะ                   สวน     ปาโปรง / ปาไผ
                                               ปาทึบ              อื่นๆ .........................
                                           2. ลักษณะที่พบ
                                              บิน......... เกาะที่...........                 เดินที่...........   อื่นๆ ...............
                                           3. ขนาด......................................................
                                           4. ลักษณะสีเดน...........................................                                      รวม.................ตัว




                                                                                                                                                        อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                                20

หนวยยอยที่ 2.3 แมลงและสิ่งมีชีวตในน้า
                                     ิ      ํ
จุดประสงค
         1. เพื่อฝกการจําแนกชนิดแมลงและสิ่งมีชีวิตในน้ํา
         2. เพื่อศึกษาคณภาพน้ําดวยวิธีการงายๆ
                           ุ
         2. เพื่อฝกทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร
         3. เพื่อฝกทักษะการทํางานรวมกันเปนกลุม
เนื้อหา
         การประเมินคุณภาพน้ําอยางงาย ทําไดโดยการสังเกตและเก็บขอมูลของแหลงน้ํา ไดแก อุณหภูมิ
ความขุนใสของน้ํา และการปรากฏของสิ่งมีชีวิตในน้ํา
กิจกรรมการเรียนรู
         1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน
                   นํ า ภ า พแม ลงและสิ่ ง มี ชีวิ ต ในน้ํ า มาใ ห ท า ยว าคื อตั ว อะไร พร อ มกั บ แ นะนํา ชื่อ และ
อธิบายลักษณะสําคัญ และถิ่นที่อาศัยของสัตวชนิดนั้น พรอมกับใหบันทึกลงในใบงาน
          2. ขั้นดําเนินการ
                   2.1 อภิปราย เกี่ยวกับ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในน้ํากับคุณภาพน้ํา
                   2.2 อธิบายขั้นตอนการสํารวจคุณภาพน้ํา ดวยใบความรู และแบบบันทึก
         3. ขั้นสรุป
                   กลาวสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในน้ํากับคุณภาพน้ํา
สื่อการเรียนรู
         1. ภาพแมลงและสิ่งมีชีวิตในน้ํา
         2. ใบงาน เรื่อง แมลงและสิงมีชีวิตในน้ํา
                                       ่
         3. ปากกาหรือดินสอ
         4. ใบความรู เรื่อง คุณภาพน้ํา
         5. ใบความรู เรื่อง การสํารวจคุณภาพน้ํา
         6. แบบบันทึกการสํารวจคุณภาพน้ํา
         7. อุปกรณสํารวจคุณภาพน้ํา
การประเมินผล
         1. ตรวจผลงานจากสมุดงาน แบบบันทึกตางๆ
         2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ และความรวมมือในการทํางาน




                                                    อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         21




        รูปรางหนาตา                      ชื่อ                   ลักษณะสําคัญ                บริเวณที่พบ




                                                  อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                            22




          รูปรางหนาตา                       ชื่อ                     ลักษณะสําคัญ               บริเวณที่พบ




                                                     อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                          23



        รูปรางหนาตา                     ชื่อ                    ลักษณะสําคัญ                บริเวณที่พบ




                                                 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         24


       รูปรางหนาตา                     ชื่อ                    ลักษณะสําคัญ                บริเวณที่พบ




                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         25



       รูปรางหนาตา                      ชื่อ                    ลักษณะสําคัญ                บริเวณที่พบ




                                                 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                         26



            รูปรางหนาตา                        ชื่อ               ลักษณะสําคัญ             บริเวณที่พบ




                                                 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        27



            รูปรางหนาตา                        ชื่อ               ลักษณะสําคัญ             บริเวณที่พบ




                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        28




             รูปรางหนาตา                             ชื่อ           ลักษณะสําคัญ            บริเวณที่พบ




                                               อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                             29



         รูปรางหนาตา                      ชื่อ                    ลักษณะสําคัญ               บริเวณที่พบ




                                                   อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                                      30




          คุณภาพน้ํา หมายถึง ความสะอาด ความสกปรกของน้ํา สําหรับชีวิตในน้ํา ผูตองดื่มน้ําและหายใจ
เอาออกซิเจนเชนเดียวกับชีวิตอื่นๆ คุณภาพน้ําหมายถึงทั้งคุณภาพของน้ําที่รางกายมันใช และคุณภาพของ
บรรยากาศรอบตัว ไมวาจะเปนปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํา ความขุนใสของน้ํา แรธาตุและสสารที่
เจือปนในน้ํา ตลอดจนความเปนกรดดางของน้ํา

เราสามารถสังเกตคุณภาพน้ําอยางงายๆ ไดจาก
อุณหภูมิ
น้ํายิ่งรอน ออกซิเจนยิ่งละลายไดนอย สัตวจึงหลบพักในน้ําเย็นใตรมเงาตนไมไดสบายกวาผืนน้ํากลางแดด
รอนและถามีการปลอยน้ํารอนลงน้ํา เชน น้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ออกซิเจนในน้ําจะลดลง
ความขุนใส
แสงแดดจะสามารถสองลงสูใตน้ําไดลึกหรือตื้นเพียงใดขึ้นอยูกับความขุนใสของน้ํา ซึ่งสงผลโดยตรงตอ
ชีวิตพืชและสัตวตามพื้นใตน้ํา เนื่องจากพืชบนพื้นใตน้ําตองการแสงแดดปรุงอาหารและคายออกซิเจน
ออกมาสูน้ําบริเวณนี้อันเปนประโยชนตอสัตวน้ําซึ่งอาศัยอยูตามพื้นใตน้ํา ถาน้ําขุน แสงก็จะสองลงไปใต
น้ํ า น อ ยลง ก็ จ ะส ง ผลต อ ปริ ม าณออกซิ เ จนในน้ํ า ด ว ย น้ํ า จะขุ น ใสแค ไ หนนั้ น ขึ้ น อยู กั บ ปริ ม าณสาร
แขวนลอยในน้ํา เชน ตะกอนดิน และแพลงกตอน สาหราย ตะกอนดินนอกจากจะทําใหน้ําขุนแลว ยังไป
อุดรูซอกหลืบตามพื้นน้ําที่สัตวชอบอาศัยอยูดวย
สิ่งมีชีวตในน้ํา
            ิ
สัตวน้ําตองการออกซิเจนหายใจเชนเดียวกับสัตวบก และในน้ําก็มีออกซิเจนละลายอยูแตนอยกวาใน
อากาศหลายเทา สัตวสวนมากชอบอยูในน้ําสะอาด มีออกซิเจนสูง แตหลายชนิดสามารถปรับตัวใหอยูใน
ที่ที่มีออกซิเจนนอยได และบางชนิดก็ทนอยูไดในที่ที่เกือบไมมีออกซิเจนเลย ฉะนั้น ถาเกิดมลภาวะทําให
ออกซิเจนในน้ําลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะอยูไมได ในขณะที่สัตวที่ทนอยูไดในภาวะออกซิเจน
ต่ํากวาจะสามารถอยูไดดี จึงประเมินระดับมลภาวะในลําน้ําไดจากการสังเกตประเภทสัตวน้ํา ซึ่งสัตวที่ใช
วั ดระดั บ มลภาวะ เรี ย กว า “สั ต ว ตั ว บ ง ชี้ ” กล า วคื อ ถ า สั ต ว ช นิ ด นี้ ปรากฎตั ว ที่ ไ หน บอกได ว า
สภาพแวดลอมที่นั่นเปนอยางไร โดยสัตวน้ําที่สํารวจเปนสัตวน้ําตัวเล็กๆ ไดแก แมลงน้ําและสัตวไมมี
กระดูกสันหลังอื่นๆ พวกมันมักเกาะหากินอยูตามพื้นใตน้ําเฉพาะที่ ไมคอยวายยายถิ่นไปไกลๆ อยางปลา
นอกจากสัตวน้ําแลว สาหรายหรือตะไครน้ํายังบอกไดคราวๆ ถึงปุยและสารอินทรียที่ถูกปลอยลงสูลําน้ํา



                                                   อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        31




ขอควรระวัง !
                                         อยาไปในที่ที่นาลึกเกินเขา
                                                        ้ํ
                                         อยาไปไกลจนมองไมเห็น
                                        อยาเลนกันขณะปฏิบัตงาน ิ
          เมื่อบันทึกขอมูลเรียบรอยแลวอยาลืมปลอยสัตว นํากอนหิน และเทน้ําที่ตักมาคืนลําน้ํา
                                 อยาลืมเก็บอุปกรณตางๆ ที่ใชใหเรียบรอย


อุปกรณ
          ขวดพลาสติกใสกนแบนขนาดประมาณ 1 ลิตร ตัดปากขวดออก
          แผนวัดความขุนใส
                        
          เทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิ
          แวนขยาย
          กระชอน
          ถาดหรือกะละมัง
          ถวยน้ําจิ้ม
          ชอน
          แบบบันทึก

วิธีการ
   ในแตละจุดทีทําการศึกษา ใหดําเนินการดังนี้
                ่
   1. ตักน้ําจากลําธารใสขวดพลาสติกจนเต็มขวด จุมเทอรโมมิเตอรลงไปแตอยาใหติดกนขวด
      ประมาณ 20 วินาที บันทึกอุณหภูมิน้ํา ควรวัดหลายครั้งเพื่อหาคาเฉลี่ย โดยตักน้ําใหมขึ้นมาเพื่อ
      ทําการวัด แตอยาตักน้ําในจุดเดียวกับที่เทน้ําคืนลําธาร
   2. วางแผนวัดความขุนใสไวทกนขวดพลาสติกดานใน ตักน้ําจากลําธารใสขวดพลาสติกจนเต็มขวด
                                  ี่
      วางขวดไวเฉยๆ ในรมเงา รอใหน้ํานิ่งเมื่อน้านิ่งกมดูจากปากขวด และบันทึกหมายเลขสีจางที่สุด
                                                   ํ
      ที่มองเห็นบนแผนวัดความขุนใส   
   3. ตักน้ําจากลําน้าใสถาดหรือกะละมังวางไวที่รมริมฝงน้ํา
                     ํ


                                             อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                              32

     4. วางกระชอนขวางกระแสน้ํา ใชเทาคุยพืนน้าใหฟุงขึ้นมาหนากระชอน 2-3 ครั้ง เพื่อใหสัตวที่
                                            ้ ํ
        ซอนตัวอยูไหลเขามาในกระชอนพรอมเศษตะกอน




     5. จากนั้นนํามาถายลงในถาดหรือกะละมังที่ตกน้ํารอไว
                                            ั




     6. รอใหน้ําในถาดหรือกะละมังนิ่งตกตะกอน
     7. ตักน้ําใสถวยน้ําจิ้มหลายๆ อัน วางไวขางถาดหรือกะละมัง
     8. สังเกตดูวาในถาดหรือกะละมังมีตัวอะไรเคลื่อนไหว ใชชอนคอยๆ ตักตัวสัตวขึ้นมาใสถวยน้ําจิ้ม




     9. ใชแวนขยายสองสัตวในถวยน้ําจิ้มเพื่อสังเกตรายละเอียดสําคัญ จําแนกดวย คูมือหาชือสัตวเล็ก
                                                                                           ่
        น้ําจืด




     10. บันทึกเฉพาะ สัตวที่เปนตัวบงชี้ ลงในแบบบันทึก เชน พบตัวออนแมลงเกาะหิน ซึ่งจัดเปนสัตว
         อยูในกลุม B ในจุดที่ 7 ที่สํารวจ ใหทําเครืองหมาย X ลงในชองที่ 7 ของแมลงกลุม B
                                                      ่


                                               อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                            33

“ในจุดศึกษาเดียวกัน หากพบสัตวตัวบงชีกลุมเดียวกันหลายตัว ใหทําเครื่องหมาย X เพียงครั้งเดียว”
                                      ้
                                                                                 1
                                                                                 2
    กลุม B       ตัวออนแมลงเกาะหิน                                             3
                                                                                 4
                                                                                 5
                                                                                 6
                                                                                 7
                                                                                 8
                                                                                 9
                                                                                 10
“นับเฉพาะสัตวเปน อยานับซากสัตวที่ตายแลว”

     เมื่อสํารวจสัตวเล็กน้ําจืดครบทุกจุดศึกษา ใหนับจํานวน X ทั้งหมดของแตละกลุมแลวทําเครื่องหมาย
X ลงในชองของตารางสรุป ตามจํานวนทีนับไดใน ่
กลุมนั้นๆ (จํานวนเครื่องหมายในแตละกลุมจะ
เทากับจํานวนจุดศึกษาที่พบ) ซึ่งแบงออกเปน 4
หมวดใหญๆ คือ
I         พวกทีตองการน้ําสะอาดมาก
                ่
II        พวกทีตองการน้ําสะอาด
                  ่
III พวกที่ทนน้ําสกปรกไดบาง
IV พวกที่ทนน้ําสกปรกไดดี
     จากนั้นพิจารณาดูโดยรวมวาสายน้ําในชวงที่
สํารวจ มีสัตวหมวดใดโดดเดนที่สุด ซึ่งสามารถบง
บอกถึงคุณภาพน้ําในชวงนันไดดวย สามารถ
                              ้    
เปรียบเทียบจากเกณฑตอไปนี้




                                             อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        34




..กราฟพิสดาร ! ..
        บางครั้งอาจพบวา กราฟมีลกษณะแตกตางจาก
                                   ั
กราฟตัวอยางขางตน เปนตนวา สัตวหลายหมวด มีความ
โดดเดนคละกันไป แบบนี้
        สาเหตุอาจเกิดจาก การเก็บตัวอยางไมถูกวิธี
จําแนกสัตวผดพลาด ลําน้ําไมเหมาะตอการดํารงชีวิตของ
             ิ
สัตวบางกลุม เปนตน



                                                 อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน”                                                        35



ภายหลังจากการสํารวจสายน้ํา และประมวลผลขอมูลครบทุกขั้นตอนแลว ใหประเมินดูวาจากขอมูลที่สํารวจ
                                                                                   
มาทั้งหมดนั้น ลําน้ําในชวงที่สํารวจนั้นมีคุณภาพน้ําเปนอยางไร พรอมทั้งบอกเหตุผล


สัญลักษณในการประเมินคุณภาพน้ํา


  ดีมาก                     ดี                 พอใชได                ไมดี               แยมาก




                                                อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น
สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น

More Related Content

What's hot

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
aonzaza123
 
presentation
presentationpresentation
presentationbuddee
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
Araya Toonton
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
yah2527
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะDental Faculty,Phayao University.
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
UNDP
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)maneerat
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
UNDP
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
Narong Jaiharn
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศkrupornpana55
 
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดกำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดPisan Chueachatchai
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศkrupornpana55
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
soonthon100
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
 

What's hot (19)

ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติ
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
ทรัพยากรธรรมชาติ (Natural resource)
 
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรีอ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
 
stafadmin
stafadminstafadmin
stafadmin
 
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะสุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
สุนทรียปรัศนีที่ ห้วยเฮี๊ยะ
 
METT book
METT bookMETT book
METT book
 
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
ศูนย์วิจัยพรรณไม้หายากภาคใต้ 2553 07-28 (ตรวจครั้งที่2)
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
กฎหมายนโยบายทรัพยากรธรรมชาติ ภาค 1 ป 2557
 
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศคาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
คาบที่ 1 หน่วยบูรณาการระบบนิเวศ
 
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
 
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุดกำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
กำหนดการ สมัชชา ล่าสุด
 
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศหน่วย 1 ระบบนิเวศ
หน่วย 1 ระบบนิเวศ
 
Bioosm
BioosmBioosm
Bioosm
 
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริเทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
เทคโนโลยีการสื่อสารตามแนวพระราชดำริ
 
Raitaiprachakom
RaitaiprachakomRaitaiprachakom
Raitaiprachakom
 
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง  (จริง)
โครงงาน อนุรักษ์หนองน้ำสร้าง (จริง)
 
Sicience project
Sicience projectSicience project
Sicience project
 

Viewers also liked

คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
Sompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
Sompop Petkleang
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
Sompop Petkleang
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
Sompop Petkleang
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่า
Sompop Petkleang
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
Sompop Petkleang
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์สำเร็จ นางสีคุณ
 
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
Sompop Petkleang
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
Kruthai Kidsdee
 

Viewers also liked (9)

คู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aecคู่มือโลจิสติก Aec
คู่มือโลจิสติก Aec
 
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริคู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
คู่มือจัดกิจกรรมอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ตามพระราชดำริ
 
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
การจัดกิจกรรมอนุรักษ์ป่าไม้
 
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจคู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
คู่มือเป็นเจ้าของธุรกิจ
 
ประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่าประวัติศาสตร์พม่า
ประวัติศาสตร์พม่า
 
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่าคู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
คู่มือการค้าการลงทุนในพม่า
 
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
แบบสอบถาม ใช้คอมแบบไม่พึงประสงค์
 
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศคู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
คู่มือจัดการประชุมระหว่างประเทศ
 
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
แบบสอบถาม โครงการบันทึกรักการอ่าน2013
 

Similar to สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น

โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
Taweesak Poochai
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
Wichai Likitponrak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔srkschool
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6supphawan
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3juejan boonsom
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์srkschool
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
Kay Pakham
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
aj_moo
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Somyot Ongkhluap
 
T01
T01T01
T01
bth04
 

Similar to สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น (20)

โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหารายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
รายงานนวัตกรรมการจัดกิจกรรมด้านการแสวงหาความรู้เพื่อการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่องสิ่งแวดล้อมกับสิ่งมีชีวิต
 
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
แผนการจัดการเรียนรู้หน่วยที่ ๔
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
โครงสร้างสาระวิทย์ป.6
 
แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3แผ่นใสหน่วยที่ 3
แผ่นใสหน่วยที่ 3
 
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์การออกแบบ  หน่วยที่  ๔ วิทย์
การออกแบบ หน่วยที่ ๔ วิทย์
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ป.4
ป.4ป.4
ป.4
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
ป.5
ป.5ป.5
ป.5
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
6บทที่2
6บทที่2 6บทที่2
6บทที่2
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11ส่วนที่ 1   ข้อมูลพื้นฐาน 11
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐาน 11
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
T01
T01T01
T01
 

More from Sompop Petkleang

คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
Sompop Petkleang
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
Sompop Petkleang
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
Sompop Petkleang
 
AEC Blue Print
AEC Blue PrintAEC Blue Print
AEC Blue Print
Sompop Petkleang
 
Flood r7 sainoi
Flood r7 sainoiFlood r7 sainoi
Flood r7 sainoi
Sompop Petkleang
 
Flood r6 bangyai
Flood r6 bangyaiFlood r6 bangyai
Flood r6 bangyai
Sompop Petkleang
 
Flood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroiFlood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroi
Sompop Petkleang
 
Flood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathongFlood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathong
Sompop Petkleang
 
Flood r3 paked
Flood r3 pakedFlood r3 paked
Flood r3 paked
Sompop Petkleang
 
Flood r2 nont
Flood r2 nontFlood r2 nont
Flood r2 nont
Sompop Petkleang
 
Flood r1
Flood r1Flood r1
Flood management
Flood managementFlood management
Flood management
Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
Sompop Petkleang
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
Sompop Petkleang
 
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
Sompop Petkleang
 

More from Sompop Petkleang (15)

คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่าคู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
คู่มืออบรมอาสาสมัครดับไฟป่า เรื่องความปลอดภัยในการป้องกันและควบคุมไฟป่า
 
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสานเอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
เอกสารประกอบการอบรม เรื่อง การปลูกกล้วยน้ำว้าผสมผสาน
 
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
คู่มือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
 
AEC Blue Print
AEC Blue PrintAEC Blue Print
AEC Blue Print
 
Flood r7 sainoi
Flood r7 sainoiFlood r7 sainoi
Flood r7 sainoi
 
Flood r6 bangyai
Flood r6 bangyaiFlood r6 bangyai
Flood r6 bangyai
 
Flood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroiFlood r5 bangkroi
Flood r5 bangkroi
 
Flood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathongFlood r4 bangbuathong
Flood r4 bangbuathong
 
Flood r3 paked
Flood r3 pakedFlood r3 paked
Flood r3 paked
 
Flood r2 nont
Flood r2 nontFlood r2 nont
Flood r2 nont
 
Flood r1
Flood r1Flood r1
Flood r1
 
Flood management
Flood managementFlood management
Flood management
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
การเตรียมดินส่งวิเคราะห์
 
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
ค่ายสิ่งแวดล้อมศึกษา หลักสูตร “เพื่อนสายน้ำ”
 

สิ่งแวดล้อมศึกษาเบื้องต้น

  • 1. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” โดย นายสมภพ เพ็ชรเกลี้ยง และคณะ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนืองมาจากพระราชดําริ ่ อําเภอสวนผึ้ง จังหวัดราชบุรี กันยายน 2547
  • 2. สารบัญ เรื่อง หนา กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา 1 หนวยการเรียนรูที่ 1 การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน 3 หนวยการเรียนรูที่ 2 การศึกษาธรรมชาติในเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ 7 หนวยการเรียนรูที่ 3 ภาวะโลกรอน 51 หนวยการเรียนรูที่ 4 ถุงเพาะชํากาบกลวย 56 กิจกรรมคาย 59 เอกสารอางอิง 62
  • 3. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 1 กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา วันแรก กิจกรรม 08.00-08.30 น. ลงทะเบียน 08.00-09.00 น. ทดสอบความรู 09.00-10.00 น. กิจกรรมสัมพันธ 10.00-10.10 น. อาหารวาง 10.10-12.00 น. หนวยการเรียนรูที่ 1 “การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน” 12.00-13.00 น. อาหารกลางวัน 13.00-14.00 น. หนวยการเรียนรูที่ 1 “การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน” (ตอ) 14.00-14.30 น. หนวยยอยที่ 2.1 “ประโยชนของตนไม” 14.30-14.50 น หนวยยอยที่ 2.3 “แมลงและสิ่งมีชีวิตในน้า” ภาคทฤษฎี ํ 14.50-15.00 น. อาหารวาง 15.00-16.30 น หนวยยอยที่ 2.3 “แมลงและสิ่งมีชีวิตในน้า” ภาคทฤษฎี (ตอ) ํ 16.30-17.00 น กิจกรรมสัมพันธ 17.00-18.00 น. พักผอน กิจสวนตัว 18.00-19.00 น. อาหารเย็น 19.00-20.00 น. หนวยยอยที่ 2.2 “นกกับสิ่งแวดลอม” ภาคทฤษฎี 20.00-22.00 น. หนวยการเรียนรูที่ 3 “ภาวะโลกรอน” 21.00 น. นอน วันที่สอง 06.00-07.30 น. นกกับสิ่งแวดลอม (ดูนกยามเชา) 07.30-08.00 น. พักผอน ทํากิจสวนตัว 08.00-09.00 น. เคารพธงชาติ/อาหารเชา 08.00-10.00 น. ศึกษาอุทยานธรรมชาติวิทยา (ชมนิทรรศการบริเวณศาลาขอมูลธรรมชาติวิทยา) 10.00-10.10 น. อาหารวาง 10.10-12.00 น. หนวยยอยที่ 2.4 ความสัมพันธในระบบนิเวศ 12.00-13.00 น อาหารกลางวัน 13.00-14.50 น. หนวยยอยที่ 2.4 ความสัมพันธในระบบนิเวศ (ตอ) 14.50-15.00 น. อาหารวาง อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 4. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 2 กําหนดการคายสิ่งแวดลอมศึกษา (ตอ) วันที่สอง กิจกรรม 15.00-16.00 น. หนวยการเรียนรูที่ 4 “ถุงเพาะชํากาบกลวย” 16.00-17.00 น. เตรียมนําเสนอแนวคิดเชิงอนุรักษผานละคร 17.00-18.00 น. พักผอน ทํากิจสวนตัว 18.00-19.00 น. อาหารเย็น 19.00-21.00 น. นําเสนอแนวคิดเชิงอนุรักษ (แสดงละคร) 21.00 น. นอน วันที่สาม 06.00-07.30 น. นกกับสิ่งแวดลอม (ดูนกยามเชา) 07.30-08.00 น. พักผอน ทํากิจสวนตัว 08.00-09.00 น. เคารพธงชาติ/อาหารเชา 09.00-09.30 น. ทดสอบความรู แบบสอบถามประเมินโครงการ ปลูกตนไม/บําเพ็ญประโยชน 09.30-10.00 น. ซอมรับประกาศนียบัตร 10.00-10.10 น. อาหารวาง 10.10-10.30 น บรรยายพิเศษ 10.30-12.00 น. มอบรางวัล มอบประกาศนียบัตร พิธีปด ถายรูปหมู 12.00-13.00 น. อาหารกลางวัน 13.00 น. เสร็จสิ้นการอบรม เดินทางกลับ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 5. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 3 หนวยการเรียนรูที่ 1 การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน สาระสําคัญ มนุษยใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม เพื่อการดํารงชีวิตในแตละวัน ซึ่งจากการใชประโยชนของมนุษยไดสงผลกระทบทั้งทางบวกและลบแกทรัพยากรเชนกัน ดังนั้น มนุษยควรใชทรัพยากรอยางคุมคา กอใหเกิดประโยชนสูงสุด และสงผลกระทบในทางลบนอยที่สุด เพื่อรักษาทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน จุดประสงค 1. เพื่อศึกษาขั้นตอนกระบวนการผลิต การดําเนินงานของโครงการฟารมตัวอยางตาม พระราชดําริ สมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ กลุมทํากระดาษสา และกลุมทําผลิตภัณฑ กลวย 2. เพื่อฝกทักษะการคิดวิเคราะห และการสรุปความคิดรวบยอด เนื้อหา 1. การทําการเกษตรแบบผสมผสาน โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นโครงการ ฟารมตัวอยางตามพระราชดําริ สมเด็จพระนางเจาฯพระบรมราชินีนาถ 2. การทํากระดาษสา โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นกลุมทํากระดาษสา 3. การทําผลิตภัณฑแปรรูปกลวย โดยวิทยากรทองถิ่นและแหลงเรียนรูทองถิ่นกลุมทํา ผลิตภัณฑกลวย กิจกรรมการเรียนรู 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน แนะนําการศึกษาดูงานในพื้นที่ ตามประเด็นที่ตองการใหศึกษาโดยเฉพาะ อันไดแก ขั้นตอนการดําเนินงาน วัตถุดบ วัสดุอุปกรณที่ใช ผลผลิตที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตและการจัดการ ิ 2. ขั้นดําเนินการ 2.1 นําผูเขาอบรมไปศึกษาดูงานในพื้นที่ โดยฟงบรรยายจากเจาหนาที่จากฟารม ตัวอย างตามพระราชดําริ สมเด็ จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ วิทยากรท องถิ่ น ของกลุมทํา กระดาษสา และกลุมทําผลิตภัณฑกลวย พรอมทั้งเปดโอกาสใหผูเขาอบรมพูดคุยสอบถามเพิ่มเติม 2.2 ภายหลังจากการศึกษาดูงาน ใหแตละกลุมเขียนผังมโนทัศนจากความรูที่ ไดรับ ตามหัวขอที่ไดรับมอบหมาย อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 6. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 4 2.3 นําเสนอผลงานโดยตัวแทนของแตละกลุม 2.4 อภิปรายเกี่ยวกับแตละกิจกรรมที่เกิดขึ้นตองใชทรัพยากรอะไรบาง และมี ผลผลิตอะไรเกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตบาง นอกจากนี้การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นเปนอยางไร หรือมลภาวะที่อาจเกิดขึ้นมีอะไรบางและสามารถปองกันไดอยางไร 2.5 ระดมความคิดเพื่อยกตัวอยางแนวทางการใชทรัพยากรอยางรูคุณคาในกิจกรรม 3. ขั้นสรุป กลาวสรุปถึงความจําเปนในการใชทรัพยากรเพื่อการดํารงชีวิต เมื่อใชทรัพยากรที่ มากเกินไป จะทําใหทรัพยากรลดลงอยางรวดเร็ว และกอใหเกิดของเสียเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงควรใช ทรัพยากรที่มีอยูอยางคุมคากอใหเกิดประโยชนมากที่สุด สื่อการเรียนรู 1. กระดาษ Flip Chart 2. ปากกาเคมีสีตางๆ 3. บลูแทก / กระดาษกาว 4. ใบงาน เรื่อง การใชประโยชนจากทรัพยากรของชุมชน การประเมินผล 1. ผลงานการเขียนผังมโนทัศน 2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ การแสดงความคิดเห็น การมีสวนรวมในการทํางาน และ นําเสนอผลงาน อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 7. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 5 มนุษยใชประโยชนจากทรัพยากรตางๆ ทั้งทางตรงและทางออม เพื่อการดํารงชีวิตใน แตละวัน ซึ่งจากการใชประโยชนของมนุษยไดสงผลกระทบทั้งทางบวกและลบแกทรัพยากร เชนกัน ดังนั้นมนุษยควรใชทรัพยากรอยางคุมคา กอใหเกิดประโยชนสูงสุด และสงผลกระทบ ในทางลบนอยที่สุด เพื่อรักษาทรัพยากรใหคงอยูอยางยั่งยืน ภาระกิจ 1. ศึกษาดูงาน โครงการฟารมตัวอยางตามพระราชดําริสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ กลุมทํากระดาษสา กลุมทําผลิตภัณฑกลวย โดยทําการบันทึกขอมูลจากการฟงบรรยายจากวิทยากรและจากการพูดคุยสอบถามเพิ่มเติม ลงในแบบบันทึก 2. ภายหลังจากการศึกษาดูงาน ใหแตละกลุมเขียนผังมโนทัศนจากความรูที่ไดรบ ตามหัวขอที่ ั ไดรับมอบหมาย 3. นําเสนอผลงานโดยตัวแทนของแตละกลุม 4. อภิปรายเกี่ยวกับแตละกิจกรรมที่เกิดขึ้นตองใชทรัพยากรอะไรบาง และมีผลผลิตอะไรเกิดขึ้น จากกระบวนการผลิตบาง นอกจากนี้การจัดการของเสียที่เกิดขึ้นเปนอยางไร หรือมลภาวะทีอาจ ่ เกิดขึ้นมีอะไรบางและสามารถปองกันไดอยางไร และระดมความคิดเพื่อยกตัวอยางแนวทางการ ใชทรัพยากรอยางรูคุณคา อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 8. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 6 เรื่อง วัตถุดิบที่ใช ขั้นตอน/วิธการ ี อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 9. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 7 หนวยการเรียนรูที่ 2 การศึกษาธรรมชาติในเสนทางเดินศึกษาธรรมชาติ สาระสําคัญ เสนทางศึกษาธรรมชาติเปนเครื่องมือหนึ่งในการศึกษาธรรมชาติ ที่ใหความรูความเขาใจ ในเรื่ อ งของสภาพธรรมชาติ สิ่ ง แวดล อ ม และเพื่ อ ก อ ให เ กิ ด ความเข า ใจในการอนุ รั ก ษ ทรัพยากรธรรมชาติมากขึ้น หนวยยอยที่ 2.1 ประโยชนของตนไม จุดประสงค 1. เพื่อฝกการเก็บพรรณไมอยางงาย 2. เพื่อฝกการสังเกตและวิเคราะหลักษณะของตนไม 3. เพื่อศึกษาคนควาขอมูลเพิมเติมจากหองสมุดได ่ เนื้อหา ปาไม คือ ชุมชนของตนไม ซึ่งมีประโยชนมากมายตอการดํารงชีวิตของมนุษยทั้งทางตรง และทางออม ไดแก ประโยชนทางตรง คือ การนําไมมาสรางอาคารบานเรือนผลิตภัณฑเครื่องใช ต า งๆ เป น แหล ง อาหารจากส ว นต า งๆ ใช เ ส น ใยที่ ไ ด จ ากเปลื อ ก และเถาวั ล ย ม าถั ก ทอเป น เครื่องนุงหม เชือกและอื่นๆ และทํายารักษาโรค ขณะที่ประโยชนทางออม เชน เปนแหลงตนน้ํา ลําธาร รักษาความชุมชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ เปนแหลงพักผอนและเปนสถานที่ศึกษาหา ความรู ปองกันและบรรเทาความแรงลม และการกัดเซาะและการพังทลายของดิน เปนแหลงที่อยู อาศัยของสัตวปา เปนตน นับไดวาปาไมเปนแหลงทรัพยากรที่สําคัญ จึงควรชวยกันอนุรักษพื้นที่ ปาไมไวเพื่อคงความสมดุลของระบบนิเวศและมีแหลงทรัพยากรไวใชตลอดไป กิจกรรมการเรียนรู 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน ตั้งคําถาม “ทราบไหมวาตนไมแตละตนแตกตางกันอยางไร” และ “รูบางไหมวา ปาไมมีประโยชนอยางไร” 2. ขั้นดําเนินการ 2.1 ใหผูเขาอบรมเก็บใบไมแหงจากตนไมที่ทําการศึกษา พรอมทั้งบันทึกขอมูล ลักษณะตนไมจากการสังเกตคราวๆ และลอกลายเปลือกของตนไมลงในกระดาษวาดเขียนบริเวณ ขอบกระดาษ 2.2 ทําการสอบถามชื่อตนไม แลวคนควาหาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะและประโยชน ของตนไมชนิดนั้น อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 10. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 8 2.3 บัน ทึ ก ข อมู ลที่ ไ ด ล งบนดา นหลั ง ของกระดาษวาดเขี ย นที่ทํ า การลอกลาย เปลือกตนไมชนิดนั้น แลวนําตัวอยางใบไมแหงวางทาบลงบนดานหนากระดาษ โดยไมใหทับลาย เปลือกตนไม จากนั้นปดสติกเกอรใสทับดานบนใบไมเพื่อยึดใบไมติดกับกระดาษวาดเขียน โดย ไมใหมีฟองอากาศ 3. ขั้นสรุป ตั้งคําถาม “ประโยชนของตนไมที่ทําการศึกษามีอะไรบาง” แลวกลาวสรุปถึง ประโยชนของตนไมและการอนุรักษ สื่อการเรียนรู 1. สมุดวาดเขียน หรือ กระดาษวาดเขียน หรือ แบบบันทึก 2. สีเทียน 3. ปากกาหรือดินสอ 4. สติกเกอรใส (ขนาดเทากับกระดาษวาดเขียน) 5. หนังสือในหองสมุด 6. ตนไมที่จะทําการศึกษา 7. ใบงาน เรื่อง ประโยชนของตนไม 8. ใบความรู เรื่อง รูปรางของใบไม การประเมินผล ผลงานในสมุดวาดเขียน หรือกระดาษวาดเขียน หรือ แบบบันทึก อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 11. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 9 ปาไม คือ ชุมชนของตนไม ซึ่งมีประโยชนมากมายตอการดํารงชีวิตของมนุษยทั้งทางตรง และทางออม ไดแก ประโยชนทางตรง คือ การนําไมมาสรางอาคารบานเรือนผลิตภัณฑเครื่องใช ต า งๆ เป น แหล ง อาหารจากส ว นต า งๆ ใช เ ส น ใยที่ ไ ด จ ากเปลื อ ก และเถาวั ล ย ม าถั ก ทอเป น เครื่องนุงหม เชือกและอื่นๆ และทํายารักษาโรค ขณะที่ประโยชนทางออม เชน เปนแหลงตนน้ํา ลําธาร รักษาความชุมชื้น และควบคุมสภาวะอากาศ เปนแหลงพักผอนและเปนสถานที่ศึกษาหา ความรู ปองกันและบรรเทาความแรงลม ปองกันและบรรเทาการกัดเซาะและการพังทลาย ของดิน เปนแหลงที่อยูอาศัยของสัตวปา เปนตน นับไดวาปาไมและตนไมเปนแหลงทรัพยากรขั้น พื้นฐานที่สําคัญมาก ขณะเดียวกันหากเราใชประโยชนจากปาไมกันอยางเกินกําลังของมันแลว ปญหาที่ตามมาไมใชแคความเสื่อมโทรมเทานั้น แตหมายถึงภัยอันตรายที่จะตามมาในไมชา และ ในอนาคตอันใกลนี้อาจมีอีกหลายแหงที่จะตองประสบภัยทางธรรมชาติ ดังนั้นเราทุกคนจึงควร ศึกษาและทําความเขาใจเรื่องเกี่ยวกับการใชไมและปาไมใหมาก เพื่อจะไดชวยกันชวยกันบรรเทา ปญหาที่ จ ะเกิ ด ขึ้ น และร ว มอนุ รัก ษ พื้ น ที่ ปา ไม ใ ห ค งความสมดุ ลของระบบนิเ วศ และมีแ หล ง ทรัพยากรไวใชตลอดไป ภาระกิจ 1. เก็บใบไมจากตนไมที่ทําการศึกษา พรอมทั้งบันทึกขอมูลลักษณะตนไมจากการสังเกต คราวๆ โดยสามารถรูปรางของใบไมไดจากใบความรู และลอกลายเปลือกของตนไมลงในกระดาษ วาดเขียนบริเวณขอบกระดาษดานนอก 2. คนควาหาขอมูลเกี่ยวกับลักษณะและประโยชนของตนไมชนิดนั้น 3. บันทึกขอมูลรูปรางใบและลักษณะเดนอื่นๆ ของตนไม และประโยชน ลงบนดานหลัง ของกระดาษวาดเขียนที่ทําการลอกลายเปลือกตนไมชนิดนั้น แลวนําตัวอยางใบไมแหงวางทาบลง บนดานหนากระดาษ โดยไมใหทับลายเปลือกตนไม จากนั้นปดสติกเกอรใสทับดานบนใบไมเพื่อ ยึดใบไมติดกับกระดาษวาดเขียน โดยไมใหมีฟองอากาศ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 12. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 10 รูปรางใบไม (leaf shape) ใบมีรูปรางแตกตางกัน ดังนี้ รูปลิ่มแคบ (subulate) ใบคอนขางสั้น สอบแคบจากโคนใบไปยังปลายใบ รูปเข็ม (acicular) ใบเล็กแหลมคลายเข็ม รูปแถบ (linear) ใบยาวและแคบ ขอบใบ เกือบจะขนานกัน รูปขอบขนาน (oblong) ใบมีของสองขาง ขนานกัน ความยาวเปน 2 เทาของความกวาง รูปหอก (lanceolate)ใบรูปคลายใบหอก โคน ใบกวางคอยๆ แคบสูปลายใบ รูปหอกกลับ (oblanceolate) ใบรูปคลายใบ หอกกลับ รูปรี (elliptic) ใบมีรูปรางรี สวนกวางที่สุดอยูตรงกลางใบ เมื่อ แบงใบออกเปน 2 สวน จะได 2 ขาง เทาๆ กัน รูปไข (ovate) ใบมีรูปรางคลายไข สวนกวางที่สุดอยูต่ํากวากึ่งกลางใบ รูปไขกลับ (obovate) ใบมี รูปรางคลายไขกลับ รูปสามเหลี่ยม (deltoid) ใบรูปรางคลายสามเหลี่ยม รูปสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด (rhomboid) ใบมีรูปรางคลายสี่เหลี่ยมขาวหลามตัด รูปไต (reniform) ใบมีรูปรางคลายไต รูปวงกลม (orbicular) ใบมีรูปรางคลายวงกลม รูปหัวใจ (cordate) ใบมีรูปรางคลายหัวใจ รูปเคียว (falcate) ใบมีรูปรางคลายเคียวเกี่ยวขาว รูปชอน (spathulate) ใบมีรูปรางคลายชอน อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 13. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 11 (ลายเปลือก) ชื่อ....................................................................... ชื่อวิทยาศาสตร................................................... วงศ..................................................................... ลักษณะ............................................................... ........................................................................... ........................................................................... ประโยชน............................................................ (ตัวอยางพันธุไม)  ........................................................................... ........................................................................... อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 14. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 12 หนวยยอยที่ 2.2 นกกับสิ่งแวดลอม จุดประสงค 1. เพื่อฝกการจําแนกชนิดของนก 2. เพื่อรูจักสังเกตลักษณะและพฤติกรรมของนก 3. เพื่อรูจักการใชคูมือการดูนกและการใชกลองสองทางไกลแบบสองตา เนื้อหา ปริมาณและชนิดของนกที่พบ สามารถแสดงใหเห็นถึงความอุดมสมบูรณของสิ่งแวดลอมบริเวณ นั้น นกมีประโยชนในการชวยสืบพันธุและกระจายพันธุพืช บางชนิดกินแมลงซึ่งเปนการชวยควบคุม ปริมาณแมลง หากนกที่พบมีปริมาณและชนิดลดลงยอมสงผลกระทบตอสมดุลของธรรมชาติ เราจึงควร ชวยกันรักษาแหลงอาหารและถิ่นที่อยูอาศัยของนกเพื่อไมใหนกสูญพันธุ กิจกรรมการเรียนรู 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน แนะนําการดูนกในธรรมชาติ 2. ขั้นดําเนินการ 2.1 ใหจับคูสมาชิกในแตละกลุม เดินตามเสนทางที่กําหนด 2.2 สํารวจและบันทึกขอมูลนกที่พบลงในแบบบันทึก 3. ขั้นสรุป ตั้งคําถาม “นกที่พบมีอะไรบาง นกที่พบแตกตาง จากกลุมอื่น” แลวกลาวสรุปเกี่ยวกับนกกับสิ่งแวดลอม สื่อการเรียนรู 1. ใบความรูในการดูนก 2. แบบบันทึกการสํารวจนก 3. หนังสือคูมือการดูนกของอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ 4. หนังสือสัตวปาในอุทยานธรรมชาติวิทยาฯ 5. กลองสองทางไกลแบบสองตา 6. ดินสอหรือปากกา การประเมินผล 1. ตรวจผลงานในแบบบันทึกการสํารวจนก 2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ และความรวมมือในการทํางาน อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 15. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 13 โดยทั่วไปนกมีรูปรางเรียวไปทางหัวและทายเปนรูปกระสวย แบงเปน 7 สวน คือ ปาก หัว คอ ลําตัว ปก หาง และขา ปาก (bill หรือ beak) ลักษณะภายนอกของนก ป า ก น ก เ ป น โ ค ร ง ส ร า ง ลักษณะคลายกระดูก 2 ชิ้นประกบกัน รูปรางของปากจะสัมพันธกับอุปนิสัย การกิ น อาหารของนก เช น เรี ย ว แหลมสํ า หรั บ กิ น น้ํ า ต อ ย(น้ํ า หวาน ดอกไม) เปนขอสํ าหรับฉี กเนื้อ ตรง และปลายคมสํ า หรั บ เจาะ แบนข า ง สําหรับจับปลา โคงหรือแอนสําหรับ หากินสัตวน้ําในโคลน เปนตน รูปรางของปากที่สําคัญ มีดังนี้ ปากแบน ปากไขว ปากตรง ปากชอน ปากโคง ปากขอ ปากทู ปากแอน ปากงอ ปากมีโหนกแข็ง ปากกรวย ปากแบนขาง ปากมีกะบัง ปากเจาะ ปากแหลมคม รูปรางปากของนก อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 16. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 14 หัว (head) หัวของนกมีทั้งขนาดเล็ก ขนาดกลาง และขนาดใหญ โดยทั่วไปตาจะอยูดานขางของหัว มีนก บางชนิดเทานั้นที่ตาจะอยูดานหนา เชน นกแสกและนกเคาตางๆ  คอ (neck) คอของนกเปนรูปทรงกระบอก นกบางชนิดมีคอสั้นมาก บางชนิดมีคอยาวสําหรับหากินในน้ํา หรือชายน้ําโดยเฉพาะ เชน นกยาง นกกระสา นกกระเรียน เปนตน ลําตัว (truck) ลําตัวของนกโดยทั่วไปเปนรูปไข คือมีสวนหนาใหญแลวเรียวไปทางทายเล็กนอย ทั่วรางกาย ของนกมีขนนกปกคลุม นกบางชนิดโดยเฉพาะนกน้ํา บริเวณอกหรือโคนหางมีขนที่สามารถสรางผง ขี้ผึ้งเพื่อใชในการแตงขน ผิวหนังของนกทุกชนิดไมมีตอมเหงื่อ และตอมน้ํามัน อยางในสัตวเลี้ยงลูก ดวยนม แตนกหลายชนิดมีตอมขนาดใหญบริเวณตะโพกหรือโคนหางดานบน ทําหนาที่สกัดน้ํามัน ออกมาใชตกแตงขน ปก (wings) ปกของนกมีไวสําหรับบิน ในนกบางชนิดจะมีสีเดนแวววาว หาง (tail) หางของนกจะเปนสวนทีชวยควบคุมทิศทางในการบิน ในนกบางชนิดจะมีสีสันเดนสะดุดตา ่ ขนหางอาจจะสั้นมากหรือยาวมากแลวแตชนิดนกและมักมีเปนจํานวนคูโดยแบงเปนสองขางเทาๆ กัน ขนหางแตละเสนอาจมีความยาวเทากันหรือไมเทากันทุกเสน ทําใหเกิดรูปแบบหางตางๆ ดังนี้ รูปรางหางของนก อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 17. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 15 ขา (leg) ขานกเปนสวนสําคัญในการแสดงใหเห็นความเปนอยูของนกและชนิดอาหารของนกได  เชนเดียวกับปาก โดยมีลักษณะตางกันไปตามประโยชนการใชสอย เชน เดิน เกาะ จับเหยื่อ วายน้ํา ลุยโคลน เปนตน ตีนพัดเต็ม ตีนพัด ตีนพัดกึ่ง ตีนกลีบ ลักษณะเทาของนกที่หากินตามแหลงน้ํา กอนที่เราจะออกไปดูนกในธรรมชาตินั้น ควรเตรียมตัวและเตรียมอุปกรณใหพรอม การศึกษา ขอมูลเกี่ยวกับสถานที่ ทั้งสภาพอากาศและลักษณะภูมิประเทศ ชวยใหสามารถเตรียมอุปกรณได อยางเหมาะสม การแตงกายควรแตงกายใหรัดกุมและสีกลมกลืนกับสภาพแวดลอม อุปกรณหลักที่ใช ในการดูนก ไดแก กลองสองทางไกล คูมือดูนก สมุดบันทึก และปากกาหรือดินสอสําหรับจดบันทึก ซึ่งควรหาเปหรือกระเปาสะพาย เพื่อเพิ่มความสะดวกในการพกพาอุปกรณตางๆ ทําใหคลองตัวใน การดูนกมากยิ่งขึ้น เราควรดูนกในเวลาเชาหรือเย็น โดยเวลาเชาเปนชวงเวลาที่ดีที่สุดสําหรับการดูนก เนื่ องจากนกส ว นใหญ อ อกหากิ น ตั้ ง แต เ ช ามื ด จนสายจึ ง หลบพั ก ผอ น ช ว งเวลานี้ น กจึ งค อ นข า ง กระฉับกระเฉง ไมหลบซอนตัว ทําใหพบเห็นนกไดไมยาก และอากาศเย็นสบาย ชวยใหดูนกไดอยาง เพลิดเพลิน ขอควรปฏิบัติ 1. ควรดูนกเปนกลุมเล็ก และควรชักชวนผูมีประสบการณและเชี่ยวชาญเรื่องนกไปดวย เพราะจะชวยเราจําแนกชนิดนกและอธิบายรายละเอียดตางๆ เปนการเสริมสรางความรู เพิ่มมากขึ้น 2. ขณะดูนก ควรเคลื่อนไหวอยางระมัดระวังและไมควรสงเสียงดัง เพราะนกมักตกใจงาย และไมยอมปรากฏตัวใหดู อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 18. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 16 3. พยายามสํารวจดูและฟงเสียงนกรอบๆ ตัว ใชกลองสองทางไกล สองหานกตั้งแตบน พื้น ดิ น ในกอหญ า ตามพุ ม ไม และบนต น ไม ใ หญ ตั้ง แต ร ะดับ โคนต น จนถึ งเรือ นยอด รวมทั้งบนทองฟา เพราะนกแตละชนิดอาศัยอยูในสภาพแวดลอมที่แตกตางกัน 4. หลังจากพบนกแลว ควรสองกลองดูนิ่งๆ พยามสังเกตจดจํารายละเอียดตางๆ ของนกให มากที่สุด เชน สีสัน ลักษณะหัว ปาก หลัง ทอง ฯลฯ รวมทั้งพฤติกรรมนกที่แสดงออก ขนาดและรูปราง ใหสังเกตนกที่พบวามีขนาดเทาใด โดยเปรียบเทียบกับนกที่รูจักกัน ดี เชน นกกระจอกบาน เพื่อประมาณขนาดของนกที่พบอยางคราวๆ นอกจากนี้ควรสังเกตลักษณะลําตัว ปาก ปกและหางของนก เพื่อใช ในการจําแนกชนิดของนกอีกดวย สีและลวดลาย สังเกตสีขนปกคลุมลําตัวและลวดลายที่เปนลักษณะเดน เชน คิ้วหรือ แถบเหนือตา แถบบนกระหมอมหรือแถบหนาผาก วงแหวนรอบตา สั ง เกตขี ด จุ ด หรื อ ลายบริ เ วณลํ า ตั ว ด า นบน แถบบนป ก ซึ่ ง อาจ สังเกตไดขณะบิน ความแตกตางของสีปกและสีบนหลัง สีบริเวณ สะโพก แถบหาง สีของปลายหาง ในบริเวณสวนลางลําตัว ใหสังเกต สีทอง แถบหรือลายขีดบนอก สีของขา พฤติกรรม นกแต ล ะชนิ ด มี ท า ทางการแสดงออกและพฤติ ก รรมแตกต า งกั น สังเกตจากทาเกาะพัก นกเกาะในทาตรงตั้งฉากหรือขนานกับกิ่งไม เมื่ อ เกาะพั ก นกเกาะนิ่ ง หรื อ ขยั บ ตั ว ไปมา ชอบแกว ง หางหรื อ ไม สังเกตการไตตนไม วาตัวตั้งตรงหรือไตหัวลง การบินลงเปนลอน คลื่นหรือบินตรงไป ชอบบินรอนหรือโบกกระพือปกไปมา นอกจากนี้ เสียงรองของนกก็สามารถบอกชนิดของนกได แมวาจะไมเห็นตัวก็ตาม จากนั้นคอยๆ เปดคูมือดูวานกที่พบเปนนกชนิดใด แลวจดรายละเอียดที่เห็นลงในสมุดบันทึก อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 19. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 17 อุปกรณ กลองสองทางไกล คูมือดูนก หรือ คูมือหาชื่อนกในอุทยานธรรมชาติวิทยา ตามพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี: ลุมน้ําหวยผาก สมุดบันทึก หรือแบบบันทึก (ในที่นี้ใชแบบบันทึก) ปากกาหรือดินสอ แผนที่ของสถานที่ที่ดูนก (ถามี) วิธีการ 1. เตรียมอุปกรณตางๆ และเตรียมตัวใหพรอม 2. ดูนกตามเสนทางหรือบริเวณโดยรอบ เมื่อพบนกแลวทําการจําแนกจนทราบชนิดนกแลวใหทํา การบันทึกลงในแบบบันทึก โดยระบุเลขหนาของแผนบันทึกเพื่องายตอการจัดเรียงเอกสาร สําหรับแผนแรก (หนาที่ 1) ใหเขียนชื่อ-สกุลของผูดูนก หรือเขียนชื่อกลุม วันเดือนปททําการ  ี่ ดูนก สถานที่ทดูนก และระบุชวงเวลาที่ดูนก ี่ 3. นกที่พบตัวแรกใหเขียนเลข 1 ในชองชนิดที่ เมื่อรูชอชนิดนกที่พบใหเขียนลงในชองชือนกที่พบ ื่ ่ 4. จากนั้นบันทึกขอมูลตางๆ ลงในชองขอสังเกตบางประการขณะดูนกใหทําเครื่องหมายลงใน ตามการสังเกตพบ สําหรับขอ 2 ลักษณะที่พบใหระบุรายละเอียดเพิ่มเติมดวย เชน การบิน บิน เหนือยอดไม บินตรงหรือซิกแซ็กใกลพื้นดินหรือพื้นน้ํา บินรอนและวนในระดับสูง บินผาดโผน หรือบินโฉบจับแมลง การเกาะ เกาะตามลําตนหรือกิงไมใหญ เกาะตามไมพุม ไมพนลาง ่ ื้ ขอนไม ตอไม การเดิน เดินตามพื้นดินหรือพืชลอยน้ํา เปนตน และทําการบันทึกขอมูลใน บริเวณที่เวนไวให (......) เกี่ยวกับขนาดและลักษณะสีเดน เชน ขนาดเล็กมาก เล็ก กลาง ใหญ ใหญมาก ลักษณะสีเดน เชน มีวงแหวนสีขวารอบตา ขาสีเหลือง แกมสีแดง 5. ขีด I จํานวน 1 ขีด ลงในชองจํานวน โดยสามารถบันทึกขอมูลอื่นๆ ที่ตองการเกี่ยวกับนกชนิด นั้นๆ เชน วาดภาพลักษณะเดนของนก ไดแก เทาหรือปาก หรือบันทึกลักษณะเฉพาะคือ ลักษณะที่ไมมีในนกชนิดอืนหรือกลุมอืน เมื่อมองเห็นสามารถบอกไดทนทีวาเปนนกอะไร เชน ่ ่ ั หงอนขนงอกยาวจากหัวหรือทายทอย เปนตน ลงในชองบันทึกเพิ่มเติม 6. หากนกที่พบตัวถัดไปเปนนกชนิดเดิม ให ขีด I จํานวน 1 ขีด ลงในชองจํานวน แตถาเปนนก ชนิดใหมก็ใหบนทึกดวยวิธีการเดิม หากเปนนกที่เคยพบแลวก็ใหกลับไปทําเครื่องหมาย I ลงใน ั ชองจํานวนของนกชนิดนั้นๆ โดย 1 ขีดแทนนก 1 ตัว 7. เมื่อเสร็จสิ้นการดูนกใหรวมจํานวนนกของแตละชนิดที่พบ ลงบน ............. ทายชองจํานวน 8. ในกรณีที่มีแผนที่ใหเขียนหมายเลขชนิดที่ของนกที่พบลงบนจุดที่พบในแผนที่ดวย อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 20. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 18 หนาที่ 1 ชื่อ-สกุล / กลุม ................................................................วัน เดือน ป ................................สถานที่.........................................................เวลา....................  ชนิดที่ ชื่อนกที่พบ ขอสังเกตบางประการขณะดูนก จํานวนที่พบ (ตัว) บันทึกเพิ่มเติม 1. บริเวณที่พบ แหลงน้ํา ทุงหญาและปาละเมาะ สวน ปาโปรง / ปาไผ ปาทึบ อื่นๆ ......................... 2. ลักษณะที่พบ บิน......... เกาะที่........... เดินที่........... อื่นๆ ............... 3. ขนาด...................................................... 4. ลักษณะสีเดน........................................... รวม.................ตัว 1. บริเวณที่พบ แหลงน้ํา ทุงหญาและปาละเมาะ สวน ปาโปรง / ปาไผ ปาทึบ อื่นๆ ......................... 2. ลักษณะที่พบ บิน......... เกาะที่........... เดินที่........... อื่นๆ ............... 3. ขนาด...................................................... 4. ลักษณะสีเดน........................................... รวม.................ตัว อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 21. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 19 หนาที่ ............... ชื่อ-สกุล / กลุม ................................................................วัน เดือน ป ................................สถานที่.........................................................เวลา....................  ชนิดที่ ชื่อนกที่พบ ขอสังเกตบางประการขณะดูนก จํานวนที่พบ (ตัว) บันทึกเพิ่มเติม 1. บริเวณที่พบ แหลงน้ํา ทุงหญาและปาละเมาะ สวน ปาโปรง / ปาไผ ปาทึบ อื่นๆ ......................... 2. ลักษณะที่พบ บิน......... เกาะที่........... เดินที่........... อื่นๆ ............... 3. ขนาด...................................................... 4. ลักษณะสีเดน........................................... รวม.................ตัว 1. บริเวณที่พบ แหลงน้ํา ทุงหญาและปาละเมาะ สวน ปาโปรง / ปาไผ ปาทึบ อื่นๆ ......................... 2. ลักษณะที่พบ บิน......... เกาะที่........... เดินที่........... อื่นๆ ............... 3. ขนาด...................................................... 4. ลักษณะสีเดน........................................... รวม.................ตัว อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 22. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 20 หนวยยอยที่ 2.3 แมลงและสิ่งมีชีวตในน้า ิ ํ จุดประสงค 1. เพื่อฝกการจําแนกชนิดแมลงและสิ่งมีชีวิตในน้ํา 2. เพื่อศึกษาคณภาพน้ําดวยวิธีการงายๆ ุ 2. เพื่อฝกทักษะและกระบวนการทางวิทยาศาสตร 3. เพื่อฝกทักษะการทํางานรวมกันเปนกลุม เนื้อหา การประเมินคุณภาพน้ําอยางงาย ทําไดโดยการสังเกตและเก็บขอมูลของแหลงน้ํา ไดแก อุณหภูมิ ความขุนใสของน้ํา และการปรากฏของสิ่งมีชีวิตในน้ํา กิจกรรมการเรียนรู 1. ขั้นนําเขาสูบทเรียน นํ า ภ า พแม ลงและสิ่ ง มี ชีวิ ต ในน้ํ า มาใ ห ท า ยว าคื อตั ว อะไร พร อ มกั บ แ นะนํา ชื่อ และ อธิบายลักษณะสําคัญ และถิ่นที่อาศัยของสัตวชนิดนั้น พรอมกับใหบันทึกลงในใบงาน 2. ขั้นดําเนินการ 2.1 อภิปราย เกี่ยวกับ ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในน้ํากับคุณภาพน้ํา 2.2 อธิบายขั้นตอนการสํารวจคุณภาพน้ํา ดวยใบความรู และแบบบันทึก 3. ขั้นสรุป กลาวสรุปเกี่ยวกับความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตในน้ํากับคุณภาพน้ํา สื่อการเรียนรู 1. ภาพแมลงและสิ่งมีชีวิตในน้ํา 2. ใบงาน เรื่อง แมลงและสิงมีชีวิตในน้ํา ่ 3. ปากกาหรือดินสอ 4. ใบความรู เรื่อง คุณภาพน้ํา 5. ใบความรู เรื่อง การสํารวจคุณภาพน้ํา 6. แบบบันทึกการสํารวจคุณภาพน้ํา 7. อุปกรณสํารวจคุณภาพน้ํา การประเมินผล 1. ตรวจผลงานจากสมุดงาน แบบบันทึกตางๆ 2. สังเกตพฤติกรรม ความสนใจ และความรวมมือในการทํางาน อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 23. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 21 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 24. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 22 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 25. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 23 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 26. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 24 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 27. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 25 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 28. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 26 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 29. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 27 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 30. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 28 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 31. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 29 รูปรางหนาตา ชื่อ ลักษณะสําคัญ บริเวณที่พบ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 32. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 30 คุณภาพน้ํา หมายถึง ความสะอาด ความสกปรกของน้ํา สําหรับชีวิตในน้ํา ผูตองดื่มน้ําและหายใจ เอาออกซิเจนเชนเดียวกับชีวิตอื่นๆ คุณภาพน้ําหมายถึงทั้งคุณภาพของน้ําที่รางกายมันใช และคุณภาพของ บรรยากาศรอบตัว ไมวาจะเปนปริมาณออกซิเจนที่ละลายอยูในน้ํา ความขุนใสของน้ํา แรธาตุและสสารที่ เจือปนในน้ํา ตลอดจนความเปนกรดดางของน้ํา เราสามารถสังเกตคุณภาพน้ําอยางงายๆ ไดจาก อุณหภูมิ น้ํายิ่งรอน ออกซิเจนยิ่งละลายไดนอย สัตวจึงหลบพักในน้ําเย็นใตรมเงาตนไมไดสบายกวาผืนน้ํากลางแดด รอนและถามีการปลอยน้ํารอนลงน้ํา เชน น้ําเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ออกซิเจนในน้ําจะลดลง ความขุนใส แสงแดดจะสามารถสองลงสูใตน้ําไดลึกหรือตื้นเพียงใดขึ้นอยูกับความขุนใสของน้ํา ซึ่งสงผลโดยตรงตอ ชีวิตพืชและสัตวตามพื้นใตน้ํา เนื่องจากพืชบนพื้นใตน้ําตองการแสงแดดปรุงอาหารและคายออกซิเจน ออกมาสูน้ําบริเวณนี้อันเปนประโยชนตอสัตวน้ําซึ่งอาศัยอยูตามพื้นใตน้ํา ถาน้ําขุน แสงก็จะสองลงไปใต น้ํ า น อ ยลง ก็ จ ะส ง ผลต อ ปริ ม าณออกซิ เ จนในน้ํ า ด ว ย น้ํ า จะขุ น ใสแค ไ หนนั้ น ขึ้ น อยู กั บ ปริ ม าณสาร แขวนลอยในน้ํา เชน ตะกอนดิน และแพลงกตอน สาหราย ตะกอนดินนอกจากจะทําใหน้ําขุนแลว ยังไป อุดรูซอกหลืบตามพื้นน้ําที่สัตวชอบอาศัยอยูดวย สิ่งมีชีวตในน้ํา ิ สัตวน้ําตองการออกซิเจนหายใจเชนเดียวกับสัตวบก และในน้ําก็มีออกซิเจนละลายอยูแตนอยกวาใน อากาศหลายเทา สัตวสวนมากชอบอยูในน้ําสะอาด มีออกซิเจนสูง แตหลายชนิดสามารถปรับตัวใหอยูใน ที่ที่มีออกซิเจนนอยได และบางชนิดก็ทนอยูไดในที่ที่เกือบไมมีออกซิเจนเลย ฉะนั้น ถาเกิดมลภาวะทําให ออกซิเจนในน้ําลดลง สัตวที่ตองการออกซิเจนสูงจะอยูไมได ในขณะที่สัตวที่ทนอยูไดในภาวะออกซิเจน ต่ํากวาจะสามารถอยูไดดี จึงประเมินระดับมลภาวะในลําน้ําไดจากการสังเกตประเภทสัตวน้ํา ซึ่งสัตวที่ใช วั ดระดั บ มลภาวะ เรี ย กว า “สั ต ว ตั ว บ ง ชี้ ” กล า วคื อ ถ า สั ต ว ช นิ ด นี้ ปรากฎตั ว ที่ ไ หน บอกได ว า สภาพแวดลอมที่นั่นเปนอยางไร โดยสัตวน้ําที่สํารวจเปนสัตวน้ําตัวเล็กๆ ไดแก แมลงน้ําและสัตวไมมี กระดูกสันหลังอื่นๆ พวกมันมักเกาะหากินอยูตามพื้นใตน้ําเฉพาะที่ ไมคอยวายยายถิ่นไปไกลๆ อยางปลา นอกจากสัตวน้ําแลว สาหรายหรือตะไครน้ํายังบอกไดคราวๆ ถึงปุยและสารอินทรียที่ถูกปลอยลงสูลําน้ํา อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 33. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 31 ขอควรระวัง ! อยาไปในที่ที่นาลึกเกินเขา ้ํ อยาไปไกลจนมองไมเห็น อยาเลนกันขณะปฏิบัตงาน ิ เมื่อบันทึกขอมูลเรียบรอยแลวอยาลืมปลอยสัตว นํากอนหิน และเทน้ําที่ตักมาคืนลําน้ํา อยาลืมเก็บอุปกรณตางๆ ที่ใชใหเรียบรอย อุปกรณ ขวดพลาสติกใสกนแบนขนาดประมาณ 1 ลิตร ตัดปากขวดออก แผนวัดความขุนใส  เทอรโมมิเตอรวัดอุณหภูมิ แวนขยาย กระชอน ถาดหรือกะละมัง ถวยน้ําจิ้ม ชอน แบบบันทึก วิธีการ ในแตละจุดทีทําการศึกษา ใหดําเนินการดังนี้ ่ 1. ตักน้ําจากลําธารใสขวดพลาสติกจนเต็มขวด จุมเทอรโมมิเตอรลงไปแตอยาใหติดกนขวด ประมาณ 20 วินาที บันทึกอุณหภูมิน้ํา ควรวัดหลายครั้งเพื่อหาคาเฉลี่ย โดยตักน้ําใหมขึ้นมาเพื่อ ทําการวัด แตอยาตักน้ําในจุดเดียวกับที่เทน้ําคืนลําธาร 2. วางแผนวัดความขุนใสไวทกนขวดพลาสติกดานใน ตักน้ําจากลําธารใสขวดพลาสติกจนเต็มขวด ี่ วางขวดไวเฉยๆ ในรมเงา รอใหน้ํานิ่งเมื่อน้านิ่งกมดูจากปากขวด และบันทึกหมายเลขสีจางที่สุด ํ ที่มองเห็นบนแผนวัดความขุนใส  3. ตักน้ําจากลําน้าใสถาดหรือกะละมังวางไวที่รมริมฝงน้ํา ํ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 34. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 32 4. วางกระชอนขวางกระแสน้ํา ใชเทาคุยพืนน้าใหฟุงขึ้นมาหนากระชอน 2-3 ครั้ง เพื่อใหสัตวที่ ้ ํ ซอนตัวอยูไหลเขามาในกระชอนพรอมเศษตะกอน 5. จากนั้นนํามาถายลงในถาดหรือกะละมังที่ตกน้ํารอไว  ั 6. รอใหน้ําในถาดหรือกะละมังนิ่งตกตะกอน 7. ตักน้ําใสถวยน้ําจิ้มหลายๆ อัน วางไวขางถาดหรือกะละมัง 8. สังเกตดูวาในถาดหรือกะละมังมีตัวอะไรเคลื่อนไหว ใชชอนคอยๆ ตักตัวสัตวขึ้นมาใสถวยน้ําจิ้ม 9. ใชแวนขยายสองสัตวในถวยน้ําจิ้มเพื่อสังเกตรายละเอียดสําคัญ จําแนกดวย คูมือหาชือสัตวเล็ก ่ น้ําจืด 10. บันทึกเฉพาะ สัตวที่เปนตัวบงชี้ ลงในแบบบันทึก เชน พบตัวออนแมลงเกาะหิน ซึ่งจัดเปนสัตว อยูในกลุม B ในจุดที่ 7 ที่สํารวจ ใหทําเครืองหมาย X ลงในชองที่ 7 ของแมลงกลุม B ่ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 35. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 33 “ในจุดศึกษาเดียวกัน หากพบสัตวตัวบงชีกลุมเดียวกันหลายตัว ใหทําเครื่องหมาย X เพียงครั้งเดียว” ้ 1 2 กลุม B ตัวออนแมลงเกาะหิน 3 4 5 6 7 8 9 10 “นับเฉพาะสัตวเปน อยานับซากสัตวที่ตายแลว” เมื่อสํารวจสัตวเล็กน้ําจืดครบทุกจุดศึกษา ใหนับจํานวน X ทั้งหมดของแตละกลุมแลวทําเครื่องหมาย X ลงในชองของตารางสรุป ตามจํานวนทีนับไดใน ่ กลุมนั้นๆ (จํานวนเครื่องหมายในแตละกลุมจะ เทากับจํานวนจุดศึกษาที่พบ) ซึ่งแบงออกเปน 4 หมวดใหญๆ คือ I พวกทีตองการน้ําสะอาดมาก ่ II พวกทีตองการน้ําสะอาด ่ III พวกที่ทนน้ําสกปรกไดบาง IV พวกที่ทนน้ําสกปรกไดดี จากนั้นพิจารณาดูโดยรวมวาสายน้ําในชวงที่ สํารวจ มีสัตวหมวดใดโดดเดนที่สุด ซึ่งสามารถบง บอกถึงคุณภาพน้ําในชวงนันไดดวย สามารถ ้  เปรียบเทียบจากเกณฑตอไปนี้ อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 36. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 34 ..กราฟพิสดาร ! .. บางครั้งอาจพบวา กราฟมีลกษณะแตกตางจาก ั กราฟตัวอยางขางตน เปนตนวา สัตวหลายหมวด มีความ โดดเดนคละกันไป แบบนี้ สาเหตุอาจเกิดจาก การเก็บตัวอยางไมถูกวิธี จําแนกสัตวผดพลาด ลําน้ําไมเหมาะตอการดํารงชีวิตของ ิ สัตวบางกลุม เปนตน อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี
  • 37. คายสิ่งแวดลอมศึกษา หลักสูตร “สิ่งแวดลอมเบื้องตน” 35 ภายหลังจากการสํารวจสายน้ํา และประมวลผลขอมูลครบทุกขั้นตอนแลว ใหประเมินดูวาจากขอมูลที่สํารวจ  มาทั้งหมดนั้น ลําน้ําในชวงที่สํารวจนั้นมีคุณภาพน้ําเปนอยางไร พรอมทั้งบอกเหตุผล สัญลักษณในการประเมินคุณภาพน้ํา ดีมาก ดี พอใชได ไมดี แยมาก อุทยานธรรมชาติวิทยาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ อ.สวนผึ้ง จ.ราชบุรี