SlideShare a Scribd company logo
1 of 227
Download to read offline
โดยนายศุภวัฒน์ คุณานุวัฒน์
พื้ นที่คุ้มครองจันทบุรี
จันทบุรี....................เป็นเมือง
ที่อุดมสมบูรณ์
• จันทบุรีเป็นเมืองเก่าแก่ เคยเป็นที่อยู่
อาศัยของมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์
มีการสารวจแหล่งโบราณคดีหลายแห่ง
ในจันทบุรี พบเครื่องมือเครื่องใช้ยุคหิน
ขัด (อายุประมาณ 2,000 ปี) และเริ่ม
มีการตั้งเมืองครั้งแรกที่บริเวณหน้าเขา
สระบาป ราวพุทธศตวรรษที่ 18 “ชาว
ชอง” (ชนเผ่าในตระกูลมอญ-เขมร)
เป็นชนพื้นเมืองกลุ่มแรก
ปัจจุบันค้นพบ เครื่องใช้ยุคหินใหม่
(อายุประมาณ 4,000 ปี)
ถ้าระฆัง ต.ทุ่งขนาน อ.สอยดาว จ.จันทบุรี
(พบโบราณวัตถุ อายุกว่า 4,000 ปี ยุคหินใหม่)
• สภาพภูมิประเทศประกอบไปด้วยป่าไม้ ภูเขา
ที่ราบสูง ที่ราบลุ่มน้า และที่ราบชายฝั่งทะเล
ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้มีประมาณ 3 ใน 10
ของพื้นที่ทั้งจังหวัด ภูมิอากาศของจังหวัดมี
ลักษณะแบบมรสุมเขตร้อน จุดสูงสุดของ
จังหวัดอยู่ที่ยอดเขาสอยดาวใต้ ซึ่งเป็ นยอดเขา
ที่มีความสูงที่สุดในภาคตะวันออก โดยมีความ
สูง 1,675 เมตร
ลักษณะทางกายภาพ
ยอดเขาที่สูงที่สุดของจังหวัดจันทบุรี “เขาสอยดาวใต้”
โดยมีความสูง 1,675 เมตร
• จันทบุรีมีพื้นที่ทั้งหมด 6,338.00 ตาราง.กม.
• มีพื้นที่ป่า 2,138.41 ตาราง.กม.
• คิดเป็นร้อยละ 33.74
• และพื้นที่ไม่ใช่ป่า 4,199.59 ตาราง.กม.
แผนที่แสดงสภาพพื้นที่ป่าไม้
จาแนกประเภทของป่ า
ป่าชุมชน จันทบุรี 91 หมู่บ้าน 100 โครงการ 9,601 ไร่
สวนป่าเอกชน 14 โครงการ 10,504 ไร่
แผนที่การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ทรัพยากรดินในจังหวัดจันทบุรีมีความอุดมสมบูรณ์
สูงมาก ซึ่งส่วนใหญ่แล้วเป็นดินที่เกิดจากการ
สลายตัวของหินปูน ทาให้ดินมีความเป็นด่างเหมาะ
แก่การปลูกผลไม้อันเป็นหนึ่งในพืชเศรษฐกิจของ
จังหวัดจันทบุรี
ในส่วนของทรัพยากรน้าในจังหวัดจันทบุรีนั้น แม้ว่าจังหวัด
จันทบุรีจะอยู่ในพื้นที่ที่มีฝนตกชุก แต่จันทบุรียังคงประสบ
กับปัญหาภาวะความแห้งแล้งในพื้นที่ของจังหวัดเนื่องจาก
แม่น้าทั้งหมดในจังหวัดเป็นเพียงแม่น้าสายสั้น ๆ และมี
ขนาดเล็ก ยกตัวอย่างเช่น แม่น้าพังราด (30 กิโลเมตร)
แม่น้าวังโตนด (6 กิโลเมตร)แม่น้าเวฬุ (88 กิโลเมตร)
และแม่น้าจันทบุรี (123 กิโลเมตร) เป็นต้น
ป่ าชายเลน
แนวปะการังของจันทบุรี
•
แนวประการังเขตจังหวัดจันทบุรี เป็นบริเวณที่เรียกว่า estuarine area โดยได้รับอิทธิพลของปริมาณน้าจืดจากแม่น้า
จันทบุรีและแม่น้า
เวฬุ พื้นที่ตลอดชายฝั่งจันทบุรีประกอบด้วยหาดทราย ถึงทรายปนโคลน และป่ าชายเลนประกอบกับอัตราการตกตะกอน
บริเวณชายฝั่ง
ทะเลสูง ซี่งอิทธิพลสิ่งแวดล้อมดังกล่าว มีผลต่อสภาพและการพัฒนาแนวปะการังทั้งสิ้ น
จากการศึกษาโครงสร้าง และสภาพแนวปะการังในจังหวัดจันทบุรีพบว่า สภาพแนวปะการัง
ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์ดี โดยมีร้อยละการครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิตประมาณ 14.5 -
70 เปอร์เซ็นต์
ปะการังชนิดเด่นที่พบในทุกสถานีได้แก่ Porites Lutea, Pocillopora damicomis, Favite
spp., Favia spp., Platygyra spp., Goniastrea spp., Acropora spp, Pavona crassa
สามารถสรุปการวิจัยในแต่ละสถานีได้ดังนี้
• แนวปะการังบริเวณหินอ้ายลอบ ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อาเภอท่าใหม่ มีขอบเขตพื้นที่ประมาณ0.5 ตาราง
กิโลเมตร ลักษณะการกระจายตัว
• ของปะการังจะกระจายเป็นหย่อม ๆ ค่อนข้างหนาแน่นทั่วบริเวณ ร้อยละการครอบคลุมพื้นที่ของ
ปะการังมีชีวิตประมาณ 70 ส่วนที่เหลือ
• เป็นหินและปะการังตาย
แนวปะการังบริเวณหาดเจ้าหลาว ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อาเภอท่าใหม่ โครงสร้างของแนวปะการังจะแบ่งเป็น 2
ลักษณะ คือ แนวปะการัง
• ที่เป็นที่ราบสูงกว่าระดับน้าลงต่าสุด และแนวปะการังที่ไม่โผล่พ้นน้า ร้อยละการครอบคลุมพื้นที่ของ
ปะการังมีชีวิตประมาณ 14.5
แนวปะการังบริเวณเกาะสะบ้า ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อาเภอท่าใหม่ ลักษณะเป็นแนวปะการัง
• ขนาดใหญ่กระจายอยู่อย่างไม่หนาแน่นรอบ ๆ เกาะ ร้อยละการครอบคลุมของพื้นที่ของปะการังมีชีวิต
ประมาณ 14.55
แนวปะการังบริเวณเกาะนมสาว ตั้งอยู่ในเขตพื้นที่อาเภอแหลมสิงห์ เป็นแนวปะการัง
• แบบ Reef flat ร้อยละการครอบคลุมพื้นที่ของปะการังมีชีวิตประมาณ 35.5
พื้นที่คุ้มครองทางทะเล
ระบบนิเวศ
• ระบบนิเวศ เป็ นโครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตต่างๆ กับบริเวณแวดล้อม ที่สิ่งมีชีวิตเหล่านั้นดารงอยู่
การทาความเข้าใจกับระบบธรรมชาติ หรือระบบนิเวศ
• จะช่วยให้มนุษย์เรารู้จักใช้ประโยชน์ได้ถูกต้อง และมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้ น
เราสามารถจาแนกระบบนิเวศออกเป็ นกลุ่มๆ ได้ดังนี้
•
๑. ระบบนิเวศทางธรรมชาติ เป็ นระบบที่ต้องพึ่งพลังงานจากดวงอาทิตย์เพื่อที่จะทางานได้ได้แก่
๑.๑ ระบบนิเวศแหล่งน้า แบ่งเป็ นระบบนิเวศทางทะเล เช่น มหาสมุทร แนวปะการังทะเล และระบบนิเวศ
แหล่งน้าจืด เช่น แม่น้า ทะเลสาบ อ่างเก็บน้า เป็ นต้น
๑.๒ ระบบนิเวศบนบก แบ่งเป็ นระบบนิเวศกึ่งบก เช่น ป่ าพรุ และระบบนิเวศบกแท้ เช่น ป่ าดิบ ทุ่งหญ้า
ทะเลทราย เป็ นต้น
•
๒. ระบบนิเวศเมือง-อุตสาหกรรม เป็ นระบบที่ต้องพึ่งแหล่งพลังงานเพิ่มเติม เช่น น้ามันเชื้ อเพลิง พลังนิวเคลียร์
เป็ นระบบนิเวศที่มนุษย์สร้างขึ้ นมาใหม่
๓. ระบบนิเวศเกษตร เป็ นระบบที่มนุษย์ปรับปรุงเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศทางธรรมชาติขึ้ นมาใหม่
ระบบนิเวศเกษตร (AGRICULTURAL ECOSYSTEM)
• ระบบนิเวศเกษตร (agricultural ecosystem) คือ
• ระบบการผลิตพืช สัตว์ ประมง และป่ าไม้ ที่มนุษย์ได้กระทาให้เกิดขึ้ นในสภาพแวดล้อมธรรมชาติ เพื่อให้ได้มา
ซึ่งปัจจัยพื้ นฐานในการดารงชีพ เพื่อการแลกเปลี่ยนและเพื่อการค้าขาย โดยมีองค์ประกอบที่เป็ นสิ่งมีชีวิต ได้แก่
มนุษย์ สัตว์ พืช และองค์ประกอบที่เป็ นสิ่งไม่มีชีวิต ได้แก่ น้า ดิน อากาศ และแสงแดด ซึ่งเป็ นสภาพแวดล้อม
ทางธรรมชาติรวมไปถึงปัจจัยที่มีผลกระทบทั้งทางตรงและทางอ้อม ได้แก่ เทคโนโลยี เศรษฐกิจ สังคม ประเพณี
และการเมือง ซึ่งองค์ประกอบทั้งหมดนั้นจะมีปฏิสัมพันธ์ต่อกันและกันที่ทาให้เกิดเป็ นระบบนิเวศเกษตร ที่เป็ น
ส่วนหนึ่งของระบบนิเวศตามธรรมชาติ โดยมนุษย์ได้เข้าไปจัดการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงบางส่วนหรือทั้งหมดของ
รูปร่างลักษณะคุณสมบัติขององค์ประกอบภายในทางด้านกายภาพและชีวภาพที่มีอยู่เดิมของระบบนิเวศ โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อให้เป็ นแหล่งที่สามารถดาเนินการผลิตผลผลิตทางการเกษตรหรืออาหารอื่นๆ ตามที่มนุษย์
ต้องการ
ระบบนิเวศเกษตร......จันทบุรี
• ความหลากหลายทางชีวภาพถูกทาลายเพียงเพื่อการปลูกพืชเชิงเดี่ยวตามความต้องการของตลาด พื้ นที่การ
เพาะปลูกถูกปรับเปลี่ยนให้เหมาะกับการทางานของเครื่องจักร เช่น การหว่านเมล็ด การพ่นยา และการเก็บ
เกี่ยวมากกว่าความเกื้ อกูลทางระบบนิเวศ การปลูกเชิงเดี่ยวทาให้พืชไม่สามารถต้านทานต่อโรค แมลง และการ
เปลี่ยนสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงมากขึ้ นทุกปี ในขณะที่ผู้บริโภคก็มีตัวเลือกในการรับประทานน้อยลง กลไก
ธรรมชาติในการควบคุมแมลงศัตรูพืชถูกทาให้เสียสมดุลทาให้เกษตรกรต้องพึ่งพาสารเคมีมากขึ้ น พื้ นที่ป่ าไม้ต้น
น้าลาธารกลายมาเป็ นพื้ นที่ปลูกพืชเพื่อใช้ผลิตอาหารสัตว์และพืชพลังงาน
• พบพันธุ์พืชพรรณ มากกว่า 25 ชนิด ชนิดความหลากหลายที่พบในระบบนิเวศป่ าชายเลน
120
• พืชพรรณ มากกว่า 250 ชนิดพันธุ์
ความหลากหลายที่พบในระบบนิเวศป่ าบก
121
122
123
การสารวจรวบรวมข้อมูลทรัพยากรสัตว์
124
125
การสารวจรวบรวมข้อมูลทรัพยากรสัตว์
• ประเภท แมลงศัตรูพืช และแมลงศัตรูธรรมชาติ 50 ชนิด
126
127
สารวจพบเห็ดทั้งหมด 31 ชนิด
ภูมิปัญญาลังไม้เพาะเลี้ยงชันโรง
การทาใบจากมวนยาสูบ
การทาลูกน้าเต้าปูปลา
การทอเสื่อและแปรรูปเสื่อกก
การทากุ้งแห้ง
สุ่มจับปลา
กระบุง
การทอเสื่อกกลายแพรวา
สารวจรวบรวมวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ภูมิปัญญาการขุดเรือ
128
129
131
เขตสงวนธรรมชาติเข้มงวด/ธรรมชาติ
(Strict Nature Reserve|Wilderness): หมายถึง พื้นที่ที่ได้รับการพิทักษ์และ
คุ้มครองอย่างเข้มงวด เพื่อการศึกษาทางวิทยาศาสตร์และธรรมชาติวิทยา
132
133
อาเภอสอยดาว
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาสอยดาว
134
136
อุทยานแห่งชาติ (National Park): หมายถึง พื้นที่ที่ได้รับการพิทักษ์เพื่อปกป้อง
ระบบนิเวศให้คงความเป็นธรรมชาติและนันทนาการ
อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ
อุทยานแห่งชาติน้าตกพลิ้ว
อุทยานแห่งชาติเขาสิบห้าชั้น
137
อนุสรณ์ธรรมชาติ
(Natural monument):
หมายถึง พื้นที่ที่มีการพิทักษ์ให้คงไว้
ซึ่งคุณค่าที่น่าสนใจหรือเอกลักษณ์
เฉพาะทางธรรมชาติ
อนุสรณ์ธรรมชาติ (Natural
monument): หมายถึง พื้นที่ที่มีการ
พิทักษ์ให้คงไว้ซึ่งคุณค่าที่น่าสนใจหรือ
138
140
อนุสรณ์ธรรมชาติ (Natural monument): หมายถึง พื้นที่ที่มีการ
พิทักษ์ให้คงไว้ซึ่งคุณค่าที่น่าสนใจหรือเอกลักษณ์เฉพาะทางธรรมชาติ
141
The Cathedral of Immaculate Conception Chanthaburi is
considered the largest and most beautiful Catholic church in
Thailand. It has a long history that stretches back with the
history of the province. The most famous features of the
church are the Gothic architectural style that is believed to
imitate the Notre Dame de Paris as well as the Mother Mary
statue beautifully decorated with the famous Chanthaburi
gems.
142
อาเภอเมืองจันทบุรี
อาเภอเขาคิชฌกูฏ
• อนุสรณ์ธรรมชาติ (Natural monument): หมายถึง
• พื้นที่ที่มีการพิทักษ์ให้คงไว้ซึ่งคุณค่าที่น่าสนใจหรือเอกลักษณ์เฉพาะทางธรรมชาติ
1
หินลูกบาตร ที่ตั้งข้างรอยพระพุทธบาท อยู่ในลักษณะคล้ายลอยอยู่ริมลานพระพุทธบาท
-ลักษณะถ้ามีทางเข้าออกทางเดียว ปากถ้าหันไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้กว้าง
ประมาณ 1.8 เมตร อยู่สูงจากพื้นถ้า หรือแนวพื้นระนาบผิวหน้าดินประมาณ 200
เมตร ต้องปี นป่ ายขึ้ นไปเข้าปากถ้า ถ้ามีหลายห้อง สารวจแล้ว 8 ถ้า
พื้นที่บริเวณเดียวกันมีถ้าพระซึ่งถูกรบกวนเกือบหมดสภาพความเป็ นถ้าและอีก
หนึ่งถ้าคือถ้าเขาจาปาสารวจพบโบราณวัตถุมากมาย มีอายุประมาณ 4000 ปี (ยุค
หินใหม่)
ประมวลภาพคณะสารวจถ้าระฆัง
อยู่ในเขตปลอดภัยทางทหาร(เรียกกันว่า
ตาบลกระสุนตก)-พื้นที่หมู่บ้านปกป้อง
ตนเองชายแดนไทย-กัมพูชา บ้านคลองเม่น
หมู่ที่ 10 ต.ทุ่งขนาน อ.สอยดาว จ.
จันทบุรี
ตาแหน่งที่ตั้ง
• พื้นที่จัดการชนิดพันธุ์/แหล่งอาศัย (Habitat/Species Management Area): หมายถึง พื้นที่ที่มีการ
บริหารจัดการเพื่อคงไว้ซึ่ง ประชากรของชนิดพันธุ์ที่สาคัญและถิ่นที่อยู่อาศัยของชนิดพันธุ์นั้น
147
148
เหลืองจันทบูร
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
หมวด: Magnoliophyta
ไม่ถูกจัดอันดับ: Monocots
อันดับ: Asparagales
วงศ์: Orchidaceae
วงศ์ย่อย: Epidendroideae
สกุล: Dendrobium
สปีชีส์: D. friedericksianum
ชื่อทวินาม
Dendrobium friedericksianum
Rchb. f.
เหลืองจันทบูร เป็นกล้วยไม้มีค่าทางเศรษฐกิจ ชนิดหนึ่ง ออกดอกในช่วง เดือนมกราคมถึงเดือนเมษายน ดอกเหลืองจันทบูรเป็นดอกไม้ประจาจังหวัด
จันทบุรี แหล่งกาเนิดอยู่ที่เขาคิชฌกูฏและเขาสอยดาว ลาลูกกล้วยยาว ต้นแก่เป็นสีเหลือง โดยออกดอกตามข้อ มีสองพันธุ์คือพันธุ์ที่ดอกเหลืองล้วน เมื่อ
แก่สีเข้มเหมือนสีจาปา กับพันธุ์ที่มีแต้มสีม่วงแดง
กฤษณา(ไม้หอม)
กระวาน
พริกไทย
สารอง(พุงทะลาย)
หวายป่ า
ฯลฯ
108150
พะยูน เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดหนึ่ง ตาม
พระราชบัญญัติสงวนและคุ้มครองสัตว์ป่า
พ.ศ. 2535 เป็นสัตว์ป่าสงวนชนิดเดียวที่
เป็นสัตว์น้า เป็นสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมที่
อาศัยอยู่ในทะเลเขตอบอุ่น
วิทยาศาสตร์: Dugong dugon
ชื่อสามัญ: Dugong
หญ้าทะเลถือเป็นทรัพยากรที่ได้รับการ
ยอมรับว่าเป็นระบบนิเวศที่มีความสาคัญ
มาก ในน่านน้าไทย พบหญ้าทะเลรวม 12
ชนิดพันธุ์ จากจานวนทั้งสิ้นประมาณ 58
ชนิดพันธุ์ที่พบทั่วโลก ในทะเลฝั่งอันดามันพบ
หญ้าทะเล 11 ชนิด ขาดเพียงชนิดเดียวคือ
หญ้าตะกานน้าเค็ม (Ruppia maritima)
ซึ่งพบเฉพาะทางฝั่งอ่าวไทยเท่านั้น
• ชื่อท้องถิ่นไทย : พะยูน/ปลาพะยูน- เงือก- หมูน้า– วัวทะเล- หมูดุด– ดูหยง
151
• พะยูน - หญ้าทะเล
แผนที่พะยูนบนโลก
152
กลุ่มชาติพันธุ์ ชอง (Chong) ชนพื้นเมืองดั่งเดิมที่เข้ามาอาศัยอยู่แถบ
ภาคตะวันออก ตระกูลภาษาออสโตรเอเชียติก (Austroasiatic
Language Family) สาขาเพียร์ (Pearic branch)
ชาวชองเป็นชนเผ่าตั้งถิ่นฐานอยู่บริเวณตะวันออกแนวเขาบรรทัดของ
ประเทศไทย-กัมพูชา กระจัดกระจายอยู่แถบ บริเวณจังหวัดระยอง
จันทบุรี และตราด รวมทั้งในจังหวัดไพลิน และ กัมปอดของกัมพูชา
บ้านเรือนของชาวชอง สร้างจากไม้ไผ่ ชาวชองมักอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม
ๆ กลุ่มละ ประมาณ 20-30 ครอบครัว การสร้างบ้านจะช่วยกัน ปลูก
บ้าน ลักษณะบ้าน จะเป็นเรือน ยก พื้นสูงประมาณ 1.5-2.0 เมตรมี
บันได 3-5 ขั้น พื้นที่แบ่งออกเป็น 3 ระดับ ส่วนของหน้าบ้าน เรียกว่า
“ชานบ้าน” ใช้เป็นบริเวณวางสิ่งของต่าง ๆ รวมถึงใช้เป็นที่
รับประทานอาหาร
153
• ส่วน ที่สอง เป็นกลางบ้านเป็นบริเวณที่พักผ่อน รับแขกนั่งเล่นหรือทาพิธีกรรม ต่าง ๆ
ส่วนที่สามเป็นห้องนอนส่วน ใหญ่จะ กันไว้ ห้องเดียวใช้ไม้ไผ่สับแตกๆที่เรียกกันว่า"
ฟาก"หลังคามุงด้วยตับซึ่งทาจากใบไม้บ้านชาวชองมีลักษณะเป็นเรือน เครื่องผูกเพราะ
ทุกส่วนของบ้านที่ต่อกันจะใช้้แต่วิธีผูกด้วยหวายหรือเชือกแต่เดิมชาวชองอาศัยอยู่ใน
ป่าดารงชีวิต ด้วยการทานา นอกจากนั้นยังมีการเก็บของป่านา ไปขายในเมือง ได้แก่
น้ามัน ยางชัน สมุนไพร หวาย และหนังสัตว์ นามาแลกกับสิ่งของเครื่องใช้ เช่น เกลือ
ยาฉุน หอม กระเทียม เป็นต้น
การปกครองของชาวชอง จะมีผู้นาหมู่บ้านผู้อาวุโสซึ่งสมัยโบราณเรียกว่า “หลวง
พล” เป็นที่ยอมรับของหมู่บ้านใน ส่วนของค่านิยมความเชื่อของ ชาวชอง ชาวชองมี
ความเชื่อเรื่อง วิญญาณ ภูตผี และศาสนาพุทธ ชาวชองมีการ นับถือผี มีประเพณีที่
เรียก “การเล่นผีหิ้ง” และ “การเล่นผีโรง” ประเพณีแต่งงานของ ชาวชอง เรียกว่า
“กาตั่ก” หรือ การแต่งงานของ ลูกสาวคนโต เป็นพิธียิ่งใหญ่ก่อนการแต่งงานของ
หนุ่มสาวชาวชองห้ามหนุ่มสาว คบหากันตาม ลาพัง ห้ามชายหญิงพักค้างคืนบ้าน
ของอีกฝ่ายหนึ่งและถูกเนื้ อต้องตัวกันไม่ได้ ถ้าชายหญิงถูกใจกัน ฝ่ายชายจะ ให้
ผู้ใหญ่ไปสู่ขอ การสู่ขอต้องนาหมากพลู ดอกไม้ เทียนไขขึ้นไปกราบผีฝ่ายหญิง แล้ว
จึงมี ีีการเจรจาสู่ขอพ่อแม่ ของฝ่ายหญิงจะเรียกสินสอด ส่วนใหญ่จะเรียกเงินเป็น
กลมหรือทอง เมื่อบอกจานวนสินสอดแล้วฝ่าย ชายจะต้อง นามาเท่าที่เรียก ขาด
เกินไม่ได้ ถือว่า “ผิดผี” ช่วงก่อนแต่งงานห้ามผู้หญิงไปไหนมาไหนกับฝ่ายชาย หาก
ฝ่าฝืนถือ ว่าเป็นการผิดผี ฝ่ายชายต้องขอขมาโดยการนาธูปเทียนไปกราบไหว้พ่อแม่
ฝ่ายหญิง เมื่อเสร็จพิธีแต่งงาน ฝ่ายชาย จะไปค้างบ้านฝ่ายหญิง 3 คืน จากนั้น
ผู้หญิงก็จะไปค้างที่บ้านฝ่ายชายอีก 3 คืนเช่นกันจากนั้นจึงตกลงอีกครั้งว่า จะพัก
อาศัยอยู่กับฝ่ายใด
หมายเหตุ ข้อมูลจาก มนทิพย์ ไชยมล มติชนรายวัน อาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ 2541, หน้า 7
ชื่อหรือไม่ มีคนไทย 70 กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศ
ไทย
154
• พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected Landscape/Seascape): หมายถึง พื้นที่ที่มี
การจัดการเพื่อคงคุณค่าของภูมิประเทศทางบกหรือทะเล ที่พัฒนาขึ้นมาบนความผูกพันของ
คุณค่าด้านนิเวศ ธรรมชาติ วัฒนธรรม หรือทัศนียภาพนั้นๆ
155
พื้นที่คุ้มครองทางวัฒนธรรม “ชุมชนริมน้าจันทบูร”
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected Landscape/Seascape):
156
158
“ชุมชนริมน้าจันทบูร”
SCENIC AREA
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
159
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
160
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
161
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
162
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
163
สิงห์ศิลาตานานแหลมสิงห์ จ.จันทบุรี
พื้นที่คุ้มครองภูมิทัศน์/ทะเลทัศน์ (Protected
Landscape/Seascape):
164
Laem Sing (Lion Rock) today. Photo
© Richard W. Hughes. Click on the
image for a larger view.
166
167
168
พื้นทีใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Sustainable Use of
Natural Resource Protected Area):
173
174
• พื้นที่นาข้าว ตาบลหนองชิ่ม
• นาข้าวเกษตรอินทรีย์
• ตาบลหนองชิ่ม อาเภอแหลมสิงห์ จังหวัดจันทบุรี
พื้นทีใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Sustainable Use of
Natural Resource Protected Area):
169
พื้นที่คุ้มครองทางระบบนิเวศ “บางชัน หมู่บ้านไร้แผ่นดิน ”
พื้นทีใช้ประโยชน์ทรัพยากรอย่างยั่งยืน (Sustainable Use of Natural
Resource Protected Area):
170
อาเภอขลุง
ต.บางชัน
171
โดยยึดหลักจากการบริหารจัดการพื้ นที่
• 1) บริหารโดยราชการ (Governance by government): อาจ
เป็ นส่วนราชการของ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด ระดับกรมหรือกระทรวง หรือองค์กรที่ราชการมอบอานาจให้ (เช่น NGO)
• 2) บริหารร่วมกัน (Shared governance) มีระดับของการร่วมบริหารที่แตกต่าง
กันไป เช่น การร่วมมือกัน (Collaborative management) จัดการร่วมกัน (Joint management) หรือจัดการแบบข้าม
พรมแดน (Transboundary management)
• 3) บริหารโดยภาคเอกชน (Private governance) โดยพื้ นที่มีความเป็ น
เจ้าโดยภาคเอกชน ที่ อาจเป็ นเจ้าของเดียว บริษัทเดียว หรือโดยองค์กรหนึ่ง เช่น NGO สมาคม สหกรณ์มหาวิทยาลัย
• 4) บริหารโดยชุมชนหรือชนเผ่า (Governance by
indigenous peoples and local communities)
• มีขอบเขตและกติกาจัดการร่วมกันโดยชุมชน
• พื้ นที่คุ้มครองที่อยู่นอกพื้ นที่การดูแลรักษาของกรมอุทยานแห่งชาติฯ ตัวอย่างเช่นส่วน
ราชการต่างๆ ที่มีพื้ นที่เพื่อการอนุรักษ์และมีการบริหารจัดการให้คงสภาพการใช้ประโยชน์
ที่มีเป้าหมายเพื่อความยั่งยืน
1) บริหารโดยราชการ (GOVERNANCE BY
GOVERNMENT):
อาจเป็ นส่วนราชการของ ระดับประเทศ ระดับจังหวัด ระดับกรม
หรือกระทรวง หรือองค์กรที่ราชการมอบอานาจให้ (เช่น NGO)
16
รายงานผลการค้นหาพื้นที่คุ้มครอง
แปลงอนุรักษ์ป่ าชายเลน ต.หนองชิ่ม
23
ซอย 33 บ้านอีมุย ต.หนองชิ่ม อ.แหลมสิงห์ จ.จ
24
โครงการปลูกป่ าถาวรเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปี ที่ ๕๐ ปี พ.ศ.๒๕๓๙
26
หมู่ที่ 3 ต.หนองตาคง อ.โป่งน้าร้อน จ.จันท
27
เทศบาลตาบลหนองตาคง
อาเภอโป่ งน้าร้อน จังหวัดจันทบุรี
• สภาพพื้ นที่ เป็นสวนป่าปลูกป่าถาวรเฉลิมพระเกียรติ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เนื่องในวโรกาสทรงครองราชย์ปี่
ที่ 50 พ.ศ. 2539 ชนิดพรรณไม้ ได้แก่ ราชพฤกษ์
ประดู่ อินทนิล เป็นต้น อายุประมาณ 20 ปี เนื้ อที่ตาม
หลักฐานหนังสือรับรอง 35 ไร่
• กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้ นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า และ
อนุรักษ์
• แผนการดาเนินงานอนุรักษ์ปกปักษ์ป่า (เข้าร่วมโครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ)
นายณัฐพงษ์ ศิริสื่อสุวรรณ
นายกเทศมนตรีตาบลหนองตา
คง
เทศบาลตาบลหนองตาคง
เลขที่119 หมู่ที่ 2 ตาบลหนองตาคง
อาเภอโป่งน้าร้อน จังหวัดจันทบุรี
E-mail : nongtakong10@gmail.com
28
สวนป่ าภายในศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี
17
• ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี มีพื้ นที่กว่า 2,500 ไร่ตั้งอยู่บ้านทุ่งเพล ตาบลฉมัน อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี โทร. 0-3946-
0800 โทรสาร 0-3946-0801 E-mail : chan3@doa.in.th
ตาแหน่งที่ตั้ง
พื้นที่สวนป่า30 ไร่
ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี
18
• นายชลธี นุ่มหนู
ผู้อานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรจันทบุรี กรมวิชาการเกษตร กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์การเกษตร
• โทร. 0-3946-0800
• สภาพพื้ นที่ เป็ นสวนป่ าอนุรักษ์ พื้ นที่ 30 ไร่ ได้รับบริจาค จากนายเผียน อยู่รอด อดีต
นายอาเภอมะขาม ได้มอบให้เพื่อรักษาป่ าธรรมชาติไว้เป็ นที่พักผ่อนหย่อนใจและประโยชน์ใน
การศึกษาพันธุ์ไม้ นานาพรรณ อาทิ ตะแบก สาโรง ตะเคียน และไม้ป่ านานาพันธุ์ ( อายุ
มากกว่า 35 ปี ) มอบให้เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2522
• การใช้ประโยชน์พื้ นที่ในปัจจุบัน อนุรักษ์เป็ นสวนป่ าเพื่อการศึกษาและนันทนาการ ตาม
วัตถุประสงค์ของผู้บริจาค
ผู้บริหารจัดการพื้ นที่
19
อู่ต่อเรือสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช
ที่อู่ต่อเรือพระเจ้าตากสินมีโบราณวัตถุที่สาคัญ คือ เรือเสม็ดงาม เป็นเรือสาเภาท้ายตัด หรือเรือฟูเจี้ยน ทาด้วยไม้
ยาว 24 เมตร กว้าง 7-8 เมตร มีร่องรอยการตอกหมันและยาชัน ภายในเรือพบเศษภาชนะ เชือกป่าน ขวาน
เหล็ก และถ้วยชามจีนคุณภาพต่า สันนิษฐานว่าเป็นเรือสาเภาที่ต่อขึ้นในจีนใช้แล่นค้าขายอยู่ตามหัวเมืองชายทะเล
อ่าวไทย ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 23 ปัจจุบันเรือลานี้ อยู่ในแอ่งเพื่อรักษาสภาพเรือไว้ ทาให้ไม่สามารถมองเห็นตัว
เรือ แต่กาลังมีการพัฒนาให้น้าใสเพื่อมองให้เห็นตัวเรือได้
บ้านเสม็ดงาม ตาบล หนองบัว อาเภอเมืองจันทบุรี จันทบุรี 22000
อู่ต่อเรือสมเด็จพระเจ้า
ตากสินมหาราช พื้นที่
12 ไร่
• สันนิษฐานว่าเดิมเคยเป็ นสถานที่ซึ่งสมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราชทรงใช้เป็ นอู่ต่อเรือเมื่อครั้งเตรียมยกทัพไปตีพม่า
• อนุรักษ์ไว้เป็ นสถานที่สาคัญทางประวัติศาสตร์
• ของจังหวัดจันทบุรี
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
นายธนภณ กิจกาญจน์
นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด
จันทบุรี
องค์การบริหารส่วนจังหวัดจันทบุรี อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
22000
โทร. 0-3931-9999 e-mail: admin@chan-pao.go.th.
สวนภูมิรักษ์ ราษฎร์ประชานุเคราะห์48
130 หมู่ที่ 10 ตาบล พลวง อาเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัด
จันทบุรี 22210
นางสุภาพร พาภักดี
ผู้อานวยการโรงเรียน
.โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ 48 จังหวัดจันทบุรี เดิมชื่อ โรงเรียนศึกษา
สงเคราะห์มะขาม ตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2504 มีพื้นที่ประมาณ 400 ไร่ พื้นที่ที่เป็น
ป่าธรรมชาติประมาณ 200 ไร่ มีพันธุ์ไม้ดั่งเดิมเช่น ตะเคียน ตะแบก ยางนา
สารอง และพืชพวกหวาย ระกา เป็นป่าภูมิรักษ์ ตามโครงการป่าอนุรักษ์
ภายในโรงเรียน ป่ามีความอุดมสมบูรณ์เป็นแหล่งเพาะพันธุ์ของพืชและสัตว์
เล็กๆโดยธรรมชาติและเป็นที่ศึกษาเรียนรู้ทางระบบนิเวศของโรงเรียนและ
ชุมชน
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
ค่ายลูกเสือจันทบุรี
ตาบล พลวง อาเภอ เขาคิชฌกูฏ จันทบุรี
เนื้ อที่ประมาณ 200 ไร่
• ค่ายลูกเสือจันทบุรี
• ค่ายลูกเสือจันทบุรี
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
นายมนตรี ทัดเทียม ผู้อานวยการ
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
ประถมศึกษาจันทบุรีเขต 1 ปฏิบัติ
หน้าที่ศึกษาธิการจังหวัดจันทบุรี
สานักงานศึกษาธิการจังหวัด
จันทบุรี 22000 โทรศัพท์
0922543031
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นฟูจากเดิมที่เป็นป่าเสื่อมโทรมที่มี
สภาพรกร้าง มีไม้ยืนต้น เช่นยางนา ตะเคียน ตะแบก
และไม้เบญจพรรณอื่นๆ
อนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟูสภาพป่า แหล่งศึกษาเรียนรู้
ของชุมชน ยกระดับค่ายลูกเสือเพื่อเป็นการเฉลิมพระ
เกียรติสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ
องค์อุปถัมภ์ของคณะลูกเสือแห่งชาติ ในโอกาสเฉลิม
พระชนมพรรษา 7 รอบ 12 สิงหาคม 2559
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มทร.ตะวัน
ออก
• โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมาจากพระราชดาริ
• สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี
• มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจันทบุรี
• โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ มทร.ตะวันออก
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นฟูจากเดิมที่เป็นป่าเสื่อมโทรมที่มีสภาพ
รกร้าง ไม่มีการใช้ประโยชน์แต่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ ซึ่งได้
เริ่มดาเนินการปรับปรุงสภาพพื้นที่ดังกล่าวตั้งแต่ ปี พ.ศ.
2538 และได้จัดทาเส้นทางเดิน และป้ายชื่อความหมายโดย
ได้รับการสนับสนุนงบประมาณการดาเนินงานจากโครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯมีพันธุ์ที่สาคัญได้แก่ ต้นสารอง กระบก
ต้นเนียง พืชสมุนไพรต่างๆ
อนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟูสภาพป่าชุมชนตลอดจน
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่โครงการให้มีสภาพที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น
และเกิดประโยชน์อย่างยั่งยืน สร้างเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน
รองอธิการบดีประจาวิทยา
เขต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลตะวันออก
วิทยาเขตจันทบุรี
ต.พลวง
อ.เขาคิชฌกูฏ
จ.จันทบุรี 22210
โทร.039-309261-4
สวนสมุนไพรจันทบุรี
20
สวนสมุนไพรจันทบุรี สถาบันวิจัยสมุนไพร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ ที่ตั้ง ต . อ่างคีรี อ .
มะขาม จ . จันทบุรี
ตาแหน่งที่ตั้ง
สวนสมุนไพรจันทบุรี
21
• นายประถม ทองศรีรักษ์ นักวิชาการเกษตรชานาญการ
ห้องปฏิบัติการเกษตร สวนสมุนไพรจันทบุรี สถาบันวิจัยสมุนไพร
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
• โทร. 039-413-177 , 087-537-4560
• สภาพพื้นที่ป่าอนุรักษ์ จานวน 40 ไร่ จัดทาเป็นสวนสมุนไพร เพื่อเป็นแหล่งปลูกรวบรวมพันธุ์และ
อนุรักษ์พันธ์พืชสมุนไพร จานวนมากกว่า 500 ชนิด จัดตั้งขึ้นตั้งแต่ปี พ . ศ . 2486
• การใช้ประโยชน์พื้นที่ศึกษาวิจัยด้านการปลูกพืชสมุนไพรผลิตวัตถุดิบสมุนไพร สาหรับศึกษา วิจัยของ
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ มีโรงล้าง อบ ตากสมุนไพร สาหรับปฏิบัติงานและการสาธิต เป็นแหล่ง
เพาะขยายพันธุ์พืชสมุนไพร ผลิตกล้าไม้เพื่อสนับสนุนการปลูกสมุนไพรในพื้นที่ต่าง ๆ ทั่วประเทศปีละ
ไม่ต่ากว่า 20,000 ต้น จัดเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ประจาจังหวัดจันทบุรี.
ผู้บริหารจัดการพื้ นที่
22
2) บริหารร่วมกัน (SHARED GOVERNANCE)
มีระดับของการร่วมบริหารที่แตกต่างกันไป เช่น การร่วมมือกัน
(COLLABORATIVE MANAGEMENT) จัดการร่วมกัน
(JOINT MANAGEMENT) หรือจัดการแบบข้าม พรมแดน
(TRANSBOUNDARY MANAGEMENT)
29
ป่าชุมชนบ้านพญาบน หมู่ที่ 3
ตาบลวังแซ้ม อาเภอ มะขาม จังหวัด จันทบุรี
34
ต๖
หมู่ที่ 3 บ้านพญาบน ต.วังแซ้ม อ.มะขาม จ.จ
35
• นายธนพัฒน์ ชุ่มจิตต์
นายกเทศมนตรีตาบลวังแซ้ม
• เทศบาลตาบลวังแซ้ม
• ที่อยู่ 40 ม.5 ต.วังแซ้ม
• อ.มะขาม จ.จันทบุรี 22150
โทร. 039-411245 ต่อ
12-18
สภาพพื้นที่ เป็นสวนป่าสาธารณะประโยชน์ของหมู่บ้านและมีต้นไม้ท้องถิ่น
ขึ้นอยู่หลายชนิด ได้แก่ ประดู่ ตะเคียน กระท้อนรอกและต้นไม้ปลูกเช่น ต้น
กระถินเทพา เป็นต้น อายุมากกว่า 20 ปี
เนื้ อที่ตามหลักฐานหนังสือรับรอง 99 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า แหล่งศึกษาเรียนรู้
แผนการดาเนินงาน ปัจจุบันเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชนและเป็นพื้นที่สาหรับ
ทาวิจัยของสถาบันการศึกษา (เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ)
คณะทางาน นายศรัญญู ไชยทรัพย์ โทร.0989985538
ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 3 และกรรมการหมู่บ้าน
เทศบาลตาบลวังแซ้ม อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี
36
องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่
อาเภอนายายอาม
แหล่งเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง
(ข้าหลวงโฮมสเตย์ )
37
หมู่ที่.2 ต.วังใหม่ อ.นายายอาม จ.จันทบุรี พื้นที่ 24
38
• นายนริศ กิจอุดม
• นายกองค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่
• องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่
• เลขที่ 47 หมู่ที่ 3 ต.วังใหม่
• อ.นายายอาม จ.จันทบุรี 22170
Email : wangmaichan@gmail.com
โทรศัพท์ 039-491634
คณะทางาน ผอ.ภมร และ ผู้ใหญ่บ้านหมู่ที่ 2
บ้านวังใหม่และกรรมการหมู่บ้าน
สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่ส่วนบุคคลบริหารจัดการโดยยึดหลักเศรษฐกิจพอเพียง
ทาสวนเกษตรผสมผสาน ปลอดสารพิษและปลูกพืชสมุนไพร มีธุรกิจโฮมสเตย์
ขนาดเล็ก เป็นพื้นที่จัดกิจกรรมสันทนาการของหมู่บ้าน เนื้ อที่ตามหลักฐาน
หนังสือรับรองเอกสารสิทธิ์ 24 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า
แหล่งศึกษาเรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียง ภูมิปัญญาท้องถิ่น
แผนการดาเนินงาน ปัจจุบันเป็นศูนย์เรียนรู้ของชุมชน
ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง(เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรม
พืชฯ)
องค์การบริหารส่วนตาบลวังใหม่
อาเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี
39
โครงการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
ชายทะเล
โรงเรียนบ้านท่าแฉลบ อ.เมือง จ.จันทบุรี
40
ที่ตั้ง โรงเรียนบ้านท่าแฉลบ
หมู่ที่ 1 ตาบลบางกะจะ
อาเภอเมือง
จังหวัดจันทบุรี 22000 พื้นที่
เทศบาลตาบลบางกะจะ อาเภอเมืองจันทบุรี
• นายสิทธิรัตน์ ศรีจันทร์
• นายกเทศมนตรีตาบลบางกะจะ
• เทศบาลตาบลบางกะจะ
หมู่ที่ 3 ต.บางกะจะ อ.เมือง จ.
จันทบุรี 22000
โรงเรียนบ้านท่าแฉลบ ที่ตั้งเลขที่ 65 หมู่ที่ 9 ตาบลบางกะจะ
อาเภอเมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี
สังกัดสานักงานเขตพื้ นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต1
สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งภายใน
โรงเรียน มีสภาพเป็นป่าชายเลน เนื้ อที่ 2
ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่ อนุรักษ์
ปกปักษ์ป่า แหล่งศึกษาเรียนรู้ ป่าชายเลน
แผนการดาเนินงาน ปัจจุบันเป็นศูนย์
เรียนรู้ของนักเรียนและชุมชน (เข้าร่วม
โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ)
42
ป่ าสาธารณะประโยชน์(ป้าช้าเดิมของหมู่บ้าน)บ้านหางแมว ต. ขุนซ่อง อ.
แก่งหางแมว (พื้ นที่ 11 ไร่)
43
หมู่ที่ 4 บ้านหางแมว
ตาบลขุนซ่อง อาเภอแก่ง
44
องค์การบริหารส่วนตาบลขุนซ่อง อาเภอแก่ง
หางแมว
• องค์การบริหารส่วนตาบลขุนซ่อง
เลขที่ 112 หมู่ที่ 3 ตาบลขุนซ่อง
อาเภอแก่งหางแมว จังหวัดจันทบุรี 22160
โทรศัพท์ : 0-3930-8936 ต่อ 10
โทรสาร : 0-3930-8969 ต่อ 20
• www.khunsong.go.th ::
นายเดช จินโนรส
นายก อบต.ขุนซ่อง
คณะทางาน ผู้ใหญ่บ้านหมู่ 4 บ้านหางแมวและกรรมการหมู่บ้าน
สภาพพื้นที่ เป็นสวนป่าสาธารณะประโยชน์(ป่า
ช้าเดิม)ของหมู่บ้านและมีต้นไม้ท้องถิ่นขึ้นอยู่
หลายชนิด ได้แก่ ประดู่ ตะเคียน เป็นต้น อายุ
มากกว่า 20 ปี เนื้ อที่ตามหลักฐานหนังสือ
รับรอง 11 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์
ป่า
แผนการดาเนินงาน ป่าอนุรักษ์ ศูนย์เรียนรู้
ชุมชน (เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืช
ฯ)
45
ป่าชายเลนเสื่อมโทรมของเอกชน
46
แหล่งเรียนรู้ธรรมชาติ ป่ าชายเลน เทศบาลตาบลเกวียนหัก
หมู่ที่ 2 ต.เกวียนหัก อ.ขลุง จ.จันท
47
เทศบาลตาบลเกวียนหัก อ.ขลุง
• นายพินัย พะยม
• นายกเทศมนตรีตาบลเกวียนหัก
เทศบาลตาบลเกวียนหัก
เลขที่12 หมู่ที่ 4 ถนนทางหลวง
• ต.เกวียนหัก อ.ขลุง จ.จันทบุรี
22110
• โทร. 039-442052
สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่ส่วนบุคคล สภาพเป็นนากุ้ง
เดิม บริเวณป่าชายเลนเสื่อมโทรม บริหารจัดการ
โดยนายกเทศมนตรีตาบลเกวียนหัก เป็นพื้นที่
จัดกิจกรรมเชิงอนุรักษ์ มีเนื้ อที่ประมาณ 8 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์
ป่า แหล่งศึกษาเรียนรู้
แผนการดาเนินงาน ปัจจุบันเป็นแหล่งเรียนรู้ของ
ชุมชน (เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ)
48
สวนป่าวัดโป่งเจริญชัย ต.ทับช้าง อ.สอยดาว จ.จันทบุรี
49
วัดโป่งเจริญชัย หมู่ที่ 4 ต.ทับช้าง อ.สอยดาว จ.จันทบ
50
นายลาดวน เพชรน้อย
นายกเทศมนตรีตาบลทับช้าง
เทศบาลตาบลทับช้าง
108 /1 หมู่ที่ 1 ถ.เฉลิมพระเกียรติ ร.9
ต.ทับช้าง อ.สอยดา จ.จันทบุรี 22180
Email : thapchang@outlook.co.th
โทรศัพท์ 0-3939-3020
สภาพพื้นที่ เป็นพื้นที่สาธารณะ
ประโยชน์ภายใน ศาสนสถาน และ
เป็นแปลงปลูกป่าใหม่ได้แก่ ต้น
ตะเคียน เป็นต้น อายุมากกว่า 5
ปี เนื้ อที่ตามหลักฐานหนังสือรับรอง
24 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่
อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า
แผนการดาเนินงาน อนุรักษ์ปก
ปักษ์ป่า (เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชฯ)
เทศบาลตาบลทับช้าง
อาเภอสอยดาว จังหวัดจันทบุรี
51
52
สวนป่ าอนุรักษ์ที่สาธารณะประโยชน์ หมู่5
หมู่ที่ 5 ตาบลจันทเขลม อาเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
หมู่ที่ 5
ตาบลจันทเขลม อ.เขาคิชฌ
• 51
53
• คณะทางานในพื้ นที่ นางสาวกัญนิถา น้อยชิน ผู้ใหญ่บ้านหมู่
ที่ 5
• ตาบลจันทเขลม อาเภอเขาคิชฌกูฏ จังหวัดจันทบุรี
โทร.090-502-0324
•
• สภาพพื้ นที่ เป็นสวนป่าปลูกและไม้ท้องถิ่น ชนิดพรรณไม้ ได้แก่
กระถินเทพา ประดู่ เป็นต้น อายุประมาณ 20 ปี เนื้ อที่ตาม
หลักฐานหนังสือรับรอง 40 ไร่
• กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้ นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า และอนุรักษ์และ
ส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น (วัฒนธรรมชอง ชนเผ่าท้องถิ่น งาน
ประเพณีและกิจกรรมในท้องถิ่นอื่นๆ)
• แผนการดาเนินงาน ป่าอนุรักษ์ปกปักษ์ (เข้าร่วมโครงการอนุรักษ์
พันธุกรรมพืชฯ)
นายสุเนส เฉียงเหนือ
นายกเทศมนตรีตาบลจันทเขลม
เทศบาลตาบลจันทเขลม 1/1 หมู่ที่ 2 ต.
จันทเขลม อ.เขาคิชฌกูฏ จ.
จันทบุรี 22210 โทร 039-309962
54
ที่สาธารณะประโยชน์ ม.1 ต.พลวง
55
อาเภอเขาคิชฌกูฏ
ที่สาธารณะประโยชน์ ม.1 บ้านศาลาแดง ต.พลวง อ.เขาคิชฌกูฏ จ.จันทบุรี
56
แนวทางกาดาเนินการ อนุรักษ์ รักษา และ
ฟื้ นฟูสภาพป่าชุมชนตลอดจน
ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่โครงการให้มีสภาพ
ที่สมบูรณ์ยิ่งขึ้น และเกิดประโยชน์อย่างยั่งยืนกับ
ชุมชนและเพื่อใช้ประโยชน์เพื่อการศึกษาวิจัย
เกี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ และจัดสิ่งแวดล้อม
ให้เหมาะสม ทาสวนสมุนไพร จัดทาเส้นทาง
เดิน และป้ายชื่อความหมายโดยได้รับการ
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นเดิมไม่มีการใช้
ประโยชน์แต่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์และ
บางส่วนเป็นสวนยางพารา สระน้าและลาน
เอนกประสงค์ มีอาคารเอนกประสงค์ ของ
หมู่บ้าน
นายภาณุ วิทูธีรศานต์
กานันตาบลพลวง โทร.081-861-
57
หนองตะพอง
58
ที่อยู่
ตั้งอยู่ถนนเฉลิมพระเกียรติ ร.9 (จันทบุรี-สระแก้ว) ระหว่างกิโลเมตรที่ 8 - 9 หมู่
1 ตาบลมะขาม อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ติดกับที่ทาการเทศบาลตาบลมะขาม
59
• พื้นที่ “แก้มลิง” 1ในจานวน 20 แห่ง แก้มลิงหนองตะพอง
ตาบลมะขาม อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี
• ความจุ 4,100,000 ลูกบาศก์เมตร
• อ่างเก็บน้าหนองตะพอง
• เป็นแหล่งเก็บน้าจืดขนาดใหญ่ของตาบลและอาเภอมะขาม และ
สร้างเป็นโครงการแก้มลิงป้องกันอุทกภัย มีเนื้ อที่ประมาณ 600
ไร่ และมีพื้นที่สาธารณะอื่นๆ โดยรอบ รวมเป็นเนื้ อที่ทั้งหมด
ประมาณ 800 ไร่ บริเวณโดยรอบและพื้นที่เป็นเกาะเป็นสวนป่า
อนุรักษ์ อีกทั้งเป็นแหล่งพันธุ์ปลาทุกชนิด ถวายเป็ นราชสักการะ
แด่สมเด็จพระนางเจ้าพระบรมราชินีนาถในวโรกาสที่ทรงมีพระ
ชนม์มายุครบ 72 พรรษา
โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัดจันทบุรี
เทศบาลตาบลมะขามเมืองใหม่
ที่อยู่: 227/15 หมู่ 1 ถนนเฉลิมพระเกียรติ
ตาบลมะขาม อาเภอมะขาม จังหวัด จันทบุรี 22150
โทรศัพท์: 0-3938-9534-8
61
สานักสงฆ์เขาโสมคีรี
ตาบล หนองตาคง อาเภอโป่ งน้า
ร้อน
• สานักสงฆ์เขาโสมคีรี เนื้ อที่ ประมาณ 15 ไร่
• สานักสงฆ์เขาโสมคีรี
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นฟูจากเดิมที่เป็นป่า
เสื่อมโทรมโดยปลูกไผ่และไม้เบญจพรรณ
ต่างๆ
และมีนโยบายอนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟูสภาพ
พื้นที่ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น
นายณัฐพงษ์ ศิริสื่อสุวรรณ
นายกเทศมนตรีตาบลหนองตา
คง
เทศบาลตาบลหนองตาคง
เลขที่119 หมู่ที่ 2 ตาบลหนองตาคง
อาเภอโป่งน้าร้อน จังหวัดจันทบุรี
E-mail : nongtakong10@gmail.com
สวนป่ าชายเลนวัดเสม็ดงาม
หมู่ 1 14 ตาบล หนองบัว อาเภอ
เมืองจันทบุรี จันทบุรี 22000
039 454 043
เพื่อ• สวนป่ าชายเลนวัดเสม็ดงาม
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
3348 ตาบล หนองบัว อาเภอเมืองจันทบุรี จันทบุรี 22000
สภาพเป็นป่าชายเลนที่สมบูรณ์ เช่น
ต้นโกงกาง เป็นแหล่งเพาะพันธุ์สัตว์
น้า เพื่ออนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟู
สภาพป่าชายเลน
นายสมโภชน์ ชินวงค์
นายกองค์การบริหารส่วนตาบลหนองบัว
เลขที่: 3348 ตาบลหนองบัว อาเภอ
เมืองจันทบุรี จังหวัดจันทบุรี 22000
โทรศัพท์:039 450 353
หนองตะเพลิง
เป็นแหล่งน้าเพื่อการเกษตรของเกษตรกรและเป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ
อ่างเก็บน้าหนองกะเพล
สถานที่ตั้ง :หมู่ที่ 6 ตาบลท่าหล
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
เทศบาลตาบลท่าหลวง ตั้งอยู่เลขที่ 38 หมู่ที่
4 ถนนน้ารัก-บ้านไทย ตาบลท่า
หลวง อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี 039
สภาพที่ลุ่มต่า ปัจจุบันขุดลอกเป็นที่เก็บน้า
แก้มลิงในโครงการป้องกันอุทกภัยในจังหวัด
จันทบุรี และเก็บน้า เพื่อใช้ในการเกษตร
อนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟูสภาพแหล่งน้าเพิ่อ
การเกษครและอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโครงการ
ป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยจังหวัด
จันทบุรี แก้มลิงหนองกะเพลิง ตาบลท่าหลวง
อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี
ความจุ 3,085,000 ลูกบาศก์เมตร
สานักสงฆ์พระบาทเขามะขาม
• สานักสงฆ์พระบาทเขามะขาม
ต.มะขาม อ.มะขาม จ.จันทบุรี
• สานักสงฆ์พระบาทเขามะขาม
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
พระครูสุนทรธรรมุเทศ (พีระ มุนิ
เจ้าอาวาสวัดมะขาม(ผู้ดูแลสานักส
โทร.039-389086
เป็นพุทธสถานปริวาสกรรมที่
เงียบสงบ มียอดเขาสูงเป็นที่
ประดิษฐานรอยพระพุทธบาท
จาลอง ที่ทุกปีจะมีผู้คนที่เลื่อมใส
มาสักการบูชา สภาพเป็นป่าดิบ
เขา ต้นไม้ขึ้นอุดมสมบูรณ์ อายุ
กว่า 100 ปี เช่นตะเคียน ยาง
นา และพันธุ์ไม้ป่าอื่นๆ ปัจจุบัน
เป็นที่วิเวิกเหมาะสาหรับการ
ปฏิบัติธรรม และมีสวนสมุนไพร
หนองชิ่มบ้านฉันตามรอยพ่ออย่างพอเพียง
172
ลมสิงห์
175
พื้นที่นาข้าวเกษตรอินทรีย์
ต.หนองชิ่ม อ.แหลมสิงห์ จ.จันทบุร
องค์การบริหารส่วนตาบลหนองชิ่ม
อาเภอแหลมสิงห์
สภาพพื้นที่ เป็นนาข้าว บางส่วนเคย
เป็นบ่อเลี้ยงกุ้งเดิม เนื้ อที่ประมาณ
1,700 ไร่
กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้นที่
อนุรักษ์วิถีชีวิตและประเพณีดั่งเดิม
ชองชุมชนที่เคยทานาเป็นอาชีพหลัก
และส่งเสริมให้ทานาแบบอินทรีย์ มี
กิจกรรมการรวมกลุ่มทานาและมี
โรงสีของชุมชน ผลิตข้าวสาร-ข้าว
กล้อง ในนามสินค้าชุมชน
แผนการดาเนินงาน แปลงอนุรักษ์
25
ป่ าชุมชนดงชะมูล
• ป่าชุมชนดงชะมูล
เนื้ อที่ : 36 ไร่ 2 งาน 92 ตาราง
ต.ท่าช้าง อ.เมืองจันทบุรี จ.
จันทบุรี
• ป่าชุมชนดงชะมูล
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นฟู
จากเดิมที่เป็นป่าเสื่อม
โทรมที่มีสภาพรกร้าง ไม่
มีการใช้ประโยชน์มีพันธุ์
ไม้ เช่น ยางนา ตะเคียน
และพืชสมุนไพร เป็นต้น
นางสาวจิราภรณ์ ศรีเสริม นายกอบต.ท่า
ช้าง องค์การบริหารส่วนตาบลท่าช้าง
อาเภอเมืองจันทบุรี จันทบุรี22000
โทรศัพท์:039-453341
ชื่อป่าชุมชน : ป่าชุมชนบ้านดงชะมูล
ปีที่เริ่มโครงการ : 2556
ที่ตั้ง : ต.ท่าช้าง อ.เมืองจันทบุรี จ.จันทบุรี
เนื้ อที่ : 36 ไร่ 2 งาน 92 ตารางวา
ประเภทป่า : ป่าตาม พ.ร.บ. ป่าไม้
พ.ศ.2484
หมู่บ้าน : ท่าช้าง (หมู่ 2)
ข้อมูลการขึ้นทะเบียน
ปีที่ขึ้นทะเบียน : 2556ปีที่สิ้นสุด : 2561
เลขที่หนังสืออนุมัติโครงการ : ทส
1605.43/19800 ลว. 12 ต.ค. 55
สานักสงฆ์เนินพูลศิลป์
• สานักสงฆ์เนินพูลศิลป์
ตาบล เขาแก้ว อาเภอ ท่าใหม่ จันทบุรี 221
• สานักสงฆ์เนินพูลศิลป์
ผู้บริหารจัดการพื้นที่
นายพิเชษฐ บัญชาดิฐ
นายก อบต.เขาแก้ว
เลขที่ 2 ตาบลเขาแก้ว อาเภอ
ท่าใหม่
จังหวัดจันทบุรี 22170
สภาพพื้นที่เป็นป่าฟื้ นฟูจากเดิมที่เป็น
ป่ายางพาราที่มีสภาพรกร้าง ไม่มีการ
ใช้ประโยชน์แต่มีสภาพป่าที่อุดม
สมบูรณ์ ได้แก่ ต้นสมพงยางนา
ตะเคียน เป็นต้น
อนุรักษ์ รักษา และฟื้ นฟูสภาพพื้นที่
ปลูกต้นไม้ให้ความร่มรื่น
บริหารร่วมกัน
ศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชดาริ จังหวัดจันทบุรี
30
31
• โครงการศูนย์พัฒนาไม้ผล ตาม
พระราชดาริ จังหวัดจันทบุรี ตั้งอยู่ที่
บ้านทุ่งโตนด หมู่ที่ 8 ตาบลท่าหลวง
อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี มีเนื้ อที่
ประมาณ 109 ไร่ อยู่ระหว่างพิกัด
N 1408500 - 1409400 E
186900 187500 บนแผนที่
ประเทศไทย มาตราส่วน 1 :
50,000 ลาดับชุดที่ L7018 ระวาง
แผนที่ 5434 III ห่างจาก
อาเภอมะขามไปทางทิศใต้ ประมาณ
6 กิโลเมตร และห่างจากศาลากลาง
จังหวัดจันทบุรี ตามเส้นทาง จันทบุรี-
อาเภอเขาคิชฌกูฏ ประมาณ 16
กิโลเมตร
32
โครงการศูนย์พัฒนาไม้ผล ตามพระราชดาริ จังหวัดจันทบุรี
• วัตถุประสงค์ของโครงการ
• 1.เป็นจุดเรียนรู้ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
• 2.พัฒนาผลผลิตไม้ผลในรูปแบบเกษตรอินทรีย์
• 3.ส่งเสริมการผลิตให้สามารถจาหน่ายได้ทั้งภายในและภายนอกประเทศ
• ศูนย์พัฒนาไม้ผลตามพระราชดาริ บ้านทุ่งโตนด หมู่ที่ 2 ตาบลท่าหลวง อาเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี ที่สานักงาน
เกษตรและสหกรณ์จังหวัดจันทบุรี เปิดเป็นสวนผลไม้ชวนชิมให้ประชาชน และนักท่องเที่ยวเข้าเยี่ยมชม ศึกษาเรียนรู้
รองรับการท่องเที่ยวสวนผลไม้เชิงเกษตรในช่วงเทศกาลต่างๆ
สาหรับสถานที่ดังกล่าว เป็ นศูนย์เรียนรู้ต้นแบบเพื่อการพัฒนาการเกษตรสู่ความยั่งยืน ด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม ในรูปแบบเกษตรอินทรีย์ ภายใต้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อให้เกษตรกรและชุมชนในท้องถิ่นเข้ามาศึกษาเรียนรู้ นาไปเป็นแบบอย่าง ลดต้นทุนการผลิต และพัฒนาผลผลิตให้มี
คุณภาพ มีความปลอดภัยต่อผู้บริโภค รักษาสภาพแวดล้อม อนุรักษ์ดิน น้าป่ า ให้คงไว้ซึ่งความสมบูรณ์ของระบบนิเวศ
• พร้อมทั้งเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวเชิงเกษตร เปิ ดให้เกษตรกร ประชาชน นักเรียน นักศึกษา และนักท่องเที่ยวเข้า
เที่ยวชมเก็บเกี่ยวความรู้ ฟรี ตลอดทั้งปี
สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดจันทบุรี หมายเลขโทรศัพท์ 0-3932-7088
และผู้จัดการสวน รท.อารีย์ ประคอง
33
หมู่บ้านเฉลิมพระเกียรติ "ม.6 บ้านสีลาเทียน
ตาแหน่งที่ตั้ง
• หมู่บ้านเฉลิมพระเกียรติ "ม.6 บ้านสีลา
เทียน ต.บางชัน อ.ขลุง จ.จันทบุรี
• หมู่บ้านเฉลิมพระเกียรติ "ม.6 บ้านสีลาเทียน
• ต.บางชัน อ.ขลุง จ.จันทบุรี
องค์การบริหารส่วนตาบลบางชัน
เลขที่ 87 หมู่ที่ 3 ตาบลบางชัน อาเภอขลุง
จังหวัดจันทบุรี 22110 โทรศัพท์ : 0-
3946-0951 โทรสาร : 0-3946-0951
นายสนั่น แก้วขาว
นายกองค์การบริหาร
ส่วนตาบลบางชัน
หมู่บ้านส่วนใหญ่อยู่ในสภาพพื้นที่ป่าชายเลนและชนิดป่า เป็นป่าชายเลน ชนิดพรรณไม้
ที่สาคัญ แสม โกงกางใบใหญ่ โกงกางใบเล็ก ตะบูน เหงือกปลาหมอ
ปรง เถาถอบแถบ เป็นต้นศูนย์ศึกษา สร้างคน สร้างป่า
พัฒนาคุณภาพชีวิต การฝึกอบรมอาชีพ ปลูกจิตสานึกการอนุรักษ์
เพื่อการอนุรักษ์และฟื้ นฟูป่าชายเลนและทรัพยากรชายฝั่งอย่างยั่งยืน
ภายใต้หลักการจัดการทรัพยากรอย่างเป็นธรรมและยั่งยืน
โครงการพุทธอุทยานในการดูแลของกรมป่ าไม้
ในพื้ นที่ ๔ จังหวัด ภาคตะวันออก
ที่มาของข้อมูลพิกัดพื้นที่:นายรักษา สุนินทบูรณ์
นักวิชาการป่าไม้ชานาญการ
ส่วนจัดการป่าชุมชน สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ ๙
(ชลบุรี)
62
• กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม มีนโยบายเพื่อดาเนินการตามมติคณะรัฐมนตรีดังกล่าว ในการแก้ไขปัญหา
พระสงฆ์ในพื้นที่ป่าไม้มาอย่างต่อเนื่อง และจากการประชุม คณะกรรมการป้องกันและแก้ไขปัญหาพระสงฆ์ในพื้ นที่ป่าไม้ ครั้ง
ที่ 1/2552 เมื่อวันที่ 19 มิถุนายน 2552 ณ ห้องประชุม ชั้น 20กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม (นายสุวิทย์ คุณกิตติ) ได้ให้แนวทางในการดาเนินงานประการ
หนึ่งคือ ขอให้สานักพระพุทธศาสนาแห่งชาตินิมนต์พระสังฆาธิการมาร่วมหารือแนวทางในการป้องกันและแก้ไขปัญหา
พระสงฆ์ในพื้นที่ป่าไม้ เนื่องจากกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมมีนโยบายว่า ที่พักสงฆ์ที่อยู่ในพื้นที่ที่เหมาะสม
นั้น สามารถพัฒนาเป็น “พุทธอุทยาน” เพื่อเป็นสถานที่เรียนรู้พุทธศาสนาและปฏิบัติธรรมควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่า
ไม้ได้ โดยต้องไม่มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนาเป็นสิ่งก่อสร้าง
63
ที่อยู่: หมู่ 2 ตาบล สองพี่น้อง อาเภอ ท่าใหม่ จังหวัด จันทบุรี 2
โครงการพุทธอุทยาน กรมป่ าไม้ 2556
สานักสงฆ์เขาห้วยสะท้อน
อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
(พื้ นที่ประมาณ200 ไร่)
64
70
เทศบาลตาบลสองพี่น้อง
ร่วมกับประธานสานักสงฆ์และกรมป่ าไม้
นายมานะ วิเวโก
นายกเทศมนตรีตาบลสองพี่
น้อง
เทศบาลตาบลสองพี่น้อง
อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
22120
โทร 039433616-7
webmaster: mongkol puangboonchu
• สภาพพื้ นที่ปัจจุบัน เป็นป่าอุดมสมบูรณ์ จากป่าเสื่อม
โทรมที่ถูกถากถางทาไร่-นา และได้รับการปกปักษ์รักษา
จากพระสงฆ์ที่เข้ามาปฏิบัติธรรมในพื้นที่ ตั้งแต่ปี
พ.ศ.2526 พันธุ์ไม้ที่ขึ้นอยู่ในพื้นที่ได้แก่ ตะเคียน
ประดู่ เลือดควาย และไม้ป่าเบญจพรรณอื่นๆ มีพื้ นที่
ประมาณ 300ไร่
• กิจกรรมที่ดาเนินการในพื้ นที่ อนุรักษ์ปกปักษ์ป่า และ
อนุรักษ์และส่งเสริมวัฒนธรรมท้องถิ่น
• แผนการดาเนินงาน ปัจจุบันเป็นโครงการพุทธอุทยาน
กรมป่าไม้ ปีงบประมาณ 2556 (เข้าร่วมโครงการ
อนุรักษ์พันธุกรรมพืชฯ)
66
67สานักสงฆ์แปดทิศ ต.เขาบายศรี อ,ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
68
สานักสงฆ์แปดทิศ ต.เขาบายศรี อ,ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
• เทศบาลเขาบายศรี
• อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี
• ร่วมกับประธานสานักสงฆ์และกรมป่าไม้
เทศบาลตาบลเขาบายศรี อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี 22120 Tel 0-3949-
5025-7
e-mail : khaobaisri@hotmail.com
69
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมมีนโยบายว่า ที่พักสงฆ์ที่อยู่
ในพื้นที่ที่เหมาะสมนั้น สามารถพัฒนา
เป็น “พุทธอุทยาน” เพื่อเป็นสถานที่
เรียนรู้พุทธศาสนาและปฏิบัติธรรม
ควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ได้
โดยต้องไม่มีวัตถุประสงค์ที่จะพัฒนา
เป็นสิ่งก่อสร้าง
สานักสงฆ์เขาจันทาฐิตวิริยาจารย์ 71
ตาบลทุ่งเบญจา อาเภอท่าใหม่ จังหวัดจันทบุรี
72
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี
อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี

More Related Content

Similar to อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี

ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติป๊อก เบาะ
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ HistoryDraftfykung U'cslkam
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยchakaew4524
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคมKittiya Bee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคมโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคมKittiya Bee
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยNakhon Pathom Rajabhat University
 
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1page
สไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1pageสไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1page
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4page
สไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4pageสไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4page
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนพัน พัน
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1teacherhistory
 

Similar to อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี (20)

2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
History of the world
History of the worldHistory of the world
History of the world
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ
 
สื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ Historyสื่อการเรียนรู้ History
สื่อการเรียนรู้ History
 
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทยหัวข้อที่  ๔  ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
หัวข้อที่ ๔ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในประเทศไทย
 
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราชโลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
 
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรมUnit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
Unit2 การสร้างสรรค์อารยธรรม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคมโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่อง วัฒธรรมไทย โดยนักเรียนร.รหัวเรือพิทยาคม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคมโครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคม
โครงงานคอมพิวเตอร์ โดยนักเรียนหัวเรือพิทยาคม
 
A2 thai-history
A2 thai-historyA2 thai-history
A2 thai-history
 
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัยการตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
การตั้งถิ่นฐานและลักษณะที่อยู่อาศัย
 
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1page
สไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1pageสไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1page
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-1page
 
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4page
สไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4pageสไลด์  การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4page
สไลด์ การใช้ทรัพยากรกับชุมชน+506+dltvsocp6+55t2soc p06 f05-4page
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
Ecology (2) 3
Ecology (2) 3Ecology (2) 3
Ecology (2) 3
 
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมอีสาน1
 
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรมมนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
มนุษย์ สังคม วัฒนธรรม
 

More from yah2527

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspayah2527
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Areayah2527
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตyah2527
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAyah2527
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...yah2527
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกyah2527
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...yah2527
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกyah2527
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลyah2527
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าyah2527
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์yah2527
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งานyah2527
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพyah2527
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าyah2527
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวyah2527
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกyah2527
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspayah2527
 

More from yah2527 (20)

สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspaสรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
สรุปรวมผลการดำเนินงานโครงการ Catspa
 
Journal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected AreaJournal of Thailand Protected Area
Journal of Thailand Protected Area
 
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิตอุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
อุทยานแห่งชาติ ขุมทรัพย์เพื่อชีวิต
 
NTFP
NTFPNTFP
NTFP
 
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPAรายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
รายงานการประชุมปิดโครงการ CATSPA
 
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
สรุปประเด็นสำคัญในการประชุมเชิงปฎิบัติการเพื่อสังเคราะห์ความรู้และสรุปบทเรียน...
 
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติการจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
การจัดการอุทยานแห่งชาติอย่างมีส่วนร่วมในรูปแบบคณะกรรมการที่ปรึกษาอุทยานแห่งชาติ
 
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตกป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
ป่ากันชนในกลุ่มป่าตะวันตก
 
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
การสำรวจประเมินมูลค่า การพึ่งพิงรัพยากรและการใช้ประโยชน์ผลผลิตจากป่าที่ไม่ใช่...
 
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตกคมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
คมกริช เศรษบุบผา กิจกรรมป่าตะวันตก
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้าความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
ความยั่งยืนของท้องทะเลตะรุเตา คนรุ่นนี้ สู่คนรุ่นหน้า
 
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ อช ดอยอินทนนท์
 
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
9.00 อ.ปรารพ (2) งานนำเสนอปิดโครงการ catspa ใช้งาน
 
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
9.00 อ.เดชา (1) การลาดตระเวนเชิงคุณภาพ
 
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่าแนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
แนวทางการวางระบบการติดตามปัญหาการเผชิญหน้าระหว่างคนกับช้างป่า
 
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมวคนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
คนกับช้างป่าที่แก่งหางแมว
 
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออกโครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
โครงการประเมินมูลค่าการใช้น้ำป่าตะวันออก
 
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspaอ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
อ.มานพ งานนำเสนอเวที Catspa
 

อ.ศุภวััฒน์ พื้นที่คุ้มครองจันทบุรี