SlideShare a Scribd company logo
โครงการอาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน
  กิจ กรรมความรู้ส ู่ช ุม ชน ( การถ่า ยทอดเทคโนโลยี )
ผู้น ำา เสนอ
         1. นายวรรษฑีระ ปานบุตร
         2. นางนัยนา ปทุมสูติ
         3. เด็กหญิงนิตยา เพชรซ้อน
         4. เด็กหญิงเสาวลักษณ์ อ่อนน้อย

สถานที่ด ำา เนิน การ
    โรงเรียนบ้านหนองเค็ด หมู่ที่ 2 ตำาบลหนองนกแก้ว อำาเภอ
หนองนกแก้ว จังหวัดกาญจนบุรี
    วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี กาญจนบุรี
ระยะเวลาในการดำา เนิน การ
       พฤษภาคม 2554 -        มีนาคม 2555
วัต ถุป ระสงค์ก ารดำา เนิน งาน
       1. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารอาหารกลางวันที่มี
คุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อ                ความต้องการของร่างกาย
และมีสุขภาพอนามัยที่ดี
       2. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน
       3. ส่งเสริมสนับสนุน การนำาผลผลิตมาใช้เพื่อสร้างความเข้ม
แข็งให้กับโรงเรียนและสามารถจัด              อาหารกลางวันได้อย่าง
ยั่งยืน
       4. นักเรียนสามารถนำาปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงมา
ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
       5. ส่งเสริมอาชีพให้แก่นักเรียนหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับ
       6. เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม
และส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มี         คุณค่าถูกหลักโภชนาการ มีสุข
นิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร ให้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง
และชุมชน
       7. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและ
ชุมชน
       8. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายของชุมชน
รูป แบบวิธ ีด ำา เนิน การ
        โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ในปีการศึกษา 2554 มีนักเรียนจำานวน
ทั้งสิ้น 404 คน มีนักเรียนใน
เขตบริการ 3 หมู่บ้านและมีนักเรียนใกล้เคียงที่มาเข้าเรียนอีกหลาย
หมู่บ้าน ในตำาบลหนองนกแก้ว
อำาเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริม
สนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน
แบบยั่งยืนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ใน 3 กิจกรรม ดังนี้
        1. กิจ กรรมส่ง เสริม การดำา เนิน ชีว ิต แบบพอเพีย งใน
โรงเรีย น ได้แก่
                 1.1 ด้านพืช
              - การปลูกผักสวนครัว โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการปลูกผัก
สวนครัวทุกระดับชั้นเรียน ได้แก่ การปลูกผักบุ้ง ผักชี ต้นหอม
พริก มะเขือ ตะไคร้ ถั่วฝักยาว คะน้า กว้างตุ้ง
              - การปลูกไม้ผล ได้แก่ กล้วย มะม่วง น้อยหน่า
มะละกอ ขนุน ละมุด ชมพู่
              - การทำานา ( ในแปลงซีเมนต์ )
              - การปลูกพืชทดแทนอาหารโปรตีน ( เพาะเห็ดนางฟ้า ,
การปลูกถั่วชนิดต่าง ๆ )
           1.2 การแปรรูปผลผลิต
              - โรงเรียนนำาผลผลิตที่ได้มาแปรรูป ได้แก่ การแปรรูป
จากกล้วย ถั่วเขียว ข้าว

           2. กิจ กรรมส่ง เสริม รายได้ร ะหว่า งเรีย นของนัก เรีย น
ระดับ ชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น
          2.1 การแปรรูปอาหารจากกล้วย
          2.2 การเพาะถั่วงอก
          2.3 การเพาะเห็ดนางฟ้า
          2.4 การทำาข้าวกล้อง

       3. กิจ กรรมถ่า ยทอดความรู้ส ู่ช ุม ชน (การถ่ายทอด
เทคโนโลยี)
       3.1 นักประชาสัมพันธ์น้อย
       3.2 ครูจิตอาสา
ผลการดำา เนิน งาน
   1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าและปลอดภัย
   2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น
   3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน
   4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
   5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น

ความเป็น มาของโครงการอาหารกลางวัน
       โครงการอาหารกลางวัน เป็นโครงการที่เกิดจากความตระหนัก
ของรัฐบาลที่มุ่งแก้ปัญหา ภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งพบว่า นักเรีย
นประถมศึกษาจำานวนมากขาดแคลนอาหารกลางวันหรือมีอาหารกลาง
วันแต่ปริมาณไม่เพียงพอ หรืออาหารมีคุณค่าทางโภชนาการตำ่า ทำา
ให้ภาวะการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข
โครงการอาหารกลางวันเริ่มดำาเนินการมาตั้งแต่ปี 2495 กระทรวง
ศึกษาธิการได้ทดลองจัดอาหารกลางวันแก่นักเรียนในสังกัด ซึ่งพบว่า
โรงเรียนขาดงบประมาณในการดำาเนินงาน ทำาให้ ไม่สามารถจัด
อาหารกลางวันให้นักเรียนขาดแคลนได้อย่างทั่วถึง
      http://schoollunch.obec.go.th/news/parwath/prawa
t.html )

ความเป็น มาของโครงการอาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน
           ในปี พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้
สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับสำานักงานคณะ
กรรมการการอาชีวศึกษา ( สอศ. ) ดำาเนินโครงการอาหารกลางวัน
แบบยั่งยืนร่วมกันสำานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มอบให้
วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีและวิทยาลัยประมง จำานวน 47 แห่ง
ดูแลโรงเรียนในสังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใน
75 จังหวัด โดยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมง
ได้ดำาเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ดังนี้
       1. ให้การสนับสนุนทางวิชาการ โดยการจัดอบรมให้เด็กนักเรียน
       2. สนับสนุนปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์
เพื่อนำาไปผลิตในโรงเรียน
       3. สนับสนุนวัตถุดิบในโรงเรียน เพื่อประกอบอาหารให้เด็ก
นักเรียน
       4. ประสานชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรท้องถิ่น ให้มีส่วนร่วม
ในโครงการ ( ร่วมคิด ร่วมวางแผน             ร่วมทำา ร่วมลงทุน ร่วม
ประเมิน )
5. ให้โรงเรียนประถมศึกษาเป็นแหล่งฝึกงานสำาหรับนักศึกษาของ
สถานศึกษาสังกัดสำานักงาน         คณะกรรมการการอาชีวศึกษา
     6. ขยายการให้บริการด้านความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไปสู่ท้อง
ถิ่น
         7. ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในด้านการดำาเนินการ
โครงการ

ความเป็น มาและความสำา คัญ ของการดำา เนิน การของโครงการ
อาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน
           สภาพชุมชนและลักษณะชุมชน รอบ ๆ บริเวณโรงเรียนบ้าน
หนองเค็ดมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท อยู่กันอย่างกระจัดกระจาย
พื้นที่ส่วนมากเป็นที่ราบค่อนข้างสูงฝนตกน้อยแห้งแล้งสภาพดินส่วน
ใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายและดินเหนียวปนหิน เก็บกักนำ้าไม่ค่อยอยู่
ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ได้แก่
ไร่อ้อย ไร่มันสำาปะหลัง ปลูกข้าวโพด ทำานา ปลูกผักสวนครัว
เลี้ยงสัตว์ และมีอาชีพรับจ้างรายวันเป็นส่วนมาก ประชากรส่วนใหญ่
มีฐานะยากจนรายได้ค่อนข้างตำ่า มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา
เป็นส่วนมาก โรงเรียนบ้านหนองเค็ดเป็นโรงเรียนขยายโอกาสเปิด
เรียนทำาการสอน 3 ระดับ ในปีการศึกษา 2541 คือ ก่อนประถมศึกษา
ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนที่จบการศึกษาในระดับ
สูงสุดของสถานศึกษาส่วนมากไม่มีทุนในการศึกษาต่อในระดับสูง และ
ไม่ค่อยมีเวลาในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการดำาเนินชีวิตใน
ปัจจุบัน จึงยึดหลักในการประกอบอาชีพตามผู้ปกครองที่ปฏิบัติสืบต่อกัน
มา
           โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ได้จัดทำาโครงการอาหารกลางวันใน
สถานศึกษา ในปีการศึกษา 2525 โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก
กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งงบประมาณยังไม่เพียงพอในการดำาเนินงาน
ทำาให้ไม่สามารถจัดอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนขาดแคลนได้อย่างทั่ว
ถึง
           ปีงบประมาณ 2544 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ถ่ายโอนงบ
ประมาณค่าอาหารกลางวันไปให้กระทรวงมหาดไทย ตามพระราช
บัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำานาจให้แก่องค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น
ได้จัดตั้งและจัดสรรงบประมาณเองมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 จนถึง
ปัจจุบัน
โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนบ้านหนองเค็ด ในปัจจุบันได้
รับจัดสรรงบประมาณจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำาบลหนอง
นกแก้ว ในการจัดทำาโครงการอาหารกลางวันฟรีให้กับนักเรียนใน
ระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาทุกคน ส่วนในระดับ
มัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียน นักเรียนต้องซื้ออาหารกลางวันรับ
ประทานเอง ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจนขาดแคลนอาหารกลาง
วันและยังมีภาวะทุพโภชนาการในบางคน จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียน
ได้หาแนวทางในการแก้ปัญหาในหลายวิธี ได้แก่ การจัดทำาแปลง
เกษตรในโรงเรียน เลี้ยงสัตว์ การของบบริจาคเงินและสิ่งของทั้งใน
ภาครัฐและเอกชน ในหลายๆแห่ง ซึ่งการแก้ปัญหาดังกล่าวเป็นการแก้
ปัญหาในระยะสั้นเท่านั้น
          ในปีการศึกษา 2550 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี
กาญจนบุรี ได้คัดเลือกให้โรงเรียน-
บ้านหนองเค็ด เข้าร่วมโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน สู่มาตรฐาน
ในระดับโรงเรียนขยาย
ได้สนับสนุนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำานวน 500 ก้อน และ พันธุ์พืชต่างๆ ให้
กับโรงเรียน เพื่อใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้และนำาผลผลิตไปใช้ในการ
สนับสนุนโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน
          ปีการศึกษา 2551 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี
กาญจนบุรี ได้สนับสนุนเชื้อเห็ดนางฟ้าจำานวน 600 ก้อน พันธุ์พืช
ต่างๆ ให้กับโรงเรียน เพื่อใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้และนำาผลผลิตไปใช้
ในสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนของโรงเรียน
          ปีการศึกษา 2553 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี
กาญจนบุรี ให้การสนับสนุนทางวิชาการ โดยการจัดอบรมการทำา
อาหารประเภทของหวาน ได้แก่ การทำาเค้ก โดนัท การทำาปุ๋ยและนำ้า
หมักชีวภาพ ให้เด็กนักเรียน และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ด
พันธุ์ พันธุ์พืช วัสดุในการทำานำ้าหมักชีวภาพ เพื่อนำาไปผลิตใน
โรงเรียนและขยายผลในโอกาสต่อไป

ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนได้หาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาการจัด
ทำาโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน เพื่อพัฒนาโรงเรียนเข้าสู่
มาตรฐาน โดยประสานกับชุมชน หน่วยงานองค์กรท้องถิ่น ให้มีส่วน
ร่วมในโครงการ ขยายการให้บริการด้านความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ
ไปสู่ท้องถิ่น ให้คนในชุมชนตระหนักถึงความสำาคัญของการดูแล
สุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว ให้มีสุขภาพดี รู้จักการ
วางแผนการดำาเนินชีวิตในปัจจุบันสู่อนาคตที่ยั่งยืน โรงเรียนจึงได้จัด
กิจกรรมเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนในเรื่องเกี่ยวกับ โภชนาการ ด้าน
เกษตรกรรม และส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก
โภชนาการ การสร้างสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร ให้แก่
นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ซึ่งนอกจากจะช่วยแก้ปัญหาการ
ขาดแคลนอาหารกลางวันและภาวะทุพ-โภชนาการของนักเรียนแล้ว
โรงเรียนยังส่งเสริมการหารายได้ในระหว่างเรียนให้กับนักเรียน เพื่อ
เป็นการลดรายจ่ายให้กับครอบครัว ยังสามารถนำาความรู้ที่ได้รับไป
ประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิตในปัจจุบัน และเป็นแนวทางในการ
ประกอบเป็นอาชีพในอนาคต สร้างคนในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ปลูกฝังความรักในท้องถิ่นของตนเอง ดำารงชีวิตตามวิถีพอเพียง
สามารถพึ่งตนเอง ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันนำาไปสู่ความเข้มแข็ง
ของชุมชน โดยนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้
เหมาะสมกับบริบทของชุมชน




        โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนโครงการอาหารกลาง
วันแบบยั่งยืนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ใน 3 กิจกรรม ดังนี้
   1. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม การดำา เนิน ชีว ิต แบบพอ
      เพีย ง
 การดำา เนิน การ            รายละเอีย ด              ระยะ     ผู้ร ับ ผิด
                                                     เวลา       ชอบ
 1. ประชุมชี้แจง       1. โรงเรียนประชุมชี้แจง     พ.ค. 54 ผู้บริหาร
เพื่อสร้างความ     เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่               ครูผู้รับผิด
เข้าใจให้ผู้ที่    เกี่ยวข้องทราบ                                 ชอบ
เกี่ยวข้องทราบ                                                 โครงการ
2. แต่งตั้งคณะ       1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ      พ.ค. 54       สถาน
กรรมการดำาเนิน     กรรมการดำาเนินโครงการ                         ศึกษา
งาน                อาหารกลางวันแบบยั่งยืน

3. รวบรวม            1. ข้อมูลโรงเรียน ด้าน        พ.ค. 54     ครูผู้รับผิด
ข้อมูล วิเคราะห์ บุคลากร ด้านทรัพยากร ด้าน                        ชอบ
ข้อมูลและ        ความต้องการของโรงเรียน                        โครงการ
วางแผนการ        ด้านสภาพแวดล้อม
ปฏิบัติงาน           2. วางแผนการปฏิบัติงาน
                     3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ
                 งาน
4. ดำาเนินงานให้     1. คณะครูจัดกิจกรรมการ        พ.ค. 54      คณะครู
เป็นไปตามแผน เรียนรู้และฝึกทักษะ                   – มี.ค.55    นักเรียน
ดำาเนินงาน       กระบวนการทำางานในกลุ่ม                        ผู้ปกครอง
                 สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยสอด
                 แทรกกิจกรรมการปลูกพืชชนิด
                 ต่างๆ การแปรรูปอาหาร การ
                 เพาะเห็ด ส่งเสริมการดำาเนิน
                 ชีวิตแบบพอเพียงทั้งในและนอก
                 โรงเรียน ตามบริบทของชุมชน
                      2. นำาผลผลิตที่ได้ไปใช้ใน
                 การสนับสนุนโครงการอาหาร
                 กลางวันของโรงเรียน
                      3. นักเรียนนำาความรู้ไป
                 ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน
5. ติดตามการ         1. ตรวจเยี่ยมให้คำาปรึกษา     พ.ค. 54      คณะครู
ประเมินผลการ         2. ประเมินผลการผลิตที่นำา     – มี.ค.55
ก้าวหน้า         เข้าโครงการอาหารกลางวัน
                 ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น รายได้
                 หมุนเวียนในโครงการ ความ
                 พึงพอใจ การมีส่วนร่วมของ
                 ชุมชน ผู้ปกครอง
2. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม รายได้ร ะหว่า งเรีย นของ
      นัก เรีย นระดับ ชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น
 การดำา เนิน การ                รายละเอีย ด           ระยะ    ผู้ร ับ ผิด
                                                      เวลา        ชอบ
1. ประชุมชี้แจง           1. โรงเรียนประชุมชี้แจง    พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด
เพื่อสร้างความ       เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่                ชอบ
เข้าใจให้ผู้ที่      เกี่ยวข้องทราบ                           โครงการ
เกี่ยวข้องทราบ
2. แต่งตั้งคณะ           1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ    พ.ค. 54     สถาน
กรรมการดำาเนิน       กรรมการดำาเนินกิจกรรมส่ง                    ศึกษา
งาน                  เสริมรายได้ระหว่างเรียนของ
                     นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา
                     ตอนต้น
3. รวบรวมข้อมูล           1. ข้อมูลโรงเรียน ด้าน     พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด
วิเคราะห์ข้อมูล      บุคลากร ด้านทรัพยากร ด้าน                    ชอบ
และวางแผนการ ความต้องการของนักเรียน                           โครงการ
ปฏิบัติงาน                2. วางแผนการปฏิบัติงาน
                          3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ
                     งาน
4. ดำาเนินงานให้          1. คณะครูผู้รับผิดชอบ     พ.ค. 54    คณะครู
เป็นไปตามแผน         กิจกรรมแบ่งกลุ่มนักเรียน       – มี.ค.55 นักเรียน
ดำาเนินงาน           ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น                ผู้ปกครอง
                     ตามความสนใจโดยใช้ว่างใน
                     การปฏิบัติกิจกรรม
                           2. นักเรียนจัดการบริหาร
                     การผลิต ดูแล แปรรูป
                     ผลผลิตและจำาหน่าย
                           3. นักเรียนจัดทำาบัญชี
                     รายรับ รายจ่ายของแต่ละ
                     กิจกรรม
                           4. นักเรียนรายงานผลการ
                     จัดกิจกรรมในแต่ละกลุ่มให้ครู
                     ทราบ
5. ติดตามการ             1. ตรวจเยี่ยมให้คำาปรึกษา   พ.ค. 54   คณะครู
ประเมินผลการ              2. ประเมินผลกระบวนการ – มี.ค.55
ก้าวหน้า             ผลิต ความพึงพอใจของการ
                     มีส่วนร่วมของนักเรียน
ผู้ปกครอง
                          3. พัฒนาและปรับปรุงการ
                     ดำาเนินงานของกิจกรรม
6. รายงานผล               1. ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม   ต.ค. 54    ครูผู้รับผิด
กิจกรรม              รายงานผลการจัดกิจกรรมให้         มี.ค. 55      ชอบ
                     ผู้รับผิดชอบโครงการอาหาร                     กิจกรรม
                     กลางวันแบบยั่งยืนทราบ

  3. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม ความรู้ส ู่ช ุม ชน
 การดำา เนิน การ             รายละเอีย ด               ระยะ       ผู้ร ับ ผิด
                                                       เวลา          ชอบ
1. ประชุมชี้แจง          1. โรงเรียนประชุมชี้แจง     พ.ค. 54      ผู้บริหาร
เพื่อสร้างความ      เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่                ครูผู้รับผิด
เข้าใจให้ผู้ที่     เกี่ยวข้องทราบ                                   ชอบ
เกี่ยวข้องทราบ                                                   โครงการ
2. แต่งตั้งคณะ          1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ     พ.ค. 54       สถาน
กรรมการดำาเนิน      กรรมการดำาเนินกิจกรรม                          ศึกษา
งาน                 ความรู้สู่ชุมชน

3. รวบรวมข้อมูล          1. ข้อมูลชุมชน ด้าน        พ.ค. 54      ครูผู้รับผิด
วิเคราะห์ข้อมูลและ    ประชากร ด้านทรัพยากร                          ชอบ
วางแผนการปฏิบัติ      ด้านความต้องการของชุมชน                    โครงการ
งาน                   ด้านสภาพแวดล้อม
                         2. วางแผนการปฏิบัติงาน
                         3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ
                      งาน
4. ดำาเนินงานให้        -กิจ กรรมนัก               พ.ค. 54        คณะครู
เป็นไปตามแผน          ประชาสัม พัน ธ์น ้อ ย        – มี.ค.55      นักเรียน
ของกิจกรรม              1. นักเรียนในระดับชั้น                   ผู้ปกครอง
                      มัธยมศึกษาตอนต้นทุกคน
                      ค้นคว้าหาความรู้ด้าน
                      โภชนาการ ด้านการเกษตร
                      กรรม การบริโภคอาหารที่มี
                      คุณค่าถูกหลัก-โภชนาการ
                      การสร้างสุขนิสัยที่ดีในการ
                      รับประทานอาหาร โดยการ
                      สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
ที่โรงเรียน และกิจกรรมการ
                   เรียนรู้ที่ครูจัดขึ้นในกลุ่ม
                   สาระการงานพื้นฐานอาชีพ
                   และเทคโนโลยีไปเผยแพร่แก่
                   คนในครอบครัวและ
                   เพื่อนบ้านเดือนละ 2 ครั้ง
                   พร้อมกับบันทึกการดำาเนิน
                       2. ครูและนักเรียนร่วมกัน
                   เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าว
                   ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ในรูป
                   แบบของใบความรู้ ให้แก่
                   ประชาชนทั่วไป ตามสถานที่
                   ต่างๆในชุมชน เช่น ตลาดนัด
                   ของหมู่บ้าน ร้านค้า
                   ที่ทำาการผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ


 การดำา เนิน การ         รายละเอีย ด              ระยะเวลา     ผู้ร ับ ผิด
                                                                ชอบ
                   -กิจ กรรมครูจ ิต อาสา          พ.ค. 54 –    คณะครู
                   1. ผู้บริหารและครูที่มีจิต     มี.ค.55
                   อาสาร่วมกับผู้นำาของตำาบล
                   เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนใน
                   การประชุมสัญจรของผู้นำา
                   หมู่บ้านและการประชุม
                   ประจำาเดือนของผู้ใหญ่บ้าน
5. ติดตามการ           1. ตรวจเยี่ยมให้คำา        พ.ค. 54 –    คณะครู
ประเมินผลการ       ปรึกษาแก่ชุมชน                 มี.ค.55
ก้าวหน้า               2. ประเมินผลความพึง
                   พอใจ การมีส่วนร่วม ใน
                   การดำาเนินกิจกรรมสู่ชุมชน
6. รายงานผล            1. ผู้รับผิดชอบโครงการ      ต.ค. 54    ครูผู้รับผิด
กิจกรรม            อาหารกลางวันแบบยั่งยืน          มี.ค. 55      ชอบ
                   สรุปรายงานผลการดำาเนิน                     โครงการ
                   งาน ภาคเรียนละครั้ง

ภาพกิจ กรรมการเผยแพร่ค วามสู่ช ุม ชน
1. นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สืบค้นข้อมูลทาง
 อินเทอร์เน็ตที่โรงเรียนไปเผยแพร่แก่คนในครอบครัวและเพื่อนบ้าน




2. นักเรียนนำาความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนไป
      ปฏิบัติจริงที่บ้าน และนำาความรู้ไปเผยแพร่แก่คนในชุมชน
3..
นักเรียนเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม และ
ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าถูกหลักโภชนาการ มีสขนิสัยที่ดีใน
                                                    ุ
การรับประทานอาหาร ให้แก่ประชาชนทั่วไป ในตลาดนัดของหมู่บ้าน




ครูแ นะนำา การทำา นาในแปลงทดลอง (พื้น ซีเ มนต์)ให้ก ับ ผู้น ำา ใน
                        หมู่บ ้า น
5.
คณะ
  ครูร่วมกับผู้นำาชุมชนเผยแพร่ความรู้ แก่ประชาชนในการประชุม
                         ประจำาเดือนของหมู่บ้าน
                   ในเรื่อง สาธิตการสีข้าวกล้อง



ผลการดำา เนิน การ กิจ กรรมการเผยแพร่ค วามรู้ส ู่
ชุม ชน(เทคโนโลยี)
      1. นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับด้าน
โภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม และ
                เทคโนโลยีใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น
      2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น สามารถปรับตัวเข้ากับ
สังคมได้ดีขึ้น
      3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน ตั้งใจปฏิบัติงาน ขยัน อดทน
ทำางานอย่างมีความสุขและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง
      4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือจากชุมชน ในด้านการร่วม
กิจกรรม ร่วมประชุม สนับสนุนแรงงาน และความคิด
      5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น นำา
ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำาวันและดูแลสุขภาพของตนเองและ
สมาชิกในครอบครัว ให้มีสุขภาพดี รู้จักการวางแผนการดำาเนินชีวิต
ในปัจจุบันสู่อนาคตที่ยั่งยืน
ผลการดำา เนิน การ
     1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าและปลอดภัย
     2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น
     3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน
     4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน
     5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น




                        เอกสารอ้า งอิง


http://schoollunch.obec.go.th/news/parwath/prawat.htm
l




                            สารบัญ

สถานที่ดำาเนินการ
ระยะเวลาในการดำาเนินการ
วัตถุประสงค์การดำาเนินงาน
รูปแบบวิธีการดำาเนินการ
ผลการดำาเนินการ
ความเป็นมาและความสำาคัญของการดำาเนินการ
รูปแบบวิธีการดำาเนินการ
ผลการดำาเนินการ
เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
คำา นำา
                โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนของโรงเรียนบ้านหน
องเค็ด เป็นโครงการที่ได้รับการร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเพื่อ
เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้รับความรู้ และนำาวิชาการและ
เทคโนโลยีด้านการเกษตร การแปรรูปอาหาร และสิ่งแวดล้อมมา
ปฏิบัติให้เกิดผลผลิตเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันภายใน
โรงเรียน อันมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดภาวะทุพ
โภชนาการของนักเรียนในโรงเรียน
          ผู้จดทำาหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์
              ั
แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน

                                                     ผู้จัดทำา
ความรู้สู่ชุมชน

More Related Content

What's hot

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
ทับทิม เจริญตา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้Mam Chongruk
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านswagbieber
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
เอเดียน คุณาสิทธิ์
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5supphawan
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..Montree Jareeyanuwat
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8Hiran Vayakk
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตMam Chongruk
 
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
mahaoath พระมหาโอ๊ท
 
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]bks_school
 
Din 1
Din 1Din 1
Din 1
Ornrutai
 

What's hot (18)

โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
14 (1)
14 (1)14 (1)
14 (1)
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
krongkan
krongkankrongkan
krongkan
 
โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์โครงงานคณิตศาสตร์
โครงงานคณิตศาสตร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่องชีวิตที่รอดมาได้
 
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่านโครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
โครงการศูนย์ภูฟ้าพัฒนา จังหวัดน่าน
 
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
11. ชุดที่ 8 เทคโนโลยีชีวภาพ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
โครงสร้างสาระวิทย์ป.5
 
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้งAi ที่บางน้ำผึ้ง
Ai ที่บางน้ำผึ้ง
 
จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7จุดเน้นที่ 7
จุดเน้นที่ 7
 
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..มาตรฐานปฐมวัย  11   มาตรฐาน  51  ตังบ่งชี้..
มาตรฐานปฐมวัย 11 มาตรฐาน 51 ตังบ่งชี้..
 
งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8งานคอมใบ 2 8
งานคอมใบ 2 8
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่องความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิต
 
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
กิจกรรมค่ายเปิดแสงแต้มสี ม รังสิต 2553
 
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
การเตรียมข้อมูลของโรงเรียนเพื่อรับการประเมินจาก%20สมศ[1]
 
Din 1
Din 1Din 1
Din 1
 
14
1414
14
 

Similar to ความรู้สู่ชุมชน

รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
weskaew yodmongkol
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลนรายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลนkrupornpana55
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)yana54
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattanasakeenan
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4tassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55tassanee chaicharoen
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
wanitchaya001
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
poppai041507094142
 

Similar to ความรู้สู่ชุมชน (20)

รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docxรายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
รายงานโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพ๕๔.Docx
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4จุดเน้นที่ 4
จุดเน้นที่ 4
 
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลนรายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
รายงานผลกิจกรรมปลูกป่าชายเลน
 
จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3จุดเน้นที่ 3
จุดเน้นที่ 3
 
จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8จุดเน้นที่ 8
จุดเน้นที่ 8
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
โรงเรียนคุณธรรมชั้นนำ (Good practice)
 
Focus2
Focus2Focus2
Focus2
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
Panpattana
PanpattanaPanpattana
Panpattana
 
ด้านที่ 1
ด้านที่ 1ด้านที่ 1
ด้านที่ 1
 
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 4 ภาค1 ปี55
 
สุขภาพ
สุขภาพสุขภาพ
สุขภาพ
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 4
 
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 9ภาค1 ปี55
 
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55
จุดเน้นที่ 8 ภาค1 ปี55
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 

ความรู้สู่ชุมชน

  • 1. โครงการอาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน กิจ กรรมความรู้ส ู่ช ุม ชน ( การถ่า ยทอดเทคโนโลยี ) ผู้น ำา เสนอ 1. นายวรรษฑีระ ปานบุตร 2. นางนัยนา ปทุมสูติ 3. เด็กหญิงนิตยา เพชรซ้อน 4. เด็กหญิงเสาวลักษณ์ อ่อนน้อย สถานที่ด ำา เนิน การ โรงเรียนบ้านหนองเค็ด หมู่ที่ 2 ตำาบลหนองนกแก้ว อำาเภอ หนองนกแก้ว จังหวัดกาญจนบุรี วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี กาญจนบุรี ระยะเวลาในการดำา เนิน การ พฤษภาคม 2554 - มีนาคม 2555 วัต ถุป ระสงค์ก ารดำา เนิน งาน 1. เพื่อให้นักเรียนทุกคนได้รับประทานอาหารอาหารกลางวันที่มี คุณภาพอย่างเพียงพอเหมาะสมต่อ ความต้องการของร่างกาย และมีสุขภาพอนามัยที่ดี 2. เพื่อลดภาวะทุพโภชนาการของนักเรียน 3. ส่งเสริมสนับสนุน การนำาผลผลิตมาใช้เพื่อสร้างความเข้ม แข็งให้กับโรงเรียนและสามารถจัด อาหารกลางวันได้อย่าง ยั่งยืน 4. นักเรียนสามารถนำาปรัชญาของเศรษฐกิจแบบพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 5. ส่งเสริมอาชีพให้แก่นักเรียนหลังจากจบการศึกษาภาคบังคับ 6. เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม และส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มี คุณค่าถูกหลักโภชนาการ มีสุข นิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร ให้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน 7. สร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและ ชุมชน 8. โรงเรียนเป็นแหล่งเรียนรู้ที่หลากหลายของชุมชน
  • 2. รูป แบบวิธ ีด ำา เนิน การ โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ในปีการศึกษา 2554 มีนักเรียนจำานวน ทั้งสิ้น 404 คน มีนักเรียนใน เขตบริการ 3 หมู่บ้านและมีนักเรียนใกล้เคียงที่มาเข้าเรียนอีกหลาย หมู่บ้าน ในตำาบลหนองนกแก้ว อำาเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริม สนับสนุนโครงการอาหารกลางวัน แบบยั่งยืนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ใน 3 กิจกรรม ดังนี้ 1. กิจ กรรมส่ง เสริม การดำา เนิน ชีว ิต แบบพอเพีย งใน โรงเรีย น ได้แก่ 1.1 ด้านพืช - การปลูกผักสวนครัว โรงเรียนได้จัดกิจกรรมการปลูกผัก สวนครัวทุกระดับชั้นเรียน ได้แก่ การปลูกผักบุ้ง ผักชี ต้นหอม พริก มะเขือ ตะไคร้ ถั่วฝักยาว คะน้า กว้างตุ้ง - การปลูกไม้ผล ได้แก่ กล้วย มะม่วง น้อยหน่า มะละกอ ขนุน ละมุด ชมพู่ - การทำานา ( ในแปลงซีเมนต์ ) - การปลูกพืชทดแทนอาหารโปรตีน ( เพาะเห็ดนางฟ้า , การปลูกถั่วชนิดต่าง ๆ ) 1.2 การแปรรูปผลผลิต - โรงเรียนนำาผลผลิตที่ได้มาแปรรูป ได้แก่ การแปรรูป จากกล้วย ถั่วเขียว ข้าว 2. กิจ กรรมส่ง เสริม รายได้ร ะหว่า งเรีย นของนัก เรีย น ระดับ ชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น 2.1 การแปรรูปอาหารจากกล้วย 2.2 การเพาะถั่วงอก 2.3 การเพาะเห็ดนางฟ้า 2.4 การทำาข้าวกล้อง 3. กิจ กรรมถ่า ยทอดความรู้ส ู่ช ุม ชน (การถ่ายทอด เทคโนโลยี) 3.1 นักประชาสัมพันธ์น้อย 3.2 ครูจิตอาสา
  • 3. ผลการดำา เนิน งาน 1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าและปลอดภัย 2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น 3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน 4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น ความเป็น มาของโครงการอาหารกลางวัน โครงการอาหารกลางวัน เป็นโครงการที่เกิดจากความตระหนัก ของรัฐบาลที่มุ่งแก้ปัญหา ภาวะทุพโภชนาการในเด็ก ซึ่งพบว่า นักเรีย นประถมศึกษาจำานวนมากขาดแคลนอาหารกลางวันหรือมีอาหารกลาง วันแต่ปริมาณไม่เพียงพอ หรืออาหารมีคุณค่าทางโภชนาการตำ่า ทำา ให้ภาวะการเจริญเติบโตไม่เป็นไปตามเกณฑ์ของกระทรวงสาธารณสุข โครงการอาหารกลางวันเริ่มดำาเนินการมาตั้งแต่ปี 2495 กระทรวง ศึกษาธิการได้ทดลองจัดอาหารกลางวันแก่นักเรียนในสังกัด ซึ่งพบว่า โรงเรียนขาดงบประมาณในการดำาเนินงาน ทำาให้ ไม่สามารถจัด อาหารกลางวันให้นักเรียนขาดแคลนได้อย่างทั่วถึง http://schoollunch.obec.go.th/news/parwath/prawa t.html ) ความเป็น มาของโครงการอาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน ในปี พ.ศ. 2546 กระทรวงศึกษาธิการ มีนโยบายให้ สำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ร่วมกับสำานักงานคณะ กรรมการการอาชีวศึกษา ( สอศ. ) ดำาเนินโครงการอาหารกลางวัน แบบยั่งยืนร่วมกันสำานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ได้มอบให้ วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีและวิทยาลัยประมง จำานวน 47 แห่ง ดูแลโรงเรียนในสังกัดสำานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานใน 75 จังหวัด โดยวิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยี และวิทยาลัยประมง ได้ดำาเนินการอย่างต่อเนื่องเพื่อให้เกิดความยั่งยืน ดังนี้ 1. ให้การสนับสนุนทางวิชาการ โดยการจัดอบรมให้เด็กนักเรียน 2. สนับสนุนปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ดพันธุ์ พันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ เพื่อนำาไปผลิตในโรงเรียน 3. สนับสนุนวัตถุดิบในโรงเรียน เพื่อประกอบอาหารให้เด็ก นักเรียน 4. ประสานชุมชน หน่วยงานหรือองค์กรท้องถิ่น ให้มีส่วนร่วม ในโครงการ ( ร่วมคิด ร่วมวางแผน ร่วมทำา ร่วมลงทุน ร่วม ประเมิน )
  • 4. 5. ให้โรงเรียนประถมศึกษาเป็นแหล่งฝึกงานสำาหรับนักศึกษาของ สถานศึกษาสังกัดสำานักงาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา 6. ขยายการให้บริการด้านความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไปสู่ท้อง ถิ่น 7. ใช้กระบวนการจัดการความรู้ในด้านการดำาเนินการ โครงการ ความเป็น มาและความสำา คัญ ของการดำา เนิน การของโครงการ อาหารกลางวัน แบบยั่ง ยืน สภาพชุมชนและลักษณะชุมชน รอบ ๆ บริเวณโรงเรียนบ้าน หนองเค็ดมีลักษณะเป็นชุมชนชนบท อยู่กันอย่างกระจัดกระจาย พื้นที่ส่วนมากเป็นที่ราบค่อนข้างสูงฝนตกน้อยแห้งแล้งสภาพดินส่วน ใหญ่เป็นดินร่วนปนทรายและดินเหนียวปนหิน เก็บกักนำ้าไม่ค่อยอยู่ ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชเชิงเดี่ยว ได้แก่ ไร่อ้อย ไร่มันสำาปะหลัง ปลูกข้าวโพด ทำานา ปลูกผักสวนครัว เลี้ยงสัตว์ และมีอาชีพรับจ้างรายวันเป็นส่วนมาก ประชากรส่วนใหญ่ มีฐานะยากจนรายได้ค่อนข้างตำ่า มีวุฒิการศึกษาระดับประถมศึกษา เป็นส่วนมาก โรงเรียนบ้านหนองเค็ดเป็นโรงเรียนขยายโอกาสเปิด เรียนทำาการสอน 3 ระดับ ในปีการศึกษา 2541 คือ ก่อนประถมศึกษา ประถมศึกษา และมัธยมศึกษาตอนต้น นักเรียนที่จบการศึกษาในระดับ สูงสุดของสถานศึกษาส่วนมากไม่มีทุนในการศึกษาต่อในระดับสูง และ ไม่ค่อยมีเวลาในการศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับการดำาเนินชีวิตใน ปัจจุบัน จึงยึดหลักในการประกอบอาชีพตามผู้ปกครองที่ปฏิบัติสืบต่อกัน มา โรงเรียนบ้านหนองเค็ด ได้จัดทำาโครงการอาหารกลางวันใน สถานศึกษา ในปีการศึกษา 2525 โดยได้รับงบประมาณสนับสนุนจาก กระทรวงศึกษาธิการ ซึ่งงบประมาณยังไม่เพียงพอในการดำาเนินงาน ทำาให้ไม่สามารถจัดอาหารกลางวันให้แก่นักเรียนขาดแคลนได้อย่างทั่ว ถึง ปีงบประมาณ 2544 กระทรวงศึกษาธิการ ได้ถ่ายโอนงบ ประมาณค่าอาหารกลางวันไปให้กระทรวงมหาดไทย ตามพระราช บัญญัติกำาหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำานาจให้แก่องค์กร ปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542 และกรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ได้จัดตั้งและจัดสรรงบประมาณเองมาตั้งแต่ปีงบประมาณ 2546 จนถึง ปัจจุบัน
  • 5. โครงการอาหารกลางวันโรงเรียนบ้านหนองเค็ด ในปัจจุบันได้ รับจัดสรรงบประมาณจาก องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตำาบลหนอง นกแก้ว ในการจัดทำาโครงการอาหารกลางวันฟรีให้กับนักเรียนใน ระดับก่อนประถมศึกษาและระดับประถมศึกษาทุกคน ส่วนในระดับ มัธยมศึกษาตอนต้นของโรงเรียน นักเรียนต้องซื้ออาหารกลางวันรับ ประทานเอง ซึ่งนักเรียนส่วนใหญ่มีฐานะยากจนขาดแคลนอาหารกลาง วันและยังมีภาวะทุพโภชนาการในบางคน จากปัญหาดังกล่าวโรงเรียน ได้หาแนวทางในการแก้ปัญหาในหลายวิธี ได้แก่ การจัดทำาแปลง เกษตรในโรงเรียน เลี้ยงสัตว์ การของบบริจาคเงินและสิ่งของทั้งใน ภาครัฐและเอกชน ในหลายๆแห่ง ซึ่งการแก้ปัญหาดังกล่าวเป็นการแก้ ปัญหาในระยะสั้นเท่านั้น ในปีการศึกษา 2550 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี กาญจนบุรี ได้คัดเลือกให้โรงเรียน- บ้านหนองเค็ด เข้าร่วมโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน สู่มาตรฐาน ในระดับโรงเรียนขยาย ได้สนับสนุนเชื้อเห็ดนางฟ้า จำานวน 500 ก้อน และ พันธุ์พืชต่างๆ ให้ กับโรงเรียน เพื่อใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้และนำาผลผลิตไปใช้ในการ สนับสนุนโครงการอาหารกลางวันของโรงเรียน ปีการศึกษา 2551 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี กาญจนบุรี ได้สนับสนุนเชื้อเห็ดนางฟ้าจำานวน 600 ก้อน พันธุ์พืช ต่างๆ ให้กับโรงเรียน เพื่อใช้เป็นศูนย์การเรียนรู้และนำาผลผลิตไปใช้ ในสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนของโรงเรียน ปีการศึกษา 2553 วิทยาลัยเกษตรกรรมและเทคโนโลยี กาญจนบุรี ให้การสนับสนุนทางวิชาการ โดยการจัดอบรมการทำา อาหารประเภทของหวาน ได้แก่ การทำาเค้ก โดนัท การทำาปุ๋ยและนำ้า หมักชีวภาพ ให้เด็กนักเรียน และ สนับสนุนปัจจัยการผลิต เช่น เมล็ด พันธุ์ พันธุ์พืช วัสดุในการทำานำ้าหมักชีวภาพ เพื่อนำาไปผลิตใน โรงเรียนและขยายผลในโอกาสต่อไป ปีการศึกษา 2554 โรงเรียนได้หาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาการจัด ทำาโครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืน เพื่อพัฒนาโรงเรียนเข้าสู่ มาตรฐาน โดยประสานกับชุมชน หน่วยงานองค์กรท้องถิ่น ให้มีส่วน ร่วมในโครงการ ขยายการให้บริการด้านความรู้และเทคโนโลยีใหม่ ๆ ไปสู่ท้องถิ่น ให้คนในชุมชนตระหนักถึงความสำาคัญของการดูแล สุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว ให้มีสุขภาพดี รู้จักการ วางแผนการดำาเนินชีวิตในปัจจุบันสู่อนาคตที่ยั่งยืน โรงเรียนจึงได้จัด
  • 6. กิจกรรมเผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนในเรื่องเกี่ยวกับ โภชนาการ ด้าน เกษตรกรรม และส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าถูกหลัก โภชนาการ การสร้างสุขนิสัยที่ดีในการรับประทานอาหาร ให้แก่ นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน ซึ่งนอกจากจะช่วยแก้ปัญหาการ ขาดแคลนอาหารกลางวันและภาวะทุพ-โภชนาการของนักเรียนแล้ว โรงเรียนยังส่งเสริมการหารายได้ในระหว่างเรียนให้กับนักเรียน เพื่อ เป็นการลดรายจ่ายให้กับครอบครัว ยังสามารถนำาความรู้ที่ได้รับไป ประยุกต์ใช้ในการดำาเนินชีวิตในปัจจุบัน และเป็นแนวทางในการ ประกอบเป็นอาชีพในอนาคต สร้างคนในชุมชนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี ปลูกฝังความรักในท้องถิ่นของตนเอง ดำารงชีวิตตามวิถีพอเพียง สามารถพึ่งตนเอง ช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันนำาไปสู่ความเข้มแข็ง ของชุมชน โดยนำาหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ให้ เหมาะสมกับบริบทของชุมชน โรงเรียนได้จัดกิจกรรมส่งเสริมสนับสนุนโครงการอาหารกลาง วันแบบยั่งยืนทั้งในโรงเรียนและชุมชน ใน 3 กิจกรรม ดังนี้ 1. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม การดำา เนิน ชีว ิต แบบพอ เพีย ง การดำา เนิน การ รายละเอีย ด ระยะ ผู้ร ับ ผิด เวลา ชอบ 1. ประชุมชี้แจง 1. โรงเรียนประชุมชี้แจง พ.ค. 54 ผู้บริหาร
  • 7. เพื่อสร้างความ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่ ครูผู้รับผิด เข้าใจให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องทราบ ชอบ เกี่ยวข้องทราบ โครงการ 2. แต่งตั้งคณะ 1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ พ.ค. 54 สถาน กรรมการดำาเนิน กรรมการดำาเนินโครงการ ศึกษา งาน อาหารกลางวันแบบยั่งยืน 3. รวบรวม 1. ข้อมูลโรงเรียน ด้าน พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด ข้อมูล วิเคราะห์ บุคลากร ด้านทรัพยากร ด้าน ชอบ ข้อมูลและ ความต้องการของโรงเรียน โครงการ วางแผนการ ด้านสภาพแวดล้อม ปฏิบัติงาน 2. วางแผนการปฏิบัติงาน 3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ งาน 4. ดำาเนินงานให้ 1. คณะครูจัดกิจกรรมการ พ.ค. 54 คณะครู เป็นไปตามแผน เรียนรู้และฝึกทักษะ – มี.ค.55 นักเรียน ดำาเนินงาน กระบวนการทำางานในกลุ่ม ผู้ปกครอง สาระการเรียนรู้ต่าง ๆ โดยสอด แทรกกิจกรรมการปลูกพืชชนิด ต่างๆ การแปรรูปอาหาร การ เพาะเห็ด ส่งเสริมการดำาเนิน ชีวิตแบบพอเพียงทั้งในและนอก โรงเรียน ตามบริบทของชุมชน 2. นำาผลผลิตที่ได้ไปใช้ใน การสนับสนุนโครงการอาหาร กลางวันของโรงเรียน 3. นักเรียนนำาความรู้ไป ประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำาวัน 5. ติดตามการ 1. ตรวจเยี่ยมให้คำาปรึกษา พ.ค. 54 คณะครู ประเมินผลการ 2. ประเมินผลการผลิตที่นำา – มี.ค.55 ก้าวหน้า เข้าโครงการอาหารกลางวัน ภาวะโภชนาการที่ดีขึ้น รายได้ หมุนเวียนในโครงการ ความ พึงพอใจ การมีส่วนร่วมของ ชุมชน ผู้ปกครอง
  • 8. 2. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม รายได้ร ะหว่า งเรีย นของ นัก เรีย นระดับ ชั้น มัธ ยมศึก ษาตอนต้น การดำา เนิน การ รายละเอีย ด ระยะ ผู้ร ับ ผิด เวลา ชอบ 1. ประชุมชี้แจง 1. โรงเรียนประชุมชี้แจง พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด เพื่อสร้างความ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่ ชอบ เข้าใจให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องทราบ โครงการ เกี่ยวข้องทราบ 2. แต่งตั้งคณะ 1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ พ.ค. 54 สถาน กรรมการดำาเนิน กรรมการดำาเนินกิจกรรมส่ง ศึกษา งาน เสริมรายได้ระหว่างเรียนของ นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา ตอนต้น 3. รวบรวมข้อมูล 1. ข้อมูลโรงเรียน ด้าน พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด วิเคราะห์ข้อมูล บุคลากร ด้านทรัพยากร ด้าน ชอบ และวางแผนการ ความต้องการของนักเรียน โครงการ ปฏิบัติงาน 2. วางแผนการปฏิบัติงาน 3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ งาน 4. ดำาเนินงานให้ 1. คณะครูผู้รับผิดชอบ พ.ค. 54 คณะครู เป็นไปตามแผน กิจกรรมแบ่งกลุ่มนักเรียน – มี.ค.55 นักเรียน ดำาเนินงาน ระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น ผู้ปกครอง ตามความสนใจโดยใช้ว่างใน การปฏิบัติกิจกรรม 2. นักเรียนจัดการบริหาร การผลิต ดูแล แปรรูป ผลผลิตและจำาหน่าย 3. นักเรียนจัดทำาบัญชี รายรับ รายจ่ายของแต่ละ กิจกรรม 4. นักเรียนรายงานผลการ จัดกิจกรรมในแต่ละกลุ่มให้ครู ทราบ 5. ติดตามการ 1. ตรวจเยี่ยมให้คำาปรึกษา พ.ค. 54 คณะครู ประเมินผลการ 2. ประเมินผลกระบวนการ – มี.ค.55 ก้าวหน้า ผลิต ความพึงพอใจของการ มีส่วนร่วมของนักเรียน
  • 9. ผู้ปกครอง 3. พัฒนาและปรับปรุงการ ดำาเนินงานของกิจกรรม 6. รายงานผล 1. ครูผู้รับผิดชอบกิจกรรม ต.ค. 54 ครูผู้รับผิด กิจกรรม รายงานผลการจัดกิจกรรมให้ มี.ค. 55 ชอบ ผู้รับผิดชอบโครงการอาหาร กิจกรรม กลางวันแบบยั่งยืนทราบ 3. การดำา เนิน งานกิจ กรรมส่ง เสริม ความรู้ส ู่ช ุม ชน การดำา เนิน การ รายละเอีย ด ระยะ ผู้ร ับ ผิด เวลา ชอบ 1. ประชุมชี้แจง 1. โรงเรียนประชุมชี้แจง พ.ค. 54 ผู้บริหาร เพื่อสร้างความ เพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้ที่ ครูผู้รับผิด เข้าใจให้ผู้ที่ เกี่ยวข้องทราบ ชอบ เกี่ยวข้องทราบ โครงการ 2. แต่งตั้งคณะ 1. ออกคำาสั่งแต่งตั้งคณะ พ.ค. 54 สถาน กรรมการดำาเนิน กรรมการดำาเนินกิจกรรม ศึกษา งาน ความรู้สู่ชุมชน 3. รวบรวมข้อมูล 1. ข้อมูลชุมชน ด้าน พ.ค. 54 ครูผู้รับผิด วิเคราะห์ข้อมูลและ ประชากร ด้านทรัพยากร ชอบ วางแผนการปฏิบัติ ด้านความต้องการของชุมชน โครงการ งาน ด้านสภาพแวดล้อม 2. วางแผนการปฏิบัติงาน 3. จัดทำาปฏิทินการปฏิบัติ งาน 4. ดำาเนินงานให้ -กิจ กรรมนัก พ.ค. 54 คณะครู เป็นไปตามแผน ประชาสัม พัน ธ์น ้อ ย – มี.ค.55 นักเรียน ของกิจกรรม 1. นักเรียนในระดับชั้น ผู้ปกครอง มัธยมศึกษาตอนต้นทุกคน ค้นคว้าหาความรู้ด้าน โภชนาการ ด้านการเกษตร กรรม การบริโภคอาหารที่มี คุณค่าถูกหลัก-โภชนาการ การสร้างสุขนิสัยที่ดีในการ รับประทานอาหาร โดยการ สืบค้นข้อมูลทางอินเทอร์เน็ต
  • 10. ที่โรงเรียน และกิจกรรมการ เรียนรู้ที่ครูจัดขึ้นในกลุ่ม สาระการงานพื้นฐานอาชีพ และเทคโนโลยีไปเผยแพร่แก่ คนในครอบครัวและ เพื่อนบ้านเดือนละ 2 ครั้ง พร้อมกับบันทึกการดำาเนิน 2. ครูและนักเรียนร่วมกัน เผยแพร่ความรู้ ข้อมูลข่าว ต่างๆ ที่เป็นประโยชน์ ในรูป แบบของใบความรู้ ให้แก่ ประชาชนทั่วไป ตามสถานที่ ต่างๆในชุมชน เช่น ตลาดนัด ของหมู่บ้าน ร้านค้า ที่ทำาการผู้ใหญ่บ้าน ฯลฯ การดำา เนิน การ รายละเอีย ด ระยะเวลา ผู้ร ับ ผิด ชอบ -กิจ กรรมครูจ ิต อาสา พ.ค. 54 – คณะครู 1. ผู้บริหารและครูที่มีจิต มี.ค.55 อาสาร่วมกับผู้นำาของตำาบล เผยแพร่ความรู้สู่ชุมชนใน การประชุมสัญจรของผู้นำา หมู่บ้านและการประชุม ประจำาเดือนของผู้ใหญ่บ้าน 5. ติดตามการ 1. ตรวจเยี่ยมให้คำา พ.ค. 54 – คณะครู ประเมินผลการ ปรึกษาแก่ชุมชน มี.ค.55 ก้าวหน้า 2. ประเมินผลความพึง พอใจ การมีส่วนร่วม ใน การดำาเนินกิจกรรมสู่ชุมชน 6. รายงานผล 1. ผู้รับผิดชอบโครงการ ต.ค. 54 ครูผู้รับผิด กิจกรรม อาหารกลางวันแบบยั่งยืน มี.ค. 55 ชอบ สรุปรายงานผลการดำาเนิน โครงการ งาน ภาคเรียนละครั้ง ภาพกิจ กรรมการเผยแพร่ค วามสู่ช ุม ชน
  • 11. 1. นักเรียนในระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น สืบค้นข้อมูลทาง อินเทอร์เน็ตที่โรงเรียนไปเผยแพร่แก่คนในครอบครัวและเพื่อนบ้าน 2. นักเรียนนำาความรู้ที่ได้จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียนไป ปฏิบัติจริงที่บ้าน และนำาความรู้ไปเผยแพร่แก่คนในชุมชน
  • 12. 3.. นักเรียนเผยแพร่ความรู้ด้านโภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม และ ส่งเสริมการบริโภคอาหารที่มีคุณค่าถูกหลักโภชนาการ มีสขนิสัยที่ดีใน ุ การรับประทานอาหาร ให้แก่ประชาชนทั่วไป ในตลาดนัดของหมู่บ้าน ครูแ นะนำา การทำา นาในแปลงทดลอง (พื้น ซีเ มนต์)ให้ก ับ ผู้น ำา ใน หมู่บ ้า น
  • 13. 5. คณะ ครูร่วมกับผู้นำาชุมชนเผยแพร่ความรู้ แก่ประชาชนในการประชุม ประจำาเดือนของหมู่บ้าน ในเรื่อง สาธิตการสีข้าวกล้อง ผลการดำา เนิน การ กิจ กรรมการเผยแพร่ค วามรู้ส ู่ ชุม ชน(เทคโนโลยี) 1. นักเรียน ผู้ปกครอง และชุมชน มีความรู้เกี่ยวกับด้าน โภชนาการ ด้านการเกษตรกรรม และ เทคโนโลยีใหม่ๆ เพิ่มมากขึ้น 2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น สามารถปรับตัวเข้ากับ สังคมได้ดีขึ้น 3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน ตั้งใจปฏิบัติงาน ขยัน อดทน ทำางานอย่างมีความสุขและภาคภูมิใจในผลงานของตนเอง 4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน ได้รับความร่วมมือและความช่วยเหลือจากชุมชน ในด้านการร่วม กิจกรรม ร่วมประชุม สนับสนุนแรงงาน และความคิด 5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น นำา ความรู้ที่ได้รับไปใช้ในชีวิตประจำาวันและดูแลสุขภาพของตนเองและ
  • 14. สมาชิกในครอบครัว ให้มีสุขภาพดี รู้จักการวางแผนการดำาเนินชีวิต ในปัจจุบันสู่อนาคตที่ยั่งยืน ผลการดำา เนิน การ 1. นักเรียนได้รับประทานอาหารกลางวันที่มีคุณค่าและปลอดภัย 2. นักเรียนมีทักษะการทำางานร่วมกับผู้อื่น 3. นักเรียนมีเจคติที่ดีต่อการทำางาน 4. มีสัมพันธภาพที่ดีระหว่างครู นักเรียน ผู้ปกครองและชุมชน 5. ชุมชนมีความรู้เกี่ยวกับแนวทางในการดำาเนินชีวิตมากขึ้น เอกสารอ้า งอิง http://schoollunch.obec.go.th/news/parwath/prawat.htm l สารบัญ สถานที่ดำาเนินการ ระยะเวลาในการดำาเนินการ วัตถุประสงค์การดำาเนินงาน รูปแบบวิธีการดำาเนินการ ผลการดำาเนินการ ความเป็นมาและความสำาคัญของการดำาเนินการ รูปแบบวิธีการดำาเนินการ ผลการดำาเนินการ เอกสารอ้างอิงหรือบรรณานุกรม
  • 15. คำา นำา โครงการอาหารกลางวันแบบยั่งยืนของโรงเรียนบ้านหน องเค็ด เป็นโครงการที่ได้รับการร่วมมือระหว่างโรงเรียนกับชุมชนเพื่อ เป็นการส่งเสริมให้นักเรียนและชุมชนได้รับความรู้ และนำาวิชาการและ เทคโนโลยีด้านการเกษตร การแปรรูปอาหาร และสิ่งแวดล้อมมา ปฏิบัติให้เกิดผลผลิตเพื่อสนับสนุนโครงการอาหารกลางวันภายใน โรงเรียน อันมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์หลักเพื่อลดภาวะทุพ โภชนาการของนักเรียนในโรงเรียน ผู้จดทำาหวังว่าเอกสารฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์ ั แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน ผู้จัดทำา