SlideShare a Scribd company logo
ทฤษฎีความขัดแย้ง
(Conflict Theory)
สมาชิก กลุ่มที่ 3
1.นายจาตุรันตร์ มณี 588914010 มีหน้าที่ รวบรวมรูปเล่ม
2.นางผกาณิต บัวย้อย 588914014 มีหน้าที่ รวบรวมข้อมูล
3.นายชุติพงศ์ เสนาโปธิ 588914021 มีหน้าที่ จัดทางานนาเสนอ
ความหมาย
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ให้คาอธิบาย “ขัดแย้ง” ว่า
“ขัด” หมายถึงไม่ทาตาม ฝ่ าฝืน ขืนไว้ ส่วน “แย้ง” หมายถึง ไม่ตรงกัน ไม่ลงรอย
กัน ต้านไว้ ทานไว้ รวมความแล้ว ความขัดแย้งหมายถึง “สภาพความไม่ลงรอย
กัน คือไม่ยอมทาตามและยังมีความต้านทานไว้”
เวบสเตอร์ (Webster) กล่าวว่า คาว่า “ความขัดแย้ง” (Conflict) มา
จากรากศัพท์ ภาษาลาติน คือ “Configure” ซึ่งแปลว่า “การต่อสู้” (fight)
หมายถึง “การทาสงคราม” “ความไม่ลงรอยกัน” หรือ “การเข้ากันไม่ได้” “การ
คัดค้านซึ่งกันและกัน” หรือ “ฝ่ ายตรงข้าม” (อรุณ รักธรรม, 2523 : 86)
แนวคิด และทฤษฎีการบริหารความขัดแย้ง
แนวคิดของ คาร์ล มากซ์ (Karl Marx) คาร์ล มากซ์ เชื่อว่าความ
ขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กัน เป็นกฎพื้นฐานของชีวิต เป็น
สภาพปกติของสังคม โดยความขัดแย้งเริ่มที่เศรษฐกิจซึ่งหลีกเลี่ยงได้ยาก
แล้วจะนาไปสู่ความขัดแย้งทางสังคม และเชื่อในการใช้ความขัดแย้งเป็น
เครื่องมือในการเปลี่ยนสังคม การวิเคราะห์ของคาร์ล มากซ์ใช้ความขัดแย้ง
เป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สังคม โดยอยู่บนพื้นฐานของการศึกษาความ
ขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีความขัดแย้งของคาร์ล มากซ์ ได้อธิบายว่า
สังคมเป็นอย่างไร และมีแนวทางในการเปลี่ยนสังคมอย่างไร
(พรนพ พุกกะพันธ์, 2542 :157-158 )
ประเภทของความขัดแย้ง
แรบพาพอร์ต
(Rapparport, Cited by Caplow,1975: 276)
ได้แบ่งความขัดแย้งเป็น การต่อสู้ เกม และการโต้เถียง
หรืออาจแบ่งความขัดแย้ง เป็นเชิงลบและเชิงบวกก็ได้
แต่ในที่นี้จะแบ่งประเภทความขัดแย้ง
โดยนาเอาบุคคลที่เกี่ยวข้องเข้ามาเป็นเกณฑ์
ซึ่งแบ่งได้เป็น 5 ประเภท
1. ความขัดแย้งภายในตัวบุคคล
2. ความขัดแย้งระหว่างบุคคล
3. ความขัดแย้งระหว่างปัจเจกบุคคลกับกลุ่ม
4. ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มหรือทีม
5. ความขัดแย้งระหว่างองค์การ
ประเภทของความขัดแย้ง
รูปแบบพฤติกรรมในการจัดการความขัดแย้ง 5 แบบ
จอห์นสัน และจอห์นสัน (Johnson & Johnson, 1987)
1. ลักษณะแบบ "เต่า" (ถอนตัว, หดหัว) มีลักษณะหลีกหนีความขัดแย้ง
2. ลักษณะแบบ "ฉลาม" (บังคับ, ชอบใช้กาลัง) เป็นการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
โดยใช้อานาจตามตาแหน่ง
3. ลักษณะแบบ "ตุ๊กตาหมี" (สัมพันธภาพราบรื่น) เชื่อว่าความขัดแย้ง
หลีกเลี่ยงได้เพื่อเห็นแก่ความกลมเกลียว
4. ลักษณะแบบ "สุนัขจิ้งจอก" (ประนีประนอม, แก้ปัญหาเฉพาะหน้า)
5. ลักษณะแบบ "นกฮูก" (เผชิญหน้ากัน, สุขุม) จะมองความขัดแย้งว่าเป็น
ปัญหาที่จะต้องแก้ไข ให้คุณค่าแก่เป้ าหมาย
จอห์น สัน และจอห์นสัน (Johnson & Johnson, 1987: 273)
แบบพฤติกรรมในการจัดการความขัดแย้ง 5 แบบ
แบบพฤติกรรมในการจัดการความขัดแย้ง 5 แบบ
จอห์น สัน และจอห์นสัน (Johnson & Johnson, 1987)
ประโยชน์และความสาคัญของการขัดแย้ง
1. การขัดแย้งที่มีความเข้มข้นจะทาให้ขอบข่ายของกลุ่ม
ขัดแย้งแต่ละกลุ่มมีความชัดเจน
2. การขัดแย้งที่มีความเข้มข้นและการแบ่งงานอย่าง
ชัดเจนระหว่างสมาชิกของกลุ่มขัดแย้งแต่ละกลุ่ม จะ
ทาให้เกิดการรวมอานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของโครงสร้าง
อานาจการตัดสินใจ
ประโยชน์และความสาคัญของการขัดแย้ง (ต่อ)
3. การขัดแย้งที่มีความเข้มข้นและเชื่อว่าจะมีผลกระทบไป
ทุกส่วนของแต่ละกลุ่มจะทาให้เกิดความมั่นคงขึ้นในแต่ละ
กลุ่มขัดแย้ง
4. ความสัมพันธ์ขั้นปฐมภูมิระหว่างสมาชิกกลุ่มขัดแย้งและ
ความขัดแย้งมีความเข้มข้น สามารถบังคับให้ยอมรับบรรทัด
ฐานและค่านิยมของกลุ่มได้
ประโยชน์และความสาคัญของการขัดแย้ง (ต่อ)
5. โครงสร้างสังคมของกลุ่มขัดแย้งที่เข้มงวดน้อยและการ
ขัดแย้งระหว่างกันมากไม่ จะเปิดโอกาสให้แต่ละกลุ่ม
สามารถเปลี่ยนแปลงระบบไปในแนวทางส่งเสริมการ
ปรับตัวและความมั่นคง
6. ความขัดแย้งที่เกิดบ่อยๆ จะทาให้สามารถเป็นเครื่องแสดง
การไม่ลงรอยกันในค่านิยมสาคัญ และจะสามารถรักษาดุลย
ภาพได้มากขึ้น
ประโยชน์และความสาคัญของการขัดแย้ง (ต่อ)
7. ความขัดแย้งที่เกิดบ่อยและไม่เข้มข้นมาก จะทาให้แต่ละกลุ่ม
ขัดแย้ง สามารถสร้างระเบียบบรรทัดฐานกากับการขัดแย้งขึ้นมา
ได้
8. ระบบสังคมที่ไม่เข้มงวดมาก จะทาให้การขัดแย้งสามารถสร้าง
สมดุลและระดับสูงต่าของอานาจในระบบขึ้นมาได้
9. ระบบสังคมที่ไม่เข้มงวดมาก จะทาให้การขัดแย้งเป็นสาเหตุให้
เกิดความสัมพันธ์แบบผสม มีการยึดเหนี่ยวกันและบูรณาการของ
ระบบเพิ่มขึ้น
แนวทางการแก้ไขปัญหา
การแก้ปัญหาความขัดแย้งมีหลายวิธี ขึ้นอยู่กับ
สถานการณ์ และบุคลิกของผู้ขัดแย้งว่าเป็นอย่างไร
เราต้องเลือกวิธีการแก้ปัญหาให้ถูกวิธี
และพยายามทาให้ทุกคนเป็นผู้ชนะ
องค์กรจึงจะประสบความสาเร็จ
กลยุทธ์การแก้ไขความขัดแย้ง
ยุทธวิธีการจัดการความขัดแย้ง
วิธีของ แดเนียล ดานา (Daniel Dana 2001)
ได้เขียนถึงการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยทั่วไป
3 รูปแบบ ดังนี้
ยุทธวิธีการจัดการความขัดแย้ง
1. การต่อสู้ด้วยการใช้อานาจ โดยคู่กรณีจะใช้ทรัพยากรที่มีอยู่(ร่างกายที่
แข็งแรง การข่มขู่ เสียงดัง พรรคพวกมาก) มาบีบบังคับให้ฝ่ายตรงข้ามยอม
จานน ซึ่งผลออกมาจะมีผู้แพ้ผู้ชนะ
2. การต่อสู้ด้วยการใช้สิทธิ โดยคู่กรณีจะยกแหล่งอานาจต่างๆ (ผู้ปกครอง
หัวหน้า คู่มือ ขั้นตอน กฎหมาย) มาใช้ในการพิจารณาว่าใครมีสิทธิที่ถูกต้อง
ซึ่งผลออกมาจะมีผู้แพ้ผู้ชนะ
3. การปรองดองด้วยผลประโยชน์ (Interest Reconciliation) เป็นวิธีที่
แบ่งปันผลประโยชน์กัน หรือมีได้บ้างเสียบ้าง ข้อดีคือไม่เป็นปรปัก์์กัน
ผลของความขัดแย้ง
(อรุณ รักธรรม, 2532 : 18)
ผลดี ของความขัดแย้ง
1. ป้องกันการหยุดอยู่กับที่ เพราะความขัดแย้งจะทาให้เกิดการพัฒนา
2. กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ โดยการเรียนรู้เพื่อมาจัดการปัญหาที่เกิดขึ้น
3. มีความชัดเจน เมื่อมีความขัดแย้งแล้วจะเกิดความชัดเจนขึ้นเพราะจะถูกวิเคราะห์
และจับตา มอง
4. สร้างเอกลัก์ณ์ โดยต้องมีการรวมกลุ่มเพื่อจัดการกับปัญหาจึงต้องมีเอกลัก์ณ์
เป็นเครื่องยึดเหนี่ยว
5. ถ้าเกิดจากภายนอกจะสร้างความสามัคคี เพื่อให้สามารถผ่านพ้นความขัดแย้งไป
ได้
6. เกิดความคิดสร้างสรรค์ เพื่อใช้แก้ปัญหา และเพื่อการป้องกันในวันข้างหน้าด้วย
ผลดี ของความขัดแย้ง (ต่อ)
7. กระตุ้นให้แสวงหาคาตอบ คือทางออกของการแก้ปัญหานั่นเอง
8. เพิ่มความสามารถและไหวพริบ เป็นการฝึกไปในตัวเอง
9. ช่วยบาบัดความต้องการทางจิต
10. สร้างโอกาส เมื่อมีความขัดแย้งก็จะดิ้นรน ซึ่งอาจพบทางที่ดีใหม่ๆ ขึ้นได้
11. เรียนรู้วิธีการแก้ไขและป้องกันการขัดแย้ง
12. สร้างความตี่นตัว เพื่อไม่ให้เกิดความขัดแย้งซ้าซ้อนขึ้นมาอีก
13. ให้ข้อมูลที่มาของปัญหา เมื่อมีการศึก์าก็จะทราบว่าที่มาของปัญหาคืออะไร
14. ก่อให้เกิดความสามัคคีเพื่อต่อต้านภัยที่มาถึงตัว
ผลเสีย ของความขัดแย้ง
1. สูญเสียกาลังคน ทาให้การดาเนินงานมุ่งไปข้างหน้าอย่างเดียวไม่ได้
ต้องคอยระวังปัญหาที่เกิดขึ้นด้วย ทาให้ใช้งานคนไม่ได้เต็มที่
2. ทาให้ความเป็นมิตรลดน้อยลง เนื่องจากต้องระมัดระวังตัวเองอยู่
ตลอดเวลา
3. บรรยากาศความเชื่อถือและไว้วางใจลดน้อยลง
4. ทาให้เกิดการต่อต้านความขัดแย้ง เพราะคิดว่าความขัดแย้ง
ก่อให้เกิดความยุ่งยาก
ผลเสียของความขัดแย้ง (ต่อ)
5. ปิดบังความรู้ เพราะไม่ต้องการให้อีกฝ่ายหนึ่งได้เปรียบฝ่ายตน
6. ผิดปกติทางจิตวิทยา จะมีความหวาดระแวงอยู่ตลอดเวลา
7. เห็นแก่ตัว เพราะต้องเอาตัวเองให้รอดจากปัญหา
8. ส่งผลเสียต่อร่างกายและจิตใจ
9. เสียเวลา
10. เกิดผลเสียด้านการเงิน
11. บิดเบือนความจริง
ทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง สามารถนาไปใช้ใน
การบริหารการศึกษา พอจะสรุปได้ดังต่อไปนี้
• จากที่ได้ศึก์าทฤ์ฎีความขัดแย้งที่ได้กล่าวมาข้างต้น จะ
เห็นได้ว่าความขัดแย้งมีทั้งผลดีและผลเสียต่อการ
ดาเนินงานของแต่ละองค์กร ถ้าแต่ละคนได้ศึก์าเรื่อง
ความขัดแย้ง โดยเฉพาะผู้บริหารได้ทาความเข้าใจเรื่อง
ความขัดแย้งโดยการศึก์าหาสาเหตุที่แท้จริงและแนว
ทางแก้ไข ให้รู้และเข้าใจในธรรมชาติของความขัดแย้ง
ร่วมมือร่วมใจกันและหาวิธีการที่จะแก้ไขความขัดแย้งต่าง
ๆจะก่อให้เกิดการพัฒนาทางด้านตัวบุคคลและองค์กร
ทฤษฎีเกี่ยวกับความขัดแย้ง สามารถนาไปใช้ใน
การบริหารการศึกษา พอจะสรุปได้ดังต่อไปนี้
• จะส่งผลให้การบริหารงานเกิดประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผลบรรลุตามเป้าหมาย เนื่องจากความขัดแย้งจะ
เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ
เป็นตัวกระตุ้นให้คนพยายามแก้ปัญหา และความขัดแย้ง
เป็นสิ่งที่ยังไม่สามารถควบคุมได้ในฐานะผู้บริหารจึงควร
รัก์าระดับความขัดแย้งภายในองค์การให้อยู่ในระดับ
ต่าสุด เพียงพอที่จะทาให้องค์การเจริญเติบโตและ
สร้างสรรค์ได้
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
Totsaporn Inthanin
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
Padvee Academy
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
Padvee Academy
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
Sunisa199444
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
Taraya Srivilas
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ครูพัฒวิทย์ ครูพัฒวิทย์
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
Jindarat JB'x Kataowwy
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์Sp'z Puifai
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
พัน พัน
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมkand-2539
 

What's hot (20)

รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
รูปแบบการบริหารจัดการการนิเทศการศึกษา สำหรับศตวรรษที่ 21
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
ความคิดสร้างสรรค์ สร้างได้ (Creative Thinking)
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 
เอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติเอกลักษณ์ของชาติ
เอกลักษณ์ของชาติ
 
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรีประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
ประวัติศาสตร์ไทยสมัยธนบุรี
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่นวิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
วิธีการสอนแบบเรียนปนเล่น
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธีปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
 
สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์สามัคคีเภทคำฉันท์
สามัคคีเภทคำฉันท์
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซียสงครามอ่าวเปอร์เซีย
สงครามอ่าวเปอร์เซีย
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
สารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอมสารบัญโครงงานคอม
สารบัญโครงงานคอม
 

Viewers also liked

สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
Bau Toom
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง okRose Banioki
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
Nabavee Serpa
 
Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict managementKan Yuenyong
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
Bau Toom
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
6Phepho
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การบะห์ บาตู
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert banduraya035
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
hoossanee
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
hoossanee
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt yuapawan
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
UNDP
 

Viewers also liked (17)

สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
 
Conflict
ConflictConflict
Conflict
 
Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict management
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
 
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
ทฤษฏีการเรียนรู้ของสกินเนอร์
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
Albert bandura
Albert     banduraAlbert     bandura
Albert bandura
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูราทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
ทฤษฎีการเรียนรู้ของแบนดูรา
 
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt  จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
จิตวิทยาการเรียนรู้.Ppt
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METTเครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
 
236 การทำงานเป็นทีม
236 การทำงานเป็นทีม236 การทำงานเป็นทีม
236 การทำงานเป็นทีม
 

Recently uploaded

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (8)

Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง