SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
สสันันตติศิศึกึกษษาา 
อ.อับดุลการีม อัสมะแอ 
หัวหน้าสาขาวิชานิติศาสตร์ 
คณะอิสลามศึกษาและ 
นิติศาสตร์ 
มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
ออิสิสลลาามศศาาสนนาาแแหหง่สสันันตติภิภาาพ 
อิสลามสนัติภาพ หน้า 25,56
คววาามขขััดแแยยง้
ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นคำาที่มาจาก 
ภาษาละตินว่า confligere ตามความหมาย 
ของ Webster Dictionary คำาว่า Conflict 
หมายถึง การต่อสู้ การสงคราม การไม่ 
ถูกกันเมื่อความสนใจ ความคิดหรือการกระ 
ทำาไม่เหมือนกัน
คววาามขขัดัดแแยย้ง้งตตาามคววาามหมมาายของ 
รราาชบบัณัณฑฑิติตยสถถาาน ((22553388::113377)) 
หมายถึง การไม่ลงรอยกัน ซึ่งหากจะ 
แยกพิจารณาคำาว่า "ขัด" ราชบัณฑิตยสถาน 
(2538:133) หมายถึง การไม่ทำาตาม ฝ่าฝืน 
ฝืนไว้และคำาว่า "แย้ง" ราชบัณฑิตยสถาน 
(2538:681) หมายถึง ไม่ตรงหรือลงรอย 
เดียวกัน ต้านไว้ ทานไว้ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า 
ความขัดแย้ง ประกอบด้วยอาการทั้งขัดและ 
แย้ง ซึ่งหมายถึงการที่ทั้งสองฝ่ายจะไม่ทำา 
ตามกันแล้วยังพยายามที่จะต้านเอาไว้อีกด้วย
คววาามขขััดแแยยง้ 
เป็นกระบวนการทางสังคม ความขัดแย้งเกิด 
ขึ้นเมื่อแต่ละฝ่ายมีจุดมุ่งหมายที่ไปด้วยกันไม่ได้ 
และมีค่านิยมที่แตกต่างกัน ความแตกต่างนี้มักเกิด 
จากการรับรู้มากกว่าที่จะเป็นความแตกต่างที่เกิด 
ขึ้นจริงๆ ( Filley อ้างถึงใน เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ 
2540:11 ) 
ความขัดแย้ง หมายถึง ความสมัพันธร์ะหว่าง 
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมาย หรือวิธีการ หรือ 
ทั้งสองอย่างแต่เป็นการพึ่งพาอาศัยในทางลบอาจ 
กล่าวอย่างกว้างๆได้ว่า 
ความขัดแย้ง หมายถึง การที่แต่ละฝ่ายไป ด้วยกัน 
ไม่ได้ในเรื่องเกี่ยวกับความต้องการ ไม่ว่าจะเป็น
ความขัดแย้ง เป็นความรู้สกึหรือ 
ปฏิกิริยาของบุคคลหรือกลุ่มคน ที่มีความคิด 
เห็น ค่านิยม และ เป้าหมายไม่เป็นไปในทาง 
เดียวกัน รวมทั้งการต่อสเู้พื่อทรัพยากรที่มีอยู่ 
จำากัด หรือการที่ฝ่ายหนึ่งรุกลำ้า หรือขัดขวาง 
การกระทำาอีกฝ่ายเพื่อให้เป้าหมายของตน 
บรรลุผล ซึ่งเป็นปฏิกิริยาในทางลบส่วน 
แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้งในปัจจุบัน
ความขัดแย้งอาจเป็นการส่ง 
เสริมการปฏิบัติงานในองค์การ ควร 
จะมีการบริหารความขัดแย้งให้เกิด 
ผลดีที่สุด ความขัดแย้งอาจจะมี 
ประโยชน์หรืออาจมีโทษขึ้นอยู่กับวิธี 
การบริหารในองค์การที่ดีที่สุดจะมี 
ความขัดแย้งในระดับที่เหมาะสมซึ่ง 
จะช่วย กระตุ้นแรงจูงใจให้คน 
ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ 
ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งใน 
องค์การ ความขัดแย้งเป็นของดี
สสาาเเหหตตุทุที่ที่ทำาำาใใหห้ม้มนนุษุษยย์ข์ขัดัดแแยย้ง้งกกััน ออาาจแแบบ่ง่งออก 
ไไดด้้เเปป็น็น 33 ปรระะกกาาร 
1.ความคิดเห็น 
2.แนวทางปฏิบัติ 
3.ผลประโยชน์
แแนนวคคิดิดหรอืมมุคววาามคคิดิด คววาามขขัดัด 
แแยยง้
แนวคิดสมัยดงั้เดิม 
(Traditional View) เชื่อว่า ความขัด 
แย้งเปน็สิ่งไม่ดี และมีผลกระทบด้านลบ 
ต่อองคก์ารอยู่เสมอ ดังนั้น หากหลีก 
เลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยง ผบู้ริหารจะต้องมี 
ความรับผิดชอบที่จะต้องกำาจัดความขัด 
แย้งขององค์การ วิธแีก้ปัญหาความขดั 
แย้ง ก็คอื การออกกฎระเบียบ 
กระบวนการทเี่ข้มงวด เพอื่ที่จะทำาให้ 
ความขัดแย้งหมดไป แต่ตามความเปน็ 
จริงแล้วความขัดแย้งก็ยังคงมีอยู่
แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ 
(Human Relations View) เชอื่ว่า ความ 
ขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ และหลีก 
เลี่ยงไม่ได้ภายใน ทุกองค์การ เนื่องจากไม่ 
สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งได้ มุมมอง 
ด้าน มนุษยสัมพันธ์ จึงสนับสนุนการยอมรับ 
ความขัดแย้ง 
เหตุผลของการมีความขัดแย้ง เพราะไม่ 
สามารถถูกกำาจัดได้ และความขัดแย้งอาจจะ 
มีประโยชน์ต่อภายในองค์การได้บ้างในบาง 
เวลา มุมมองด้าน มนุษยสมัพันธ์นี้ ได้ครอบงำา
แนวคิดสมัยใหม่ (Contemporary 
View) เมื่อแนวคิดด้านมนุษยสัมพันธ์ เชอื่ว่าความ 
ขัดแย้ง มุมมองที่เป็นแนวความคิดสมัยใหม่ จึง 
สนับสนุนความขัดแย้งบนรากฐานที่ว่า องค์การที่มี 
ความสามัคคี ความสงบสขุ ความเงียบสงบ และมี 
ความร่วมมือ หากไม่ยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้น 
จากความขัดแย้งการให้ความร่วมมือแก่ 
องค์การจะกลายเป็นความเฉื่อยชา อยู่เฉย และไม่ 
ตอบสนองต่อความต้องการ เพื่อการเปลี่ยน แปลง 
และการคิดค้นใหม่ๆ ดังนั้นแนวความคิดสมัยใหม่ 
สนับสนุนให้ผู้บริหารรักษาระดับความขัดแย้ง 
ภายในองค์การให้อยู่ในระดับตำ่าสุด เพียงพอที่จะ 
ทำาให้องค์การเจริญเติบโตและสร้างสรรค์
กรระะบวนกกาารของคววาามขขััดแแยยง้
กระบวนการความขัดแย้ง 
จะเริ่มต้นจากสถานการณ์ของความขัดแย้ง 
ซึ่งประกอบไปด้วยบุคคล พฤติกรรม ความสัมพันธ์ 
ระหว่างบุคคล และสภาพแวดล้อม 
กระบวนการของความขัดแย้งตามแนวคิดของฟิล 
เลย์ (Alan Filley, 1975) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน 
คือ
1. สภาพการณ์ก่อนการเกิดความขัดแย้ง เป็น 
สภาพที่จะนำาไปสู่ความขัดแย้งซึ่งเป็นผลมาจาก 
ความสัมพันธ์ทางสังคม 
2. ความขัดแย้งที่รับรู้ได้ เป็นการรับรู้ของฝ่าย 
ต่างๆว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น 
3. ความขัดแย้งที่รู้สึกได้ เป็นความรู้สกึของฝ่าย 
ต่างๆว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น 
4. พฤติกรรมที่ปรากฏชัด เป็นพฤติกรรมที่บุคคล 
แสดงออกมาให้เห็นเมื่อรับรู้หรือรู้สึกว่ามีความขัด 
แย้งเกิดขึ้น 
5. การแก้ปัญหาหรือการระงับปัญหา เป็นการ 
ทำาให้ความขัดแย้งสิ้นสุดลงหรือลดลง 
6. ผลจากการแก้ปัญหา เป็นผลที่เกิดขึ้นตามมา 
ภายหลังจากการแก้ปัญหาความขัดแย้งแล้ว
ปรระะเเภภทคววาามขขััดแแยยง้
ประเภทที่ 1. ความขัดแย้งภายในตัว 
บุคคล (Intrapersonal Conflict) หมายถึง 
ความขัดแย้งภายในตัวบุคคลเกิดขึ้นเนื่องจาก 
ความไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือการไม่แน่ใจ 
การกระทำาของตนเองว่ามีความสามารถเพียง 
พอหรือไม่ หรือเกิดความสับสนว้าวุ่นในสถาน 
การณ์นั้นๆ จนไม่สามารถตัดสนิใจ
ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่าง 
บุคคล (Interpersonal Conflict) หมายถึง 
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลเนื่องจาก 
ความไม่เห็นด้วยในเรื่องราว การกระทำาหรือจุด 
ประสงค์ ความขัดแย้งระหว่างบุคคลเกิดขึ้นส่วน 
ใหญ่มีผลมาจากความแตกต่างของบุคคลในด้าน 
การรับรู้ พื้นฐานการศึกษาและครอบครัว ตลอด 
จนสถานภาพ ความขัดแย้งชนิดนี้จะเป็นสงิ่สกัด 
กั้นบุคคลให้มีการติดต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพ
ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายใน 
กลุ่ม (Intragroup Conflict) หมายถึงความขัด 
แย้งของสมาชิกภายในกลุ่มที่เกิดจากความไม่เห็น 
ด้วย เนื่องจากแนวคิดต่างกัน ดังนั้นเมื่อสมาชิก 
สรุปผลจากข้อมูลเดียวกันโดยสรุปต่างกันจึงทำาให้ 
เกิดความขัดแย้ง ซึ่งอาจเรียกได้ว่า 
เป็น Substantive Conflict ผลของความขัดแย้ง 
แบบนี้จะช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร 
ที่ดีขึ้นและมีการตัดสนิใจ ส่วนความขัดแย้งที่อยู่ 
บนรากฐานของการตอบสนองทางอารมณ์ต่อ 
สถานการณ์นั้นๆ อาจเรียกได้ว่า Affective 
Conflict ซึ่งความขัดแย้งแบบนี้อาจเป็นผลมาจาก 
การที่มีรูปแบบและบุคลิกภาพที่ไม่เข้ากัน
ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่าง 
กลุ่ม (Intergroup Conflict) หมายถึงความ 
ขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างกลุ่ม เช่น ความขัดแย้ง 
ของแผนกบัญชีและแผนกวิจัย กลุ่ม 
สหภาพแรงงานและคณะกรรมการ 
ประนีประนอม ถ้าปรากฏว่าไม่สามารถตกลงแก้ 
ปัญหาได้ ความขัดแย้งชนิดนี้มักจะนำาไปสู่การ 
แข่งขัน และเกิดผลในแง่ของการชนะ – แพ้
ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งใน 
องค์การ (Intraoganizational 
Conflict) ความขัดแย้งภายในองค์การสามารถ 
แบ่งออกได้ 4 ชนิด 
1. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างหัวหน้ากับ 
ลูกน้อง ซึ่งมีความขัดแย้งในด้านวิธีการที่ดีที่สุด 
ที่จะทำาให้งานสำาเร็จ 
2. เป็นความขัดแย้งระหว่างแผนกในระดับ 
เดียวกันหรือผู้บริหารในระดับเดียวกัน เข่น การ 
แย่งชิงทรัพยากร 
3. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ปฏิบัติ 
งานประจำากลุ่มที่ทำางานในลักษณะสายงานและ 
ทีมงาน 
4. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการกำาหนด
ประเภทที่ 6 ความขัดแย้งระหว่าง 
องค์การ (Interoganizational 
Conflict) หมายถึงความขัดแย้งระหว่าง 
องค์การที่ต้องใช้ทรัพยากรร่วมกันหรือลูกค้า 
กลุ่มเดียวกัน มีการแข่งขันหรือความสมัพันธ์ว่า 
จะเกิดปฏิสัมพันธใ์นแง่ใด ถ้ามีการขัดแย้งสงูจะ 
มีผลต่อความพยายามขององค์การที่จะเข้า 
ควบคุมแหล่งทรัพยากร รักษาสมดุลของสว่น 
แบ่งตลาด มกีารพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา และ 
อาจจะมีการติดต่อเจรจากับองค์การนั้นๆ เพื่อ 
แก้ไขความขัดแย้ง
กกาารจดักกาารคววาามขขัดัดแแยยง้
เทคนิคการจัดการความขัดแย้ง 
1.ถ้าความกังวลหรือความสนใจในผลลัพธ์ 
ของทั้งตนเองและคกู่รณีตำ่า กลยุทธ์ที่มีความ 
เป็นไปได้สูงคือการหลีกเลี่ยง (Avoidance 
Strategy) 
2. ถ้ามีความกังวลหรือสนใจต่อผลลัพธ์ต่อ 
ตนเองสงู แต่ไม่สนใจในผลลัพธข์องคู่กรณี 
กลยุทธ์ที่ใช้ คือ การบังคับหรือกดดัน 
3. ถ้าความกังวล หรือความสนใจในผลลัพธ์ 
ต่อตนเองตำ่า แต่กังวลและสนใจผลลัพธ์ต่อคน 
อื่นสูง กลยุทธ์ที่นำามาใช้คือ ความปรองดอง 
(Accommodation) หรือการยินยอม
เเททคนนิคิคกกาารจจัดัดกกาารคววาามขขัดัดแแยย้ง้ง 
4.ถ้าความกังวลหรือความสนใจสูงทั้งต่อผู้ 
ผลลัพธข์องตนเองและคกู่รณี กลยุทธ์ที่เหมาะ 
สมก็คือ ความร่วมมือ(Collaborative) 
5. ถ้าความกังวลหรือความสนใจต่อผลลัพธ์ทั้ง 
ต่อตนเองและในคู่กรณีอยู่ในระดับปานกลาง 
คือ ไม่สูง ไม่ตำ่า กลยุทธ์ที่เหมาะสม คือ การ 
ประนีประนอม (Compromise)
เเกกมดดุ๊กุ๊กดดิ๊กิ๊ก 
คำาบอก คือ ตากลม – จมูกบาน – หน้ากลม – 
ปากหนา – หูตั้ง – ลำาตัวโค้ง – ขาสั้น – เล็บ 
ยาว – หางเป็นพวง - ขนตั้ง
รรูปูปแแบบบกกาารจจัดัดกกาารคววาามขขััดแแยยง้
เต่า - หลีกเลี่ยง หรือ หลบ 
หนี (Withdrawal หรือ Avoidance) 
เป็นการหลีกปัญหาที่นำาไปสู่ความขัดแย้ง 
และหลีกบุคคลที่มีแนวโน้มจะขัดแย้งด้วย 
ปรกติแล้วคนที่ใช้แบบที่หนึ่งนี้จะเชื่อว่า 
หลีกเลี่ยงง่ายกว่าขัดแย้ง และไม่คิดว่า 
ความขัดแย้งจะแก้ไขได้ จะเกิดผลแบบแพ้- 
แพ้ ข้อดี คือ เป็นการรักษาความสัมพันธ์ 
ระหว่างบุคคล ส่วนข้อเสีย คือ ความขัด 
แย้งไม่ได้รับการแก้ไข และอาจทำาให้ 
สถานการณ์แย่ลงกว่าเดิม
เเตต่่าา -- หลลีกีกเเลลี่ยี่ยง หรรืือ หลบ 
หนนีี 
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ 
ความขัดแย้งไม่สำาคัญมากนัก 
การเผชิญหน้าจะทำาลายความสัมพันธ์ซึ่ง 
เป็นเรื่องวิกฤตของการทำางาน 
มีข้อจำากัดด้านเวลาซึ่งทำาให้ต้องหลีกเลี่ยง 
การขัดแย้ง
ลลููกหมมีี 
ผผ่่อนปรน 
หรรือือ ปรองดอง ((AAccccoommmmooddaattiioonn)) 
วิธีนี้คือลดปริมาณความขัดแย้งลงเพื่อว่าความ 
สัมพันธ์ในทีมจะได้ไม่มีปัญหาเบื้องหลังของการ 
ใช้แบบนี้ ได้แก่ ความเชื่อที่ว่าการนำาเอาความขัด 
แย้งมาพูดจะทำาลายความสัมพันธ์มากกว่าจะ 
กระชับความสัมพันธ์ ดังนนั้จึงยอมสละความคิด 
เห็นสว่นตัวเพื่อคงสายสมัพันธ์ของทีมไว้ จะเป็น 
แบบแพ้-ชนะ ข้อดี คือ ยังรักษาความสัมพันธ์ไว้ 
ได้ แต่ข้อเสีย คือ อาจไม่เกิดผลในทางสร้างสรรค์ 
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ 
การรักษาความสัมพันธ์สำาคัญที่สุด 
การตกลงเรื่องข้อเปลี่ยนแปลงไม่สำาคัญมากนัก
ฉลลาาม -- บบังังคคับับ ((FFoorrccee)) 
เป็นการพยายามใช้อำานาจเหนือคนอื่นให้ 
ยอมรับตำาแหน่งของตน ผู้ที่ใช้วิธนีี้จะเห็น 
ว่าความเห็นส่วนตนสำาคัญมากและความ 
สัมพันธ์กับคนอื่นๆสำาคัญน้อยกว่า กลวิธี 
จัดการกับความขัดแย้ง จะเป็นแบบแพ้-ชนะ 
และยิ่งทำาให้ความขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มขึ้น 
อาจแสดงให้เห็นโดยโจมตีความคิดของคน 
อื่น หรือใช้ความชำานาญ ตำาแหน่งหรือ 
ประสบการณ์ที่ตนมีมากกว่าข่มผู้อื่น ข้อดี 
คือ เหมาะสำาหรับการตัดสินใจในองค์การที่ 
ยอมรับว่าผู้บังคับเป็นฝ่ายถูกและการบังคับ 
ได้ผลมากกว่าวิธีอื่น แต่ข้อเสีย คือ หากใช้
ฉลลาาม -- บบังังคคับับ ((FFoorrccee)) 
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมอื่ 
◦ความขัดแย้งเป็นเรื่องความแตก 
ต่างส่วนบุคคล (โดยเฉพาะอย่าง 
ยิ่งเรื่องค่านิยมซึ่งเปลี่ยนแปลง 
ยาก) 
◦การรักษาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด 
ไม่ใช่เรื่องวิกฤต 
◦การแก้ความขัดแย้งเป็นเรื่องรีบ 
ด่วน
สสุุนนัขัขจจิ้งิ้งจอก 
ปรระะนนีปีปรระะนอม ((CCoommpprroommiissee)) 
วิธีนี้ใช้การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน ต่าง 
ฝ่ายต่างได้บางสว่นและเสียไปบางส่วน ไม่มี 
ฝ่ายใดได้เต็มทั้งคู่ และส่วนที่เสียไปก็อาจเสยี 
ด้วยความไม่เต็มใจ ต่างฝ่ายต่างพยายาม 
ประสานผลประโยชน์กัน ในบางกรณีการแก้ 
ปัญหาแบบนี้ก็ใช้การได้ หากวิธีการแก้ 
ปัญหา (นกฮกู)ใช้แก้ความขัดแย้งไม่ได้ ผล 
ที่ได้จะเป็นแบบแพ้-ชนะ ข้อดี คือ แก้ความ 
ขัดแย้งได้เร็ว และยังคงรักษาความสมัพันธ์ 
ไว้ได้ แต่ข้อเสยี คือ นำาไปสกู่ารตัดสนิใจที่ 
ทำาให้ผลได้ลดลง และการใช้วิธีนบี้่อยจะ
สสุุนนััขจจิ้งิ้งจอก 
ปรระะนนีปีปรระะนอม ((CCoommpprroommiissee)) 
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ 
ประเด็นปัญหาซับซ้อนและวิกฤตและไม่มี 
วิธีแก้ที่ทำาได้ง่าย 
ทุกฝ่ายมีผลประโยชน์อย่างมาก ซึ่งผล 
ประโยชน์นั้นขึ้นอยู่กับการใช้วิธีการแก้ที่ต่าง 
กัน 
เวลาสั้น
นกฮฮูกูก 
แแกก้้ปปัญัญหหาา หรรือือ รร่ว่วมมมืือ 
กกััน ((PPrroobblleemm SSoollvviinngg หรรือือ CCoollllaabboorraattiioonn)) 
เป็นกลวิธีที่เรียกว่าการแก้ความขัดแย้ง 
แบบชนะ-ชนะ ทั้งสองฝ่ายต่างให้ความ 
สำาคัญต่อเป้าหมายของตนและความ 
สมัพนัธร์ะหว่างกันในระดับสูง วิธนีี้ใช้ 
เพื่อให้ต่างฝ่ายต่างบรรลุเป้าหมายของ 
ตนและยังสามารถรักษาความสัมพันธ์ใน 
ทีมไว้ได้ ขอ้ดี คอื มีแนวโน้มที่จะเป็นวิธี 
แก้ไขที่เหมาะที่สุดสำาหรับความขัดแย้ง 
ซึ่งต้องอาศัยพฤติกรรมกล้าแสดงออก
นกฮฮูกูก 
แแกก้้ปปัญัญหหาา หรรือือ รร่ว่วมมมืือกกััน ((PPrroobblleemm 
SSoollvviinngg หรรืือ CCoollllaabboorraattiioonn)) 
เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ 
การรักษาความสัมพันธ์เป็น 
เรื่องสำาคัญ 
มีเวลา 
เป็นความขัดแย้งระหว่างเพื่อน
ผลของการแก้ไขความขัดแย้ง 
กรณีที่ 1 แพ้ – แพ้ (Lose – Lose) เกิด 
จากการแก้ปัญหาที่ทำาให้เกิดการสูญเสียที่เลว 
ร้ายกว่าความขัดแย้ง เช่น การที่บริษัทสั่งปลด 
พนักงานที่มีความเชี่ยวชาญที่รู้ความลับของ 
บริษัทในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่สำาคัญ วิธีการที่ 
ใช้แล้วให้ผล แพ้ – แพ้ ได้แก่การหลีกหนี และ 
การปรองดอง ทั้งสองวิธจีัดอยู่ในกลุ่มนเี้พราะ 
ทั้งสองฝ่ายต่างก็ไม่ได้รับผลตามที่ต้องการที่ตั้ง 
เป้าหมายไว้ ดังนั้นแม้จะดูเสมือนแก้ปัญหาแต่ 
เป็นการแก้ปัญหาได้ขณะหนึ่งและอาจจะเกิด
กรณีที่ 2 แพ้ – ชนะ หรือ ชนะ – 
แพ้ 
(Win – Lose and Lose – Win) 
ผลของการแก้ปัญหาความขัดแย้งบางครั้งจะ 
ทำาให้ฝ่ายหนึ่งได้รับชัยชนะ ขณะที่อีกฝ่าย 
หนึ่งแพ้หรือฝ่ายหนึ่งได้รับผลประโยชน์ขณะ 
ที่อีกฝ่ายหนึ่งเสียผลประโยชน์หรือไม่ได้รับ 
ประโยชน์วิธีการจัดการความขัดแย้งที่จะได้ 
ผล แพ้ – ชนะ หรือ ชนะ – แพ้ คือการบังคับ 
หรือการใช้เป้าหมายอื่นที่สำาคัญกว่า วิธีการ 
แก้ปัญหาเหล่านี้ไม่สามารถแก้สาเหตุของ 
ความขัดแย้งเพียงแต่ทำาให้การขัดแย้งหมด 
ไปในขณะนั้น ผลคือความขัดแย้งจะยังคงอยู่
กรณีที่ 3 ชนะ – ชนะ (Win 
– Win) 
เป็นผลการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ 
พงึปรารถนามากทสี่ดุ โดยทงั้สอง 
ฝ่ายมีความรู้สึกหรือได้รับผลในแง่ 
ชนะทงั้สองฝ่าย นั่นคือการแก้ 
ปัญหาแบบมุ่งที่จะให้ทุกฝ่าย 
ตระหนักว่ามีอะไรผิดพลาดและต้อง 
มีการแกไ้ข การแกค้วามขัดแย้ง 
แบบชนะ – ชนะ เปน็การแกค้วาม 
ขัดแย้งโดยการพิจารณาเหตุของ
การจัดการความขัดแย้ง 
ขั้นที่ 1 เผชิญกับความขัดแย้ง 
ขั้นที่ 2 เข้าใจสถานภาพของแต่ละ 
ฝ่าย (Understand Each Other’s 
Position) 
ขั้นที่ 3 ระบุปัญหา (Define the 
Problems) 
ขั้นที่ 4 แสวงหาและประเมินทาง 
เลือก (Search for and Evaluation 
alternative Solutions) 
ขั้นที่ 5 ตกลงและนำาทางเลือกที่ดีที่สุด 
ไปใช้ (Agree upon and Implement
งงาาน 
จากประเด็น ความขัดแย้งที่นักศึกษาได้ 
ทำาการศึกษาจากสภาพจริงให้นักศึกษา 
จัดการความขัดแย้งนั้น ด้วยรูปแบบ วิธีการ 
กระบวนการ ที่ได้ศึกษามา พร้อมระบุผลของ 
การจัดการความขัดแย้ง และระบุปัญหา 
อุปสรรค ในการจัดความขัดแย้งนั้น 
วิธีทำา 
1.ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม หรือจับกลุ่ม เพื่อ 
ปฏิบัติงานกลุ่มละ 10 คน 
2.รูปแบบของงาน ให้นักศึกษา นำาเสนอ ด้วย 
สื่อ เช่น power point , ถ่ายคลิปวิดีโอ, 
กระดาษชาร์ท

More Related Content

What's hot

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางKat Suksrikong
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วนNut Seraphim
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสJariya Jaiyot
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นPaew Tongpanya
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม Terapong Piriyapan
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศPa'rig Prig
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์Nonsawan Exschool
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศmaerimwittayakom school
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2Taraya Srivilas
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมdnavaroj
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจายCholticha Boonliang
 

What's hot (20)

คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟางคัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ ฟาง
 
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่ 1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
1111111111111111111
11111111111111111111111111111111111111
1111111111111111111
 
02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน02 มาตราส่วน
02 มาตราส่วน
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบสอินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
อินดิเคเตอร์สำหรับกรดเบส
 
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้นหน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
หน่วยที่1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
 
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
หน่วยที่ 2 ค่านิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรม
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์  Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
Testแนวการออกข้อสอบวัดการคิดระดับสังเคราะห์
 
กิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศกิตติกรรมประกาศ
กิตติกรรมประกาศ
 
สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2สงครามโลกครั้งที่ 2
สงครามโลกครั้งที่ 2
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
การวัดการกระจาย
การวัดการกระจายการวัดการกระจาย
การวัดการกระจาย
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 

Viewers also liked

Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict managementKan Yuenyong
 
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonBau Toom
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงBau Toom
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง okRose Banioki
 
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขการวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขTaraya Srivilas
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุดTaraya Srivilas
 
Implementing
ImplementingImplementing
ImplementingBau Toom
 
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้Taraya Srivilas
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การบะห์ บาตู
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยTaraya Srivilas
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนTaraya Srivilas
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองDr.Krisada [Hua] RMUTT
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryกฤษฎา นามสุข
 
How to ensure successful performance measurement?
How to ensure successful performance measurement?How to ensure successful performance measurement?
How to ensure successful performance measurement?Torben Rick
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองIct Krutao
 

Viewers also liked (20)

Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict management
 
Conflict management
Conflict managementConflict management
Conflict management
 
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
 
Conflict
ConflictConflict
Conflict
 
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok
 
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไขการวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
การวิเคราะห์ปัญหาจังหวัดชายแดนภาคใต้และแนวทางแก้ไข
 
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
1สันติวิธีในการจัดการความขัดแย้ง ปรับปรุงล่าสุด
 
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลามกลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
กลุ่มก่อการร้ายอิสลาม
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
 
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
กรณีศึกษาปัญหาในสามจังหวัดภาคใต้
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทยสันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
สันติวิธีและการจัดการความขัดแย้งในสังคมไทย
 
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชนการจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
การจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธีและการไกล่เกลี่ยข้อพิพาทในชุมชน
 
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรองความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
ความหมายและความสำคัญของการเจรจาต่อรอง
 
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรองความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
ความขัดแย้งและการเจรจาต่อรอง
 
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionaryคู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
คู่มือการใช้งานโปรแกรม Benchmarking & kpi dictionary
 
How to ensure successful performance measurement?
How to ensure successful performance measurement?How to ensure successful performance measurement?
How to ensure successful performance measurement?
 
หน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมืองหน้าที่พลเมือง
หน้าที่พลเมือง
 
236 การทำงานเป็นทีม
236 การทำงานเป็นทีม236 การทำงานเป็นทีม
236 การทำงานเป็นทีม
 

Similar to การจัดการความขัดแย้ง

เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความpapontee
 
Strategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication ManagementStrategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication ManagementTanterm Thebest
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanagemymy2536
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)puasansern tawipan
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1Prapaporn Boonplord
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กรmaruay songtanin
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)Jirathorn Buenglee
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติTaraya Srivilas
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-NewTaraya Srivilas
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...maruay songtanin
 

Similar to การจัดการความขัดแย้ง (12)

เร ยงความ
เร ยงความเร ยงความ
เร ยงความ
 
Strategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication ManagementStrategic Issue Communication Management
Strategic Issue Communication Management
 
Framework 4ส6
Framework 4ส6Framework 4ส6
Framework 4ส6
 
Controversymanage
ControversymanageControversymanage
Controversymanage
 
Vunst dr delek
Vunst dr delekVunst dr delek
Vunst dr delek
 
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
การเปรียบเทียบทฤษฎีรัฐประศาสนศาสตร์ 8 ทฤษฎ1 99991 (4)
 
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1เทคนิคการบริหารทีมงาน1
เทคนิคการบริหารทีมงาน1
 
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
3 laws of performance กฏ 3 ข้อ ในการกำหนดอนาคตตนเองและองค์กร
 
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
วิเคราะห์วิธีการสอนที่เหมาะกับวิชาคณิตศาสตร์ (1)
 
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติการสร้างความปรองดองแห่งชาติ
การสร้างความปรองดองแห่งชาติ
 
เนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-Newเนื้อใน สันติสุข-New
เนื้อใน สันติสุข-New
 
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
To become a learning organization (The Fifth Discipline ) การสร้างองค์กรแห่งก...
 

การจัดการความขัดแย้ง

  • 1. สสันันตติศิศึกึกษษาา อ.อับดุลการีม อัสมะแอ หัวหน้าสาขาวิชานิติศาสตร์ คณะอิสลามศึกษาและ นิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยฟาฏอนี
  • 3. คววาามขขััดแแยยง้ ความขัดแย้ง (Conflict) เป็นคำาที่มาจาก ภาษาละตินว่า confligere ตามความหมาย ของ Webster Dictionary คำาว่า Conflict หมายถึง การต่อสู้ การสงคราม การไม่ ถูกกันเมื่อความสนใจ ความคิดหรือการกระ ทำาไม่เหมือนกัน
  • 4. คววาามขขัดัดแแยย้ง้งตตาามคววาามหมมาายของ รราาชบบัณัณฑฑิติตยสถถาาน ((22553388::113377)) หมายถึง การไม่ลงรอยกัน ซึ่งหากจะ แยกพิจารณาคำาว่า "ขัด" ราชบัณฑิตยสถาน (2538:133) หมายถึง การไม่ทำาตาม ฝ่าฝืน ฝืนไว้และคำาว่า "แย้ง" ราชบัณฑิตยสถาน (2538:681) หมายถึง ไม่ตรงหรือลงรอย เดียวกัน ต้านไว้ ทานไว้ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ความขัดแย้ง ประกอบด้วยอาการทั้งขัดและ แย้ง ซึ่งหมายถึงการที่ทั้งสองฝ่ายจะไม่ทำา ตามกันแล้วยังพยายามที่จะต้านเอาไว้อีกด้วย
  • 5. คววาามขขััดแแยยง้ เป็นกระบวนการทางสังคม ความขัดแย้งเกิด ขึ้นเมื่อแต่ละฝ่ายมีจุดมุ่งหมายที่ไปด้วยกันไม่ได้ และมีค่านิยมที่แตกต่างกัน ความแตกต่างนี้มักเกิด จากการรับรู้มากกว่าที่จะเป็นความแตกต่างที่เกิด ขึ้นจริงๆ ( Filley อ้างถึงใน เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์ 2540:11 ) ความขัดแย้ง หมายถึง ความสมัพันธร์ะหว่าง บุคคลที่เกี่ยวข้องกับจุดมุ่งหมาย หรือวิธีการ หรือ ทั้งสองอย่างแต่เป็นการพึ่งพาอาศัยในทางลบอาจ กล่าวอย่างกว้างๆได้ว่า ความขัดแย้ง หมายถึง การที่แต่ละฝ่ายไป ด้วยกัน ไม่ได้ในเรื่องเกี่ยวกับความต้องการ ไม่ว่าจะเป็น
  • 6. ความขัดแย้ง เป็นความรู้สกึหรือ ปฏิกิริยาของบุคคลหรือกลุ่มคน ที่มีความคิด เห็น ค่านิยม และ เป้าหมายไม่เป็นไปในทาง เดียวกัน รวมทั้งการต่อสเู้พื่อทรัพยากรที่มีอยู่ จำากัด หรือการที่ฝ่ายหนึ่งรุกลำ้า หรือขัดขวาง การกระทำาอีกฝ่ายเพื่อให้เป้าหมายของตน บรรลุผล ซึ่งเป็นปฏิกิริยาในทางลบส่วน แนวคิดเกี่ยวกับความขัดแย้งในปัจจุบัน
  • 7. ความขัดแย้งอาจเป็นการส่ง เสริมการปฏิบัติงานในองค์การ ควร จะมีการบริหารความขัดแย้งให้เกิด ผลดีที่สุด ความขัดแย้งอาจจะมี ประโยชน์หรืออาจมีโทษขึ้นอยู่กับวิธี การบริหารในองค์การที่ดีที่สุดจะมี ความขัดแย้งในระดับที่เหมาะสมซึ่ง จะช่วย กระตุ้นแรงจูงใจให้คน ปฏิบัติงานอย่างมีประสิทธิภาพ ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่งใน องค์การ ความขัดแย้งเป็นของดี
  • 8.
  • 10. แแนนวคคิดิดหรอืมมุคววาามคคิดิด คววาามขขัดัด แแยยง้ แนวคิดสมัยดงั้เดิม (Traditional View) เชื่อว่า ความขัด แย้งเปน็สิ่งไม่ดี และมีผลกระทบด้านลบ ต่อองคก์ารอยู่เสมอ ดังนั้น หากหลีก เลี่ยงได้ควรหลีกเลี่ยง ผบู้ริหารจะต้องมี ความรับผิดชอบที่จะต้องกำาจัดความขัด แย้งขององค์การ วิธแีก้ปัญหาความขดั แย้ง ก็คอื การออกกฎระเบียบ กระบวนการทเี่ข้มงวด เพอื่ที่จะทำาให้ ความขัดแย้งหมดไป แต่ตามความเปน็ จริงแล้วความขัดแย้งก็ยังคงมีอยู่
  • 11. แนวคิดด้านมนุษย์สัมพันธ์ (Human Relations View) เชอื่ว่า ความ ขัดแย้งอาจจะเกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ และหลีก เลี่ยงไม่ได้ภายใน ทุกองค์การ เนื่องจากไม่ สามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งได้ มุมมอง ด้าน มนุษยสัมพันธ์ จึงสนับสนุนการยอมรับ ความขัดแย้ง เหตุผลของการมีความขัดแย้ง เพราะไม่ สามารถถูกกำาจัดได้ และความขัดแย้งอาจจะ มีประโยชน์ต่อภายในองค์การได้บ้างในบาง เวลา มุมมองด้าน มนุษยสมัพันธ์นี้ ได้ครอบงำา
  • 12. แนวคิดสมัยใหม่ (Contemporary View) เมื่อแนวคิดด้านมนุษยสัมพันธ์ เชอื่ว่าความ ขัดแย้ง มุมมองที่เป็นแนวความคิดสมัยใหม่ จึง สนับสนุนความขัดแย้งบนรากฐานที่ว่า องค์การที่มี ความสามัคคี ความสงบสขุ ความเงียบสงบ และมี ความร่วมมือ หากไม่ยอมรับปัญหาที่เกิดขึ้น จากความขัดแย้งการให้ความร่วมมือแก่ องค์การจะกลายเป็นความเฉื่อยชา อยู่เฉย และไม่ ตอบสนองต่อความต้องการ เพื่อการเปลี่ยน แปลง และการคิดค้นใหม่ๆ ดังนั้นแนวความคิดสมัยใหม่ สนับสนุนให้ผู้บริหารรักษาระดับความขัดแย้ง ภายในองค์การให้อยู่ในระดับตำ่าสุด เพียงพอที่จะ ทำาให้องค์การเจริญเติบโตและสร้างสรรค์
  • 13. กรระะบวนกกาารของคววาามขขััดแแยยง้ กระบวนการความขัดแย้ง จะเริ่มต้นจากสถานการณ์ของความขัดแย้ง ซึ่งประกอบไปด้วยบุคคล พฤติกรรม ความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล และสภาพแวดล้อม กระบวนการของความขัดแย้งตามแนวคิดของฟิล เลย์ (Alan Filley, 1975) ประกอบด้วย 6 ขั้นตอน คือ
  • 14. 1. สภาพการณ์ก่อนการเกิดความขัดแย้ง เป็น สภาพที่จะนำาไปสู่ความขัดแย้งซึ่งเป็นผลมาจาก ความสัมพันธ์ทางสังคม 2. ความขัดแย้งที่รับรู้ได้ เป็นการรับรู้ของฝ่าย ต่างๆว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น 3. ความขัดแย้งที่รู้สึกได้ เป็นความรู้สกึของฝ่าย ต่างๆว่ามีความขัดแย้งเกิดขึ้น 4. พฤติกรรมที่ปรากฏชัด เป็นพฤติกรรมที่บุคคล แสดงออกมาให้เห็นเมื่อรับรู้หรือรู้สึกว่ามีความขัด แย้งเกิดขึ้น 5. การแก้ปัญหาหรือการระงับปัญหา เป็นการ ทำาให้ความขัดแย้งสิ้นสุดลงหรือลดลง 6. ผลจากการแก้ปัญหา เป็นผลที่เกิดขึ้นตามมา ภายหลังจากการแก้ปัญหาความขัดแย้งแล้ว
  • 15. ปรระะเเภภทคววาามขขััดแแยยง้ ประเภทที่ 1. ความขัดแย้งภายในตัว บุคคล (Intrapersonal Conflict) หมายถึง ความขัดแย้งภายในตัวบุคคลเกิดขึ้นเนื่องจาก ความไม่เป็นไปตามเป้าหมายหรือการไม่แน่ใจ การกระทำาของตนเองว่ามีความสามารถเพียง พอหรือไม่ หรือเกิดความสับสนว้าวุ่นในสถาน การณ์นั้นๆ จนไม่สามารถตัดสนิใจ
  • 16. ประเภทที่ 2 ความขัดแย้งระหว่าง บุคคล (Interpersonal Conflict) หมายถึง ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างบุคคลเนื่องจาก ความไม่เห็นด้วยในเรื่องราว การกระทำาหรือจุด ประสงค์ ความขัดแย้งระหว่างบุคคลเกิดขึ้นส่วน ใหญ่มีผลมาจากความแตกต่างของบุคคลในด้าน การรับรู้ พื้นฐานการศึกษาและครอบครัว ตลอด จนสถานภาพ ความขัดแย้งชนิดนี้จะเป็นสงิ่สกัด กั้นบุคคลให้มีการติดต่อกันอย่างมีประสิทธิภาพ
  • 17. ประเภทที่ 3 ความขัดแย้งภายใน กลุ่ม (Intragroup Conflict) หมายถึงความขัด แย้งของสมาชิกภายในกลุ่มที่เกิดจากความไม่เห็น ด้วย เนื่องจากแนวคิดต่างกัน ดังนั้นเมื่อสมาชิก สรุปผลจากข้อมูลเดียวกันโดยสรุปต่างกันจึงทำาให้ เกิดความขัดแย้ง ซึ่งอาจเรียกได้ว่า เป็น Substantive Conflict ผลของความขัดแย้ง แบบนี้จะช่วยให้เกิดการแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร ที่ดีขึ้นและมีการตัดสนิใจ ส่วนความขัดแย้งที่อยู่ บนรากฐานของการตอบสนองทางอารมณ์ต่อ สถานการณ์นั้นๆ อาจเรียกได้ว่า Affective Conflict ซึ่งความขัดแย้งแบบนี้อาจเป็นผลมาจาก การที่มีรูปแบบและบุคลิกภาพที่ไม่เข้ากัน
  • 18. ประเภทที่ 4 ความขัดแย้งระหว่าง กลุ่ม (Intergroup Conflict) หมายถึงความ ขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างกลุ่ม เช่น ความขัดแย้ง ของแผนกบัญชีและแผนกวิจัย กลุ่ม สหภาพแรงงานและคณะกรรมการ ประนีประนอม ถ้าปรากฏว่าไม่สามารถตกลงแก้ ปัญหาได้ ความขัดแย้งชนิดนี้มักจะนำาไปสู่การ แข่งขัน และเกิดผลในแง่ของการชนะ – แพ้
  • 19. ประเภทที่ 5 ความขัดแย้งใน องค์การ (Intraoganizational Conflict) ความขัดแย้งภายในองค์การสามารถ แบ่งออกได้ 4 ชนิด 1. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างหัวหน้ากับ ลูกน้อง ซึ่งมีความขัดแย้งในด้านวิธีการที่ดีที่สุด ที่จะทำาให้งานสำาเร็จ 2. เป็นความขัดแย้งระหว่างแผนกในระดับ เดียวกันหรือผู้บริหารในระดับเดียวกัน เข่น การ แย่งชิงทรัพยากร 3. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นระหว่างผู้ปฏิบัติ งานประจำากลุ่มที่ทำางานในลักษณะสายงานและ ทีมงาน 4. เป็นความขัดแย้งที่เกิดขึ้นจากการกำาหนด
  • 20. ประเภทที่ 6 ความขัดแย้งระหว่าง องค์การ (Interoganizational Conflict) หมายถึงความขัดแย้งระหว่าง องค์การที่ต้องใช้ทรัพยากรร่วมกันหรือลูกค้า กลุ่มเดียวกัน มีการแข่งขันหรือความสมัพันธ์ว่า จะเกิดปฏิสัมพันธใ์นแง่ใด ถ้ามีการขัดแย้งสงูจะ มีผลต่อความพยายามขององค์การที่จะเข้า ควบคุมแหล่งทรัพยากร รักษาสมดุลของสว่น แบ่งตลาด มกีารพัฒนาเพื่อแก้ไขปัญหา และ อาจจะมีการติดต่อเจรจากับองค์การนั้นๆ เพื่อ แก้ไขความขัดแย้ง
  • 21. กกาารจดักกาารคววาามขขัดัดแแยยง้ เทคนิคการจัดการความขัดแย้ง 1.ถ้าความกังวลหรือความสนใจในผลลัพธ์ ของทั้งตนเองและคกู่รณีตำ่า กลยุทธ์ที่มีความ เป็นไปได้สูงคือการหลีกเลี่ยง (Avoidance Strategy) 2. ถ้ามีความกังวลหรือสนใจต่อผลลัพธ์ต่อ ตนเองสงู แต่ไม่สนใจในผลลัพธข์องคู่กรณี กลยุทธ์ที่ใช้ คือ การบังคับหรือกดดัน 3. ถ้าความกังวล หรือความสนใจในผลลัพธ์ ต่อตนเองตำ่า แต่กังวลและสนใจผลลัพธ์ต่อคน อื่นสูง กลยุทธ์ที่นำามาใช้คือ ความปรองดอง (Accommodation) หรือการยินยอม
  • 22. เเททคนนิคิคกกาารจจัดัดกกาารคววาามขขัดัดแแยย้ง้ง 4.ถ้าความกังวลหรือความสนใจสูงทั้งต่อผู้ ผลลัพธข์องตนเองและคกู่รณี กลยุทธ์ที่เหมาะ สมก็คือ ความร่วมมือ(Collaborative) 5. ถ้าความกังวลหรือความสนใจต่อผลลัพธ์ทั้ง ต่อตนเองและในคู่กรณีอยู่ในระดับปานกลาง คือ ไม่สูง ไม่ตำ่า กลยุทธ์ที่เหมาะสม คือ การ ประนีประนอม (Compromise)
  • 23. เเกกมดดุ๊กุ๊กดดิ๊กิ๊ก คำาบอก คือ ตากลม – จมูกบาน – หน้ากลม – ปากหนา – หูตั้ง – ลำาตัวโค้ง – ขาสั้น – เล็บ ยาว – หางเป็นพวง - ขนตั้ง
  • 24. รรูปูปแแบบบกกาารจจัดัดกกาารคววาามขขััดแแยยง้ เต่า - หลีกเลี่ยง หรือ หลบ หนี (Withdrawal หรือ Avoidance) เป็นการหลีกปัญหาที่นำาไปสู่ความขัดแย้ง และหลีกบุคคลที่มีแนวโน้มจะขัดแย้งด้วย ปรกติแล้วคนที่ใช้แบบที่หนึ่งนี้จะเชื่อว่า หลีกเลี่ยงง่ายกว่าขัดแย้ง และไม่คิดว่า ความขัดแย้งจะแก้ไขได้ จะเกิดผลแบบแพ้- แพ้ ข้อดี คือ เป็นการรักษาความสัมพันธ์ ระหว่างบุคคล ส่วนข้อเสีย คือ ความขัด แย้งไม่ได้รับการแก้ไข และอาจทำาให้ สถานการณ์แย่ลงกว่าเดิม
  • 25. เเตต่่าา -- หลลีกีกเเลลี่ยี่ยง หรรืือ หลบ หนนีี เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ ความขัดแย้งไม่สำาคัญมากนัก การเผชิญหน้าจะทำาลายความสัมพันธ์ซึ่ง เป็นเรื่องวิกฤตของการทำางาน มีข้อจำากัดด้านเวลาซึ่งทำาให้ต้องหลีกเลี่ยง การขัดแย้ง
  • 26. ลลููกหมมีี ผผ่่อนปรน หรรือือ ปรองดอง ((AAccccoommmmooddaattiioonn)) วิธีนี้คือลดปริมาณความขัดแย้งลงเพื่อว่าความ สัมพันธ์ในทีมจะได้ไม่มีปัญหาเบื้องหลังของการ ใช้แบบนี้ ได้แก่ ความเชื่อที่ว่าการนำาเอาความขัด แย้งมาพูดจะทำาลายความสัมพันธ์มากกว่าจะ กระชับความสัมพันธ์ ดังนนั้จึงยอมสละความคิด เห็นสว่นตัวเพื่อคงสายสมัพันธ์ของทีมไว้ จะเป็น แบบแพ้-ชนะ ข้อดี คือ ยังรักษาความสัมพันธ์ไว้ ได้ แต่ข้อเสีย คือ อาจไม่เกิดผลในทางสร้างสรรค์ เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ การรักษาความสัมพันธ์สำาคัญที่สุด การตกลงเรื่องข้อเปลี่ยนแปลงไม่สำาคัญมากนัก
  • 27. ฉลลาาม -- บบังังคคับับ ((FFoorrccee)) เป็นการพยายามใช้อำานาจเหนือคนอื่นให้ ยอมรับตำาแหน่งของตน ผู้ที่ใช้วิธนีี้จะเห็น ว่าความเห็นส่วนตนสำาคัญมากและความ สัมพันธ์กับคนอื่นๆสำาคัญน้อยกว่า กลวิธี จัดการกับความขัดแย้ง จะเป็นแบบแพ้-ชนะ และยิ่งทำาให้ความขัดแย้งที่มีอยู่เพิ่มขึ้น อาจแสดงให้เห็นโดยโจมตีความคิดของคน อื่น หรือใช้ความชำานาญ ตำาแหน่งหรือ ประสบการณ์ที่ตนมีมากกว่าข่มผู้อื่น ข้อดี คือ เหมาะสำาหรับการตัดสินใจในองค์การที่ ยอมรับว่าผู้บังคับเป็นฝ่ายถูกและการบังคับ ได้ผลมากกว่าวิธีอื่น แต่ข้อเสีย คือ หากใช้
  • 28. ฉลลาาม -- บบังังคคับับ ((FFoorrccee)) เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมอื่ ◦ความขัดแย้งเป็นเรื่องความแตก ต่างส่วนบุคคล (โดยเฉพาะอย่าง ยิ่งเรื่องค่านิยมซึ่งเปลี่ยนแปลง ยาก) ◦การรักษาความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิด ไม่ใช่เรื่องวิกฤต ◦การแก้ความขัดแย้งเป็นเรื่องรีบ ด่วน
  • 29. สสุุนนัขัขจจิ้งิ้งจอก ปรระะนนีปีปรระะนอม ((CCoommpprroommiissee)) วิธีนี้ใช้การแลกเปลี่ยนผลประโยชน์กัน ต่าง ฝ่ายต่างได้บางสว่นและเสียไปบางส่วน ไม่มี ฝ่ายใดได้เต็มทั้งคู่ และส่วนที่เสียไปก็อาจเสยี ด้วยความไม่เต็มใจ ต่างฝ่ายต่างพยายาม ประสานผลประโยชน์กัน ในบางกรณีการแก้ ปัญหาแบบนี้ก็ใช้การได้ หากวิธีการแก้ ปัญหา (นกฮกู)ใช้แก้ความขัดแย้งไม่ได้ ผล ที่ได้จะเป็นแบบแพ้-ชนะ ข้อดี คือ แก้ความ ขัดแย้งได้เร็ว และยังคงรักษาความสมัพันธ์ ไว้ได้ แต่ข้อเสยี คือ นำาไปสกู่ารตัดสนิใจที่ ทำาให้ผลได้ลดลง และการใช้วิธีนบี้่อยจะ
  • 30. สสุุนนััขจจิ้งิ้งจอก ปรระะนนีปีปรระะนอม ((CCoommpprroommiissee)) เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ ประเด็นปัญหาซับซ้อนและวิกฤตและไม่มี วิธีแก้ที่ทำาได้ง่าย ทุกฝ่ายมีผลประโยชน์อย่างมาก ซึ่งผล ประโยชน์นั้นขึ้นอยู่กับการใช้วิธีการแก้ที่ต่าง กัน เวลาสั้น
  • 31. นกฮฮูกูก แแกก้้ปปัญัญหหาา หรรือือ รร่ว่วมมมืือ กกััน ((PPrroobblleemm SSoollvviinngg หรรือือ CCoollllaabboorraattiioonn)) เป็นกลวิธีที่เรียกว่าการแก้ความขัดแย้ง แบบชนะ-ชนะ ทั้งสองฝ่ายต่างให้ความ สำาคัญต่อเป้าหมายของตนและความ สมัพนัธร์ะหว่างกันในระดับสูง วิธนีี้ใช้ เพื่อให้ต่างฝ่ายต่างบรรลุเป้าหมายของ ตนและยังสามารถรักษาความสัมพันธ์ใน ทีมไว้ได้ ขอ้ดี คอื มีแนวโน้มที่จะเป็นวิธี แก้ไขที่เหมาะที่สุดสำาหรับความขัดแย้ง ซึ่งต้องอาศัยพฤติกรรมกล้าแสดงออก
  • 32. นกฮฮูกูก แแกก้้ปปัญัญหหาา หรรือือ รร่ว่วมมมืือกกััน ((PPrroobblleemm SSoollvviinngg หรรืือ CCoollllaabboorraattiioonn)) เงื่อนไขที่เหมาะสม ควรใช้เมื่อ การรักษาความสัมพันธ์เป็น เรื่องสำาคัญ มีเวลา เป็นความขัดแย้งระหว่างเพื่อน
  • 33. ผลของการแก้ไขความขัดแย้ง กรณีที่ 1 แพ้ – แพ้ (Lose – Lose) เกิด จากการแก้ปัญหาที่ทำาให้เกิดการสูญเสียที่เลว ร้ายกว่าความขัดแย้ง เช่น การที่บริษัทสั่งปลด พนักงานที่มีความเชี่ยวชาญที่รู้ความลับของ บริษัทในการผลิต ผลิตภัณฑ์ที่สำาคัญ วิธีการที่ ใช้แล้วให้ผล แพ้ – แพ้ ได้แก่การหลีกหนี และ การปรองดอง ทั้งสองวิธจีัดอยู่ในกลุ่มนเี้พราะ ทั้งสองฝ่ายต่างก็ไม่ได้รับผลตามที่ต้องการที่ตั้ง เป้าหมายไว้ ดังนั้นแม้จะดูเสมือนแก้ปัญหาแต่ เป็นการแก้ปัญหาได้ขณะหนึ่งและอาจจะเกิด
  • 34. กรณีที่ 2 แพ้ – ชนะ หรือ ชนะ – แพ้ (Win – Lose and Lose – Win) ผลของการแก้ปัญหาความขัดแย้งบางครั้งจะ ทำาให้ฝ่ายหนึ่งได้รับชัยชนะ ขณะที่อีกฝ่าย หนึ่งแพ้หรือฝ่ายหนึ่งได้รับผลประโยชน์ขณะ ที่อีกฝ่ายหนึ่งเสียผลประโยชน์หรือไม่ได้รับ ประโยชน์วิธีการจัดการความขัดแย้งที่จะได้ ผล แพ้ – ชนะ หรือ ชนะ – แพ้ คือการบังคับ หรือการใช้เป้าหมายอื่นที่สำาคัญกว่า วิธีการ แก้ปัญหาเหล่านี้ไม่สามารถแก้สาเหตุของ ความขัดแย้งเพียงแต่ทำาให้การขัดแย้งหมด ไปในขณะนั้น ผลคือความขัดแย้งจะยังคงอยู่
  • 35. กรณีที่ 3 ชนะ – ชนะ (Win – Win) เป็นผลการแก้ปัญหาความขัดแย้งที่ พงึปรารถนามากทสี่ดุ โดยทงั้สอง ฝ่ายมีความรู้สึกหรือได้รับผลในแง่ ชนะทงั้สองฝ่าย นั่นคือการแก้ ปัญหาแบบมุ่งที่จะให้ทุกฝ่าย ตระหนักว่ามีอะไรผิดพลาดและต้อง มีการแกไ้ข การแกค้วามขัดแย้ง แบบชนะ – ชนะ เปน็การแกค้วาม ขัดแย้งโดยการพิจารณาเหตุของ
  • 36. การจัดการความขัดแย้ง ขั้นที่ 1 เผชิญกับความขัดแย้ง ขั้นที่ 2 เข้าใจสถานภาพของแต่ละ ฝ่าย (Understand Each Other’s Position) ขั้นที่ 3 ระบุปัญหา (Define the Problems) ขั้นที่ 4 แสวงหาและประเมินทาง เลือก (Search for and Evaluation alternative Solutions) ขั้นที่ 5 ตกลงและนำาทางเลือกที่ดีที่สุด ไปใช้ (Agree upon and Implement
  • 37. งงาาน จากประเด็น ความขัดแย้งที่นักศึกษาได้ ทำาการศึกษาจากสภาพจริงให้นักศึกษา จัดการความขัดแย้งนั้น ด้วยรูปแบบ วิธีการ กระบวนการ ที่ได้ศึกษามา พร้อมระบุผลของ การจัดการความขัดแย้ง และระบุปัญหา อุปสรรค ในการจัดความขัดแย้งนั้น วิธีทำา 1.ให้นักศึกษาแบ่งกลุ่ม หรือจับกลุ่ม เพื่อ ปฏิบัติงานกลุ่มละ 10 คน 2.รูปแบบของงาน ให้นักศึกษา นำาเสนอ ด้วย สื่อ เช่น power point , ถ่ายคลิปวิดีโอ, กระดาษชาร์ท