SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 4
ทฤษฎีการขัดแย้ง(Conflict Theory)
เป็นทฤษฎีแม่บทที่สำาคัญอีกทฤษฎีหนึ่งของสังคมวิทยา เนื้อหา
สาระของทฤษฎีสมัยใหม่ของทฤษฎีนี้ สืบเนื่องมาจากแนวคิดของนัก
สังคมวิทยา ชาวเยอรมัน 2 คน คือ Karl Marx และ Georg Simmel ซึ่ง
ทฤษฎีการขัดแย้ง แม้จะถือกำาเนิดในยุโรป ในเวลาไล่เลี่ยกับทฤษฎีการ
หน้าที่ แต่เพิ่งจะได้รับความสนใจในอเมริกา เมื่อ ทศวรรษที่ 1950
ทั้ง Karl Marx และ Georg Simmel วิจารณ์ทฤษฎีการหน้าที่
ของ Parsons ว่า “เน้นเรื่องระเบียบสังคมความสมดุลและกลไกในการ
รักษาดุลยภาพและความเป็นระเบียบมากเกินไป จนมองเห็นความไม่
มั่นคง การเสียระเบียบและการขัดแย้งว่า เป็นพฤติกรรมเสียระเบียบไป
เสียหมด ความจริงสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตสังคมมนุษย์เท่าๆ กับ
ความเป็นระเบียบ ความสมดุลในสังคมนั่นเองเพียงแต่เป็นคนละด้าน
”เท่านั้น
Lockwood ยืนยันว่ามีกลไกบางอย่างในสังคมที่ทำาให้การขัดแย้ง
เกิดขึ้นในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น
1. การที่บุคคลมีอำานาจไม่เท่ากัน
2. การที่สังคมมักมีของหายากอยู่อย่างจำากัด
3. ในสังคมมักมีกลุ่มต่างๆ ที่มีเป้าหมายไม่เหมือนกัน จึงมี
การช่วงชิงให้ได้บรรลุเป้าหมายนั้น
สาระสำาคัญของทฤษฎีการขัดแย้ง
1. ทุกหน่วยของสังคมอาจเปลี่ยนแปลงได้
2. ทุกหน่วยของสังคมเป็นบ่อเกิดของการขัดแย้ง
3. ทุกหน่วยของสังคมมีส่วนส่งเสริมความไม่เป็นปึกแผ่นและ
การเปลี่ยนแปลง
4. ทุกสังคมจะมีคนกลุ่มหนึ่งควบคุมบังคับคนอีกกลุ่มหนึ่ง ให้
เกิดความเป็นระเบียบในสังคม
นักทฤษฎีการขัดแย้งที่สำาคัญ 1) Karl Marx 2) George Simmel
3) Ralf Dahrendorf 4) Lewis Coser
2
4.1 ทฤษฎีการขัดแย้งของ Karl Marx (1818-1883)
แนวคิดของ คาร์ล มากซ์ (Karl Marx) คา ร์ล มากซ์ เชื่อว่า
ความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กัน เป็นกฎพื้นฐานของชีวิต
เป็นสภาพปกติของสังคม โดยความขัดแย้งเริ่มที่เศรษฐกิจซึ่งหลีกเลี่ยง
ได้ยาก แล้วจะนำาไปสู่ความขัดแย้งทางสังคม และเชื่อในการใช้ความ
ขัดแย้งเป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนสังคม การวิเคราะห์ของคาร์ล มากซ์
ใช้ความขัดแย้งเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สังคม โดยอยู่บนพื้นฐาน
ของการศึกษาความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีความขัดแย้งของคาร์ล
มากซ์ได้อธิบายว่าสังคมเป็นอย่างไร และมีแนวทางในการเปลี่ยนสังคม
อย่างไร (พรนพ พุกกะพันธ์, 2542 :157-158 ) Karl Marx ได้เขียน
หนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทุนนิยม วัฒนธรรม เทคโนโลยี
ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น และอุดมการณ์ สำาหรับการขัดแย้งของ
ทฤษฎีสังคมวิทยานั้น Marx เชื่อว่าความรำ่ารวยและอำานาจถูกกระจาย
อย่างไม่เท่าเทียมกันในสังคม เขาจึงไม่สนใจว่าความยินยอมพร้อมใจ
ในสังคมทำางานอย่างไร แต่สนใจว่า คนกลุ่มหนึ่งดำารงการครอบงำา
สังคมไว้ได้อย่างไร ซึ่ง Marx ก็ได้อธิบายอย่างหนักแน่นว่า มุมมองและ
สามัญสำานึกของผู้คนถูกครอบงำาด้วยสิ่งที่เรียกว่า อุดมการณ์
4.1.1 ทฤษฎีความขัดแย้ง Marx มีฐานคติที่สำาคัญมี 3 ประการ
คือ
ก) องค์การทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของ
ทรัพย์สิน เป็นผู้กำาหนดรูปแบบขององค์กรอื่นๆในสังคม
ข) องค์การเศรษฐกิจของสังคมใดๆ ย่อมเป็นต้นกำาเนิดการ
ขัดแย้งเชิงปฏิวัติระหว่างชนชั้นในสังคมนั้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้นเสมอ
เป็นกระบวนการวิภาษวิธี (Dialectics) และจะเกิดเป็นยุคสมัยเป็นสมัย
แบ่งสังคมออกเป็นกลุ่มเป็นพวก
ค) การขัดแย้งจะมีลักษณะเป็น 2 หลัก (Dipolar) ได้แก่
- ชนชั้นที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ
- ชนชั้นที่มีอำานาจและเป็นเจ้าของทรัพย์สิน
Karl Marx มีแนวคิดในแนวทางหน้าที่นิยมโดยมองสถาบันต่างๆ
ในสังคมทำาหน้าที่เพื่อรักษาความสอดประสานกันทางสังคม แต่ความ
3
สอดประสานกันให้อำานาจในการควบคุม คือ ชนชั้นปกครองหรือชนชั้น
ที่มีอำานาจและเป็นเจ้าของทรัพย์สินแก่คนกลุ่มหนึ่ง คือ ชนชั้นที่ถูกเอา
รัดเอาเปรียบ ด้วยสิ่งที่เรียกว่า อุดมการณ์ หรือจิตสำานึกที่ผิดพลาด
4.1.2 ขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ของคาร์ล
มาร์กซ์
คาร์ล มาร์กซ์ มีความเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงของทุกๆ
สังคม จะมีขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้น โดยแต่ละขั้น
จะมีวิธีการผลิต (Mode of Production) ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของ
อำานาจของการผลิต (Forces of production) ซึ่งได้แก่ การจัดการด้าน
แรงงาน ที่ดิน ทุน และเทคโนโลยีกับความสัมพันธ์ทางสังคมของการ
ผลิต (Social relation of production) ซึ่งได้แก่ เจ้าของปัจจัยการผลิต
และคนงานที่ทำาหน้าที่ผลิต แต่ในระบบการผลิตแต่ละระบบจะมีความขัด
แย้งระหว่างชนชั้นผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกับผู้ใช้แรงงานในการ
ผลิต ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ที่เป็นโครงสร้างส่วนล่าง
ของสังคม (Substructure) และเมื่อโครงสร้างส่วนล่างมีการ
เปลี่ยนแปลงจะมีผลทำาให้เกิดการผันแปรและเปลี่ยนแปลงต่อโครงสร้าง
ส่วนบนของสังคม (Superstructure) ซึ่งเป็นสถาบันทางสังคม เช่น
รัฐบาล ครอบครัว การศึกษา ศาสนา และรวมถึงค่านิรม ทัศนคติ และ
บรรทัดฐานของสังคม ลำาดับขั้นของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ขอ
งมาร์กซ์มีดังนี้
1) ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ดั้งเดิม (Primitive
communism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตเป็น
ของเผ่า (Tribal ownership) ต่อมาเผ่าต่าง ๆ ได้รวมตัวกันเป็นเมือง
และรัฐ ทำาให้กรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตเปลี่ยนไปเป็นของรัฐแทน
ข) ขั้นสังคมแบบโบราณ (Ancient communal) กรรมสิทธิ์ใน
ปัจจัยการผลิตเป็นของรัฐ (State ownership) สมาชิกในสังคมได้รับ
กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนตัวที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ซึ่งได้แก่ เครื่อง
ใช้ส่วนตัว และทาส ดังนั้นทาส (Slavery) จึงเป็นกำาลังสำาคัญในการ
ระบบการผลิตทั้งหมด และ ต่อมาระบบการผลิตได้เกิดความขัดแย้ง
ระหว่างเจ้าของทาสและทาส
ค) ขั้นสังคมแบบศักดินา (Feudalism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัย
การผลิตเป็นของขุนนาง คือ ที่ดินโดยมีทาสเป็นแรงงานในการผลิต
4
ง) ขั้นสังคมแบบทุนนิยม (Capitalism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัย
การผลิตเป็นของนายทุน คือ ที่ดิน ทุน แรงงาน และเครื่องจักร โดยมีผู้
ใช้แรงงานเป็นผู้ผลิต
จ) ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) กรรมสิทธิ์ใน
ปัจจัยการผลิตเป็นของทุกคน ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ไม่มีใครเอา
เปรียบซึ่งกันและกัน
ตามแนวความคิดของมาร์กซ์ ลำาดับขั้นของการนำาไปสู่การปฏิวัติ
ของชนชั้นล่างของสังคมเกิดจากกระบวนการดังต่อไปนี้ 1) มีความ
ต้องการในการผลิต 2) เกิดการแบ่งแยกแรงงาน 3) มีการสะสมและ
พัฒนาทรัพย์สินส่วนบุคคล 3) ความไม่เท่าเทียมทางสังคมมีมากขึ้น 4)
เกิดการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในสังคม 5) เกิดตัวแทนทางการเมืองเพื่อ
ทำาการรักษาผลประโยชน์ของแต่ละชนชั้น 5) เกิดการปฏิบัติ
การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามแนวความคิดของมาร์กซ์ เป็นการ
ต่อสู่ระหว่างชนชั้นในสังคม โดยใช้แนวความคิดวิภาษวิธี (Dialectical)
ที่เริ่มจากการกระทำา (Thesis) ซึ่งเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการก
ระทำา (Antithesis) และเกิดการกระทำาแบบใหม่ (Synthesis) ตามมา
4.2 ทฤษฎีการขัดแย้งของ George Simmel (1858-1918)
ยอร์จ ซิมเมล (Georg Simmel) มีแนวความคิดว่าความขัดแย้ง
เป็นปฏิสัมพันธ์แบบหนึ่ง (sociation) ที่ เกิดขึ้นในกลุ่มสมาชิกที่มีความ
สัมพันธ์ใกล้ชิดกัน โดยเชื่อว่าความขัดแย้งระหว่างสองฝ่ายแสดงให้
เห็นลักษณะความสัมพันธ์ของทั้ง สองฝ่าย โดยเป็นผลจากการที่มีความ
รู้สึกเข้าข้างตนเองมากกว่าเข้าข้างฝ่ายอื่น ความขัดแย้งมีอยู่ทุก
องค์การซึ่งจะนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลของความขัดแย้งคือ
จะเกิดความกลมเกลียวภายในกลุ่ม แต่ความกลมเกลียวภายในกลุ่มหรือ
ระหว่างกลุ่มก็จะเป็นต้นเหตุของความขัดแย้ง ด้วย (พรนพ พุกกะพันธ์,
2542 : 159-161) ผลงานของ ซิมเมล เกี่ยวกับความขัดแย้งปรากฏใน
หนังสือของเขาชื่อ Soziologie แนวคิดที่สำาคัญบางประการของซิมเมล
เกี่ยวกับความขัดแย้งคือ
4.2.1 ความขัดแย้งทำาให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม
ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะทำาให้เกิดการรวมตัวกันภายในกลุ่ม
ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะบังคับให้กลุ่มมีการประสานงานที่ดีและ
5
มีผู้นำาเกิดขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้กลุ่มสร้างของเขตของกลุ่มขึ้นมา
ซึ่งจะทำาให้ทราบว่าใครเป็นสมาชิกของกลุ่มเรา หรือใครเป็นพวกเรา
บ้าง ความขัดแย้งช่วยลดความเบี่ยงเบนหรือความบาดหมางภายในกลุ่ม
เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการต่อกรหรือจัดการกับฝ่ายตรงข้าม
ความขัดแย้งช่วยจัดระบบและประสานทรัพยากรต่าง ๆ ทางสังคมเสีย
ใหม่ และช่วยสร้างหรือพัฒนาความสัมพันธ์ชนิดใหม่กับฝ่ายตรงข้าม
4.2.2 ความกลมเกลียวภายในกลุ่มเป็นสาเหตุทำาให้เกิดความขัด
แย้ง ความกลมเกลียวทำาให้เกิดความขัดแย้งเช่นเดียวกับเป็นผลที่เกิด
จากความขัดแย้ง หากทั้งสองฝ่ายที่มีความกลมเกลียวกันมาก เช่น คู่
สมรส หุ้นส่วน มักจะมีประสบการณ์เกี่ยวกับความขัดแย้ง ความจริงนั้น
ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่เกิดเรื้อรังในความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดใดๆ เพราะต่าง
ฝ่ายต่างก็มีอิทธิพลต่อกันในชีวิต ถ้าหากความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเป็น
ความสัมพันธ์ที่ไม่ใกล้ชิดกัน ความขัดแย้งอาจไม่เกิดขึ้นก็ได้ เช่น
พฤติกรรมที่ไม่สุภาพของคนขายของ ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ไม่ใกล้ชิดกับ
เรา พฤติกรรมของเขามีผลเพียงเล็กน้อยต่อเรา ในทางตรงกันข้าม ถ้า
หากมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันจะทำาให้เราเกิดอารมณ์รุนแรงและ
ตอบโต้กลับไป ความรักของสองคนเบ่งบานเพราะมีความรู้สึกผูกพันต่อ
กัน ในทางตรงกันข้ามความเกลียดชังอย่างแสนสาหัสก็เกิดจากการเลิก
รักกันหรือรักกันอีกไม่ได้ บุคคลที่หนีออกมาจากกลุ่มด้วยเหตุผลอะไร
ก็ตาม มักจะเป็นคนที่เคยมีความสัมพันธ์อย่างดียิ่งในกลุ่มเดิม บุคคลที่มี
ความคับข้องใจมากที่สุดในกลุ่ม คือบุคคลที่เคยมีแรงจูงใจอย่างมากที่
จะเป็นสมาชิกของกลุ่ม
4.2.3 ความกลมเกลียวระหว่างกลุ่มเป็นสาเหตุทำาให้เกิดการขัด
แย้ง ความกลมเกลียวระหว่างกลุ่ม ก็เป็นสาเหตุทำาให้เกิดความขัดแย้ง
เช่นเดียวกันกับความกลมเกลียวภายในกลุ่ม กลุ่มสองกลุ่มที่มีความกลม
เกลียวกันอย่างดีโดยมีความผูกพันกันแบบใดแบบหนึ่ง เช่น มีความ
สนใจร่วมกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน ใช้ภาษาพูดเดียวกัน อยู่ในท้องถิ่น
เดียวกัน มาจากท้องถิ่นเดียวกัน หรือมีความคล้ายกันทางวัฒนธรรม
สังคม เศรษฐกิจ หรือแนวคิดทางการเมือง อาจเกิดความขัดแย้งที่
รุนแรงได้
สาระความคิดเกี่ยวกับองค์การสังคมของ Simmel
6
1) ความสัมพันธ์ทางสังคมจะเกิดขึ้นในภาวะสังคมเป็นระบบ ซึ่ง
ความสัมพันธ์ทางสังคมอาจสืบเนื่องมาจาก กระบวนการทางอินทรีย์
ภาพสองกระบวนการ คือ กระบวนการก่อสัมพันธ์และการแตกสัมพันธ์
2) กระบวนการดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจากทั้งแรงขับ
สัญชาตญาณและความจำาเป็นอันสืบเนื่องมาจากความสัมพันธ์ทางสังคม
ประเภทต่างๆ
3) กระบวนการขัดแย้งเป็นสิ่งเก่าแก่แต่โบราณของสังคม แต่ไม่
จำาเป็นว่าจะต้องเป็นสิ่งทำาลายระบบสังคมหรือก่อให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมเสมอ
4) ตามความเป็นจริงแล้ว การขัดแย้งเป็นกระบวนการสำาคัญอย่าง
หนึ่ง ที่ดำาเนินไปเพื่อดำารงรักษาสังคมหรือส่วนประกอบบางอย่างของ
สังคม
เปรียบเทียบสาระความคิดที่เกี่ยวกับองค์การสังคมของ Marx
และ Simmel
Karl Marx Georg Simmel
1. เห็นด้วยในเรื่องความหลีกเลี่ยงไปพ้นของ 1. เช่นเดียวกัน
การขัดแย้งในระบบสังคม
2. ลักษณะทางสังคม 2. ลักษณะทางสังคม
- เน้นผลการแบ่งแยกของการขัดแย้ง - เน้นผลบูรณาการของ
การขัดแย้ง
- มุ่งแสดงเงื่อนไขที่ขัดแย้งอย่างรุนแรงจะเกิดขึ้น - มุ่งหาเงื่อนไขที่จะ
ทำาให้การขัดแย้งที่กว้างขวาง
- มุ่งหาสาเหตุของการขัดแย้งที่ทำาให้เกิด ซึ่งอาจ
เปลี่ยนแปลงไป
การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างทางสังคม - มุ่งความ
สนใจในรูปที่รูปแบบและผลกระทบ
ของการขัดแย้งที่เกิดขึ้น
3. สาเหตุของการขัดแย้ง 3. สาเหตุของการขัด
แย้ง
- มาจากการแบ่งปันทรัพย์สินไม่เสมอภาคกัน - เกิดจาก
สัญชาตญาณการต่อสู้
- ขึ้นอยู่กับความสมัครสมานภายในของแต่ละ - เช่นเดียวกัน
กลุ่มคู่กรณี
7
4. ผลกระทบของความขัดแย้ง 4. ผลกระทบของความ
ขัดแย้ง
- จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง - ผลการของ
ขัดแย้งจะทำาให้มีความต่อเนื่องของ
ของสังคม ระบบสังคม
5. ฐานคติทางความคิด 5. ฐานคติทางความ
คิด
- ความเข้มข้นของการขัดแย้งเป็นสิ่งหลีกเลี่ยง - การขัดแย้งเป็นกระ
บวนการทางสังคม
การเปลี่ยนแปลงจะต้องเกิดขึ้นใน
โครงสร้าง
ไม่ได้ จะต้องเกิดขึ้นในระบบสังคม
สังคมนายทุนในปัจจุบันปฏิบัติตามแนวทางของ Simmel คือ สังคมการ
ประนีประนอมกันมากกว่าล้มล้างกัน
4.3 ทฤษฎีการขัดแย้งของ ราล์ฟ ดาร์เรนดอรฟ (Ralf
Dahredorf ) (1929 –2009)
ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) (1968, p. 125) เป็น
นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ที่ปฏิเสธแนวความคิดของมาร์กซ์ ที่ว่า
ชนชั้นในสังคมเกิดจากปัจจัยการผลิต และเสนอว่า ความไม่เท่าเทียม
กันในสังคมนั้นเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในเรื่องของสิทธิอำานาจ
(Authority) เขาเห็นว่า ความขัดแย้งสามารถทำาให้โครงสร้างมีการ
เปลี่ยนแปลงได้ ประเภทของการเปลี่ยนแปลง ความรวดเร็วของการ
เปลี่ยนแปลง และขนาดของการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการ
เปลี่ยนแปลง เช่น อำานาจของกลุ่ม ความกดดันของกลุ่ม ความขัดแย้ง
กันเกิดจากบุคคลและกลุ่มต่างๆ พากันแย่งชิงทรัพยากรและสิทธิอำานาจ
ที่มีอยู่ในโครงสร้างสังคม
กลุ่มที่เกิดขึ้นภายในสังคมสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ
กลุ่มที่มีสิทธิอำานาจกับกลุ่มที่ไม่มีสิทธิอำานาจ ทั้งสองฝ่ายที่ต่างก็มีผล
ประโยชน์แอบแฝง (Latent interest) อยู่เบื้องหลัง ดังนั้น แต่ละฝ่ายจึง
ต้องพยายามรักษาผลประโยชน์ของตนเอาไว้ โดยมีผู้นำาทำาหน้าที่ใน
การเจรจา เพื่อปรองดองผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ระดับของความขัด
แย้งที่เกิดขึ้นจะรุนแรงมากหรือรุนแรงน้อยนั้นขึ้นอยู่กับการจัดการและ
การประสานผลประโยชน์ของกลุ่มที่ครอบงำา และเสนอความคิดว่า
8
ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมเป็นผลมาจากความกดดันจากภายนอก
โดยสังคมอื่นๆ และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมสามารถควบคุมได้
ด้วยการประนีประนอม
ข้อเสนอหลักทฤษฎีความขัดแย้งของเขา คือ
1) การขัดแย้งมีโอกาสเกิดได้ ถ้าสมาชิกของกลุ่มขัดแย้งว่า
ผลประโยชน์ของตนคืออะไร และสามารถรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อมุ่งผล
ประโยชน์นั้น
2) ความขัดแย้งจะเข้มข้น หากมีเงื่อนไขทางเทคนิค เงื่อนไข
ทางการเมือง และเงื่อนไขทางสังคม
3) ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการสับเปลี่ยนโยกย้าย
บุคคลไปมาระหว่างกลุ่มที่มีอำานาจกับกลุ่มผู้ไม่มีอำานาจซึ่งเป็นไปได้โดย
ยาก
4) ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการกระจายสิทธิ
อำานาจและรางวัลเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน
5) ความขัดแย้งจะรุนแรง หากเงื่อนไขการรวมกลุ่มคนด้าน
เทคนิคด้านการเมือง และด้านสังคมไม่อำานวยหรือให้ทำาได้น้อย
6) ความขัดแย้งรุนแรง หากมีการเสียผลประโยชน์ในการ
แบ่งรางวัล เนื่องจากเปลี่ยนเกณฑ์จากเกณฑ์ตายตัวไปเป็นเกณฑ์เชิง
เปรียบเทียบ
7) ความขัดแย้งจะรุนแรงถ้ากลุ่มขัดแย้งไม่สามารถสร้างข้อ
ตกลงควบคุมการขัดแย้งได้
8) ความขัดแย้งที่เข้มข้น จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง
โครงสร้างและการจัดการองค์กรสังคมแห่งการขัดแย้ง
9) ความคิดขัดแย้งที่รุนแรง จะก่อให้เกิดอัตราการ
เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการจัดระเบียบใหม่ในองค์การสังคมที่
เกิดการขัดแย้งนั้นอย่างสูง
4.4 ทฤษฎีการขัดแย้งของ ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser)
1913-2003
ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน
ในหนังสือ The Functions of Social Conflict (1956) ได้จำาแนกความ
ขัดแย้งออกเป็น 3 แบบ คือ ก) เมื่อบุคคลอยู่ระหว่างเป้าหมายที่ตน
ปรารถนาสองอย่างที่ต้องเลือก (approach- approach conflict) ข)
เมื่อบุคคลพบกับเป้าหมายสองอย่าง ซึ่งเป็นทั้งเป้าหมายที่ตนเองชอบ
และ ไม่ชอบ (approach-avoidance conflict) ค) เมื่อบุคคลอยู่ระหว่าง
9
เป้าหมายสองอย่างที่ตนเองไม่ชอบทั้งคู่ (avoidance- avoidance
conflict) นักวิชาการทางมานุษยวิทยา มองความขัดแย้งว่าเป็นผลมา
จากความปรารถนา หรือเป้าหมายที่ไปด้วยกันไม่ได้ อาจมาจากการ
แข่งขันกันระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากวัฒนธรรม และ
เป็นแบบฉบบของพฤติกรรมการปรับตัวของมนุษย์ เช่น ความก้าวร้าว
ความร่วมมือ หรือ การแข่งขันกัน เมื่อเกิดผลประโยชน์และค่านิยมที่ไป
ด้วยกันไม่ได้
ลิวอิส เอ. โคเซอร์ ได้ขยายแนวคิดของซิมเมลให้กว้างขวางออก
ไปอีก มองดูว่า การขัดแย้งนั้นไม่ได้มีแต่ผลเสียหายอย่างเดียว แต่มีผล
ในทางสร้างสรรค์หรือมีผลในทางดีด้วย เขามองว่า ความขัดแย้งก่อให้
เกิดทั้งด้านบวกและด้านลบ และอธิบายว่า ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่ง
ของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ไม่มีกลุ่มทางสังคมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง
ที่มีความสมานสามัคคีอย่างสมบูรณ์ เพราะความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่ง
ของมนุษย์ ทั้งในความเกลียดและความรักต่างก็มีความขัดแย้งทั้งสิ้น
ความขัดแย้งสามารถแก้ปัญหาความแตกแยก และทำาให้เกิดความ
สามัคคีภายในกลุ่มได้เพราะในกลุ่มมีทั้งความเป็นมิตร และความเป็น
ศัตรูอยู่ด้วยกัน เขามีความเห็นว่า ความขัดแย้งเป็นตัวสนับสนุนให้เกิด
การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สามารถทำาให้สังคมเปลี่ยนชีวิตความเป็นอยู่
จากด้านหนึ่งไปสู่อีกด้านหนึ่งได้ เพราะหากสมาชิกในสังคมเกิดความ
ไม่พึงพอใจต่อสังคมที่เขาอยู่ เขาจะพยายามทำาการเปลี่ยนแปลงสถาน
การณ์นั้นๆ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของเขาได้ นอกจากนี้ เขายังเสนอ
ว่า ความขัดแย้งยังสามารถทำาให้เกิดการแบ่งกลุ่ม ลดความเป็นปรปักษ์
พัฒนาความซับซ้อนของโครงสร้างกลุ่มในด้านความขัดแย้งและร่วมมือ
และสร้างความแปลกแยกกับกลุ่มต่างๆ เป็นต้น
ลิวอิส เอ. โคเซอร์ เขาพัฒนาแนวคิดความขัดแย้งในการบูรณา
การทางสังคมขึ้นอีก 16 ข้อคือ
4.4.1 ความขัดแย้งกับกลุ่มอื่นนำาไปสู่การสร้างเอกลักษณ์และการ
สร้างความเข็มแข็งของกลุ่ม
4.4.2 ความขัดแย้งในบางครั้งช่วยรักษาความสัมพันธ์ระหว่าง
กลุ่มได้ โดยยอมให้ระบายความกดดันออกไปบ้าง
4.4.3 ความขัดแย้งจริงมีจุดประสงค์ ความขัดแย้งไม่จริงมุ่งลด
ความตึงเตรียด
4.4.4 ความขัดแย้งเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมรูปแบบหนึ่งซึ่งเกิด
ขึ้นได้ในสภาพที่มีปฏิสัมพันธ์กัน
10
4.4.5 ความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดจะมีความขัดแย้งเช่นเดียวกับ
มีสันติภาพ
4.4.6 ความสัมพันธ์มีมากอารมณ์พฤติกรรมจะมากขึ้นตามไปด้วย
4.4.7 ความขัดแย้งบางครั้งนำาไปสู่การขจัดเหตุของความขัดแย้ง
ออกไปและยืนยันความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ายใหม่
4.4.8 ความสัมพันธ์ที่ไม่แข็งแรงอาจถดถอยจากความขัดแย้ง
และในความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งบ่อยครั้งที่แสดงถึงความขัดแย้ง
4.4.9 ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะทำาให้เกิด ความกลม
เกลียว การรวมอำานาจ การเคลื่อนย้ายทรัพยากร
4.4.10 ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกยิ่งเพิ่มมากขึ้น ความอดทน
ต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนภายในจะลดลง
4.4.11 ความต้องการที่จะมีความสามัคคีภายในกลุ่ม บ่อยครั้งจะ
นำากลุ่มไปขัดแย้งกับกลุ่มอื่น
4.4.12 การแสดงสัญลักษณ์ของกลุ่มยิ่งมากเท่าใดความเป็นศัตรู
กับกลุ่มอื่นย่อมเพิ่มมากขึ้น
4.4.13 ความขัดแย้งระหว่าง ฝ่ายต่างๆจะนำาไปสู่ การขยายความ
สัมพันธ์ การสร้างบรรทัดฐานอย่างใหม่และยืนยันบรรทัดฐานเดิม รวม
ถึงการเพิ่มการมีส่วนร่วมของสมาชิกในสังคม
4.4.14 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มบางครั้งเป็นการกระทำาที่
ปรารถนาให้อีกกลุ่มรวมตัวกัน
4.4.15 ความขัดแย้งเป็นการทดสอบอำานาจ
4.4.16 ความขัดแย้งนำาไปสู่กระบวนการรวมตัวกัน และแสวงหา
พันธมิตร
การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดน
ภาคใต้ ด้วยกรอบแนวคิดของ โคเซอร์
หากวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิดของ โคเซอร์ ความขัดแย้งใน
จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นกรณีศึกษาหนึ่งที่มีการใช้ความรุนแรงเป็น
เครื่องมือที่จะนำาไปสู่ความสำาเร็จ จะเห็นว่ามีความต้องการที่จะ
เปลี่ยนแปลงระบบสังคมที่เป็นอยู่ หากวิเคราะห์จากข่าวที่ว่า เป็นการ
แบ่งแยกดินแดน โดยระบุว่าจะต้องเป็นประเทศของมุสลิม ซึ่งจะมีการ
เข่นฆ่าชาวไทยพุทธและชาวมุสลิมที่มีการส่งเสริมการทำางานของรัฐ
ไทย สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ทวีความรุนแรงมากขึ้น
เรื่อยๆ เมื่อมีการพัฒนาต่างๆ ของรัฐ ก็จะมีการทำาลายข้าวของของ
11
แผ่นดิน การเข่นฆ่าประชาชนผู้บริสุทธิ์ ความต้องการการเปลี่ยนแปลง
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการใช้ความรุนแรงเป็นเครื่องมือใน
การนำาไปสู่ความสำาเร็จ เพื่อจะให้ระบบสังคมเปลี่ยนไปเพื่อความ
ต้องการของกลุ่มหนึ่ง สำาหรับผู้มีอำานาจก็ต้องการให้มีอำานาจมากยิ่งขึ้น
หากกลุ่มประชาชนต้องการการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้มีชีวิตดีขึ้น
การใช้ความรุนแรงมักจะไม่เหมือนกัน ระหว่างผู้มีอำานาจกับผู้ที่ไม่มี
อำานาจ เช่น ผู้ที่ไม่มีอำานาจจะมีการเรียกร้อง การประท้วง การ
แสดงออกต่างๆ ที่บ่งบอกว่าไม่เห็นด้วย การทำาลายข้าวของเพื่อให้
สังคมได้รับรู้ปัญหาที่สังคมหนึ่งได้รับผลกระทบอย่างมาก สำาหรับผู้ที่มี
อำานาจในความต้องการการเปลี่ยนแปลง จะมีในรูปแบบต่างๆ สามารถ
ทำาให้ทุกระบบทำาตามข้อบังคับได้ เนื่องจากมีอำานาจทางด้านทรัพย์
ความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นหนึ่งในความต้องการการ
พัฒนาหรือต้องการทำาให้สังคมดีขึ้นหวังความสำาเร็จที่สวยงาม แม้จะ
ต้องเสียเลือดเนื้อของประชาชนผู้บริสุทธิ์ก็ตาม
ความรุนแรงที่เกิดจากความขัดแย้งในแนวคิดของโคเซอร์ เป็นแค่
สัญญาณเตือนว่า กำาลังมีความผิดปรกติในสังคม หรือเป็นการ
เปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่ความสงบเรียนร้อย กรณีในจังหวัดชายแดนภาคใต้
เป็นจังหวัดที่ติดอยู่กับประเทศเพื่อนบ้าน คือ มาเลเซีย การอพยพของ
ชนกลุ่มน้อยย่อมมีเข้ามา ซึ่งมีการใช้ระบบระเบียบที่แตกต่างกัน ทั้ง
ความแตกต่างทางด้านชีวภาพ ผิวสี ศาสนา ลักษณะหน้าตาที่แตก
ต่างกับคนไทยโดยทั่วไป จึงเห็นถึงความแตกต่าง จึงคิดว่าควรมีการ
แบ่งแยกเป็นประเทศใหม่ ซึ่งประชาชนกลุ่มนี้ต้องการความเท่าเทียมกัน
อาจจะสมัยก่อนทางตอนใต้ของไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้
การพัฒนามีน้อยมาก ทางรัฐบาลมักจะละเลยความต้องการขั้นพื้นฐาน
ของประชาชน จะเห็นว่าเมื่อได้เกิดความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาค
ใต้ รัฐบาลเริ่มมีการระดมทุนพัฒนาเข้ามาให้ความสำาคัญเป็นพิเศษ ทั้ง
ในเรื่องการพัฒนาเรื่องต่างๆ คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ความ
สำาคัญทางด้านการศึกษา การว่างงาน เช่น การเข้ามาซ่อมแซมโบราณ
สถาน ให้ความสำาคัญทางด้านการศึกษาแก่เด็ก ส่งเสริมทางด้านอาชีพ
ทุกอย่าง เริ่มมีการพัฒนาที่ดีขึ้น แต่ทางกลับกันการแลกเปลี่ยนกับการ
ได้มาซึ่งการพัฒนาก็ต้องมีผลเสียตามมาเช่นกัน ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้
หลายสาเหตุด้วยกัน แต่ที่เห็นว่าสำาคัญที่สุดคือ การขัดแย้งทางศาสนา
เชื้อชาติ ที่เห็นถึงความแตกต่างทางกายภาพได้ชัดเจน ระบบความเชื่อ
ทางศาสนามาซึ่งความรุนแรง ทั้งกระทำาตามความเชื่อทางศาสนาและ
12
กระทำาเพื่อความต้องการส่วนตัว ซึ่งเป็นเรื่องที่รัฐเข้ามาเล็งเห็นถึงความ
สำาคัญเข้ามาสนใจ ความเป็นอยู่ของประชาชนและเข้ามาพัฒนาให้
เท่ากับจังหวัดอื่นๆ ทำาให้จังหวัดชายแดนภาคใต้มากด้วยการพัฒนาใน
ทุกระบบ หากไม่มีความขัดแย้งในวันนี้ จังหวัดชายแดนภาคใต้ก็ไม่ได้
พัฒนาจนถึงทุกวันนี้
ทฤษฎีความขัดแย้งของโคเซอร์ เป็นการมองว่า ระเบียบที่มีอยู่ใน
โครงสร้างหน้าที่นิยมนั้นก็สามารถก่อความขัดแย้งได้ หากมันมีความ
เป็นระเบียบมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะเห็นว่าทุกสังคมจะหลีกเลี่ยง
ความขัดแย้งไม่ได้ ความคิดของโคเซอร์จึงอยู่กึ่งกลางระหว่างความขัด
แย้งกับโครงสร้างหน้าที่นิยม โคเซอร์ มองความขัดแย้งเหมือน ซิมเมล
ที่เห็นว่า ความขัดแย้งไม่จำาเป็นจะต้องส่งผลทางด้านลบเสมอ แต่มันเป็น
การบูรณาการทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ และเมื่ออยู่
ในกฎระเบียบใหม่ มันก็จำาเป็นจะต้องเปลี่ยนแปลงอีก สังคมก็จะต้องมี
การโต้เถียงเกิดความรุนแรง ขัดแย้ง เบี่ยงเบน เพราะสังคมจะต้อง
ปฏิสัมพันธ์กัน สังคมไม่จำาเป็นจะต้องทำาตามหน้าที่เสมอไป เพราะทำาให้
มนุษย์เกิดความตึงเครียดและมักจะทำาให้เกิดความขัดแย้งขึ้นอีก ความ
ขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เป็นหนึ่งในความขัดแย้งที่เกิดขึ้น
แต่ไม่รู้ว่าเกิดเพราะใคร แต่สามารถอธิบายได้ว่า การเกิดความขัดแย้ง
ในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น สามารถเกิดผลดีหลายๆ อย่างเข้ามาหรือ
ดีกว่าก่อนที่จะเกิดความขัดแย้งขึ้นอีก หากเรามองดูการพัฒนาของ
ปัจจุบัน นอกเหนือจากการสูญเสียไปของเหตุการณ์นี้ ความขัดแย้งเรา
ไม่สนใจว่าเกิดได้อย่างไร เพราะใคร ทำาไม แต่เราเห็นความขัดแย้ง
ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด ความขัดแย้งตามที่ โคเซอร์
บอกสามารถที่จะเป็นการบูรณาการให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย
ได้ เกิดการพัฒนา เป็นสิ่งที่สร้างสรรค์แต่นำาไปสู่สิ่งที่ดีขึ้นเสมอ

More Related Content

What's hot

สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
Taraya Srivilas
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
Paew Tongpanya
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1panisra
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖Makiya Khompong
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
dnavaroj
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
sudoooooo
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
Srinakharinwirot University
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copyKunlaya Kamwut
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
Srinthip Chaiya
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
Warodom Techasrisutee
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)Mew' Cifer
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Phakawat Owat
 

What's hot (20)

12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
สงครามเย็น
สงครามเย็นสงครามเย็น
สงครามเย็น
 
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบันหน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
หน่วยที่ 2 ระบบเศรษฐกิจในโลกปัจจุบัน
 
เรียงความ Is1
เรียงความ Is1เรียงความ Is1
เรียงความ Is1
 
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
แนวข้อสอบวิชาเศรษฐศาสตร์ ม.๖
 
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียวการเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
การเคลื่อนที่ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว
 
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรมแบบทดสอบ บทที่  6  การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
แบบทดสอบ บทที่ 6 การถ่ายทอดลักษณะทางพันธูกรรม
 
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
การฟื้นฟูศิลปวิทยาการ (Renaissance)
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
ใบความรู้ เรื่อง การทำนายรูปร่างโมเลกุลโคเวเลนต์
 
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น   copy
1 เศรษฐศาสตร์เบื้องต้น copy
 
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
ระบบเศรษฐกิจแบบแมนเนอร์
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
กาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือกาพย์เห่เรือ
กาพย์เห่เรือ
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
หน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญหน้าปกคำนำสารบัญ
หน้าปกคำนำสารบัญ
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 

Viewers also liked

Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict managementKan Yuenyong
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การบะห์ บาตู
 
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
Bau Toom
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
Bau Toom
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจPoy Thammaugsorn
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
Nabavee Serpa
 
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยThongkum Virut
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาSani Satjachaliao
 
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยการปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
Taraya Srivilas
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองThida Noodaeng
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire HathawayRose Banioki
 
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กาประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
Patcharaporn Radapat
 
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
Saiiew Sarana
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
Bau Toom
 
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
maruay songtanin
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กmakusoh026
 
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
Hling Jung
 

Viewers also liked (20)

ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
ทฤษฎีทางการเมือง (Political theory)
 
Organization conflict management
Organization conflict managementOrganization conflict management
Organization conflict management
 
การเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การการเมืองในองค์การ
การเมืองในองค์การ
 
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnsonสรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
สรุป ความขัดแย้ง Johnson&johnson
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
 
ทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจทฤษฎีแรงจูงใจ
ทฤษฎีแรงจูงใจ
 
การจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้งการจัดการความขัดแย้ง
การจัดการความขัดแย้ง
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทยทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
ทฤษฎีการปฏิวัติประชาธิปไตยในประเทศไทย
 
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยาสัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
สัปดาห์ที่ 4 โครงสร้างทฤษฎีสังคมวิทยา
 
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทยการปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
การปรองดอง สันติวิธี เพื่ออนาคตประเทศไทย
 
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรองกระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
กระบวนการขั้นตอนการเจรจาต่อรอง
 
2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway2013ar-Berkshire Hathaway
2013ar-Berkshire Hathaway
 
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กาประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
ประชาธ ปไตย มหาอำนาจ-และละต-นอเมร_กา
 
รวมประกาศ คสช.
รวมประกาศ คสช.รวมประกาศ คสช.
รวมประกาศ คสช.
 
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตยผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
ผู้นำทางการเมืองกับการพัฒนาประชาธิปไตย
 
Implementing
ImplementingImplementing
Implementing
 
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
การจัดการความขัดแย้ง Conflict management
 
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์กทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
ทฤษฏีฮาวิกเวิร์ก
 
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมายทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
ทฤษฎีวิถีทาง เป้าหมาย
 

More from Rose Banioki

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนRose Banioki
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fundRose Banioki
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาRose Banioki
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foodsRose Banioki
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Rose Banioki
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide thRose Banioki
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceRose Banioki
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspeRose Banioki
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaRose Banioki
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauRose Banioki
 

More from Rose Banioki (20)

Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุนSpm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
Spm ระบบความคิดพิชิตการลงทุน
 
Instant tax
Instant taxInstant tax
Instant tax
 
Techinque mutual-fund
Techinque mutual-fundTechinque mutual-fund
Techinque mutual-fund
 
หนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญาหนังสือความทรงอภิญญา
หนังสือความทรงอภิญญา
 
Nutritive values of foods
Nutritive values of foodsNutritive values of foods
Nutritive values of foods
 
Thaifood table
Thaifood tableThaifood table
Thaifood table
 
Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7Ipad user guide ios7
Ipad user guide ios7
 
Iphone user guide th
Iphone user guide thIphone user guide th
Iphone user guide th
 
P4
P4P4
P4
 
P3
P3P3
P3
 
P1
P1P1
P1
 
To myfriends
To myfriendsTo myfriends
To myfriends
 
The differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greeceThe differencebetweenbeachesinindia&greece
The differencebetweenbeachesinindia&greece
 
Toilets pierre daspe
Toilets pierre daspeToilets pierre daspe
Toilets pierre daspe
 
Tibet
TibetTibet
Tibet
 
Pps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_beaPps hollywood dorado_bea
Pps hollywood dorado_bea
 
Photosdutempspass
PhotosdutempspassPhotosdutempspass
Photosdutempspass
 
Photo mix7
Photo mix7Photo mix7
Photo mix7
 
Photos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobauPhotos carlosalbertobau
Photos carlosalbertobau
 
Laos
LaosLaos
Laos
 

3. ทฤษฎีการขัดแย้ง ok

  • 1. บทที่ 4 ทฤษฎีการขัดแย้ง(Conflict Theory) เป็นทฤษฎีแม่บทที่สำาคัญอีกทฤษฎีหนึ่งของสังคมวิทยา เนื้อหา สาระของทฤษฎีสมัยใหม่ของทฤษฎีนี้ สืบเนื่องมาจากแนวคิดของนัก สังคมวิทยา ชาวเยอรมัน 2 คน คือ Karl Marx และ Georg Simmel ซึ่ง ทฤษฎีการขัดแย้ง แม้จะถือกำาเนิดในยุโรป ในเวลาไล่เลี่ยกับทฤษฎีการ หน้าที่ แต่เพิ่งจะได้รับความสนใจในอเมริกา เมื่อ ทศวรรษที่ 1950 ทั้ง Karl Marx และ Georg Simmel วิจารณ์ทฤษฎีการหน้าที่ ของ Parsons ว่า “เน้นเรื่องระเบียบสังคมความสมดุลและกลไกในการ รักษาดุลยภาพและความเป็นระเบียบมากเกินไป จนมองเห็นความไม่ มั่นคง การเสียระเบียบและการขัดแย้งว่า เป็นพฤติกรรมเสียระเบียบไป เสียหมด ความจริงสิ่งเหล่านี้เป็นส่วนหนึ่งในชีวิตสังคมมนุษย์เท่าๆ กับ ความเป็นระเบียบ ความสมดุลในสังคมนั่นเองเพียงแต่เป็นคนละด้าน ”เท่านั้น Lockwood ยืนยันว่ามีกลไกบางอย่างในสังคมที่ทำาให้การขัดแย้ง เกิดขึ้นในสังคมอย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้น 1. การที่บุคคลมีอำานาจไม่เท่ากัน 2. การที่สังคมมักมีของหายากอยู่อย่างจำากัด 3. ในสังคมมักมีกลุ่มต่างๆ ที่มีเป้าหมายไม่เหมือนกัน จึงมี การช่วงชิงให้ได้บรรลุเป้าหมายนั้น สาระสำาคัญของทฤษฎีการขัดแย้ง 1. ทุกหน่วยของสังคมอาจเปลี่ยนแปลงได้ 2. ทุกหน่วยของสังคมเป็นบ่อเกิดของการขัดแย้ง 3. ทุกหน่วยของสังคมมีส่วนส่งเสริมความไม่เป็นปึกแผ่นและ การเปลี่ยนแปลง 4. ทุกสังคมจะมีคนกลุ่มหนึ่งควบคุมบังคับคนอีกกลุ่มหนึ่ง ให้ เกิดความเป็นระเบียบในสังคม นักทฤษฎีการขัดแย้งที่สำาคัญ 1) Karl Marx 2) George Simmel 3) Ralf Dahrendorf 4) Lewis Coser
  • 2. 2 4.1 ทฤษฎีการขัดแย้งของ Karl Marx (1818-1883) แนวคิดของ คาร์ล มากซ์ (Karl Marx) คา ร์ล มากซ์ เชื่อว่า ความขัดแย้งและการเปลี่ยนแปลงเป็นของคู่กัน เป็นกฎพื้นฐานของชีวิต เป็นสภาพปกติของสังคม โดยความขัดแย้งเริ่มที่เศรษฐกิจซึ่งหลีกเลี่ยง ได้ยาก แล้วจะนำาไปสู่ความขัดแย้งทางสังคม และเชื่อในการใช้ความ ขัดแย้งเป็นเครื่องมือในการเปลี่ยนสังคม การวิเคราะห์ของคาร์ล มากซ์ ใช้ความขัดแย้งเป็นเครื่องมือในการวิเคราะห์สังคม โดยอยู่บนพื้นฐาน ของการศึกษาความขัดแย้งทางเศรษฐกิจ ทฤษฎีความขัดแย้งของคาร์ล มากซ์ได้อธิบายว่าสังคมเป็นอย่างไร และมีแนวทางในการเปลี่ยนสังคม อย่างไร (พรนพ พุกกะพันธ์, 2542 :157-158 ) Karl Marx ได้เขียน หนังสือหลายเล่มเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร์ทุนนิยม วัฒนธรรม เทคโนโลยี ความขัดแย้งระหว่างชนชั้น และอุดมการณ์ สำาหรับการขัดแย้งของ ทฤษฎีสังคมวิทยานั้น Marx เชื่อว่าความรำ่ารวยและอำานาจถูกกระจาย อย่างไม่เท่าเทียมกันในสังคม เขาจึงไม่สนใจว่าความยินยอมพร้อมใจ ในสังคมทำางานอย่างไร แต่สนใจว่า คนกลุ่มหนึ่งดำารงการครอบงำา สังคมไว้ได้อย่างไร ซึ่ง Marx ก็ได้อธิบายอย่างหนักแน่นว่า มุมมองและ สามัญสำานึกของผู้คนถูกครอบงำาด้วยสิ่งที่เรียกว่า อุดมการณ์ 4.1.1 ทฤษฎีความขัดแย้ง Marx มีฐานคติที่สำาคัญมี 3 ประการ คือ ก) องค์การทางเศรษฐกิจ โดยเฉพาะการเป็นเจ้าของ ทรัพย์สิน เป็นผู้กำาหนดรูปแบบขององค์กรอื่นๆในสังคม ข) องค์การเศรษฐกิจของสังคมใดๆ ย่อมเป็นต้นกำาเนิดการ ขัดแย้งเชิงปฏิวัติระหว่างชนชั้นในสังคมนั้น อย่างหลีกเลี่ยงไม่พ้นเสมอ เป็นกระบวนการวิภาษวิธี (Dialectics) และจะเกิดเป็นยุคสมัยเป็นสมัย แบ่งสังคมออกเป็นกลุ่มเป็นพวก ค) การขัดแย้งจะมีลักษณะเป็น 2 หลัก (Dipolar) ได้แก่ - ชนชั้นที่ถูกเอารัดเอาเปรียบ - ชนชั้นที่มีอำานาจและเป็นเจ้าของทรัพย์สิน Karl Marx มีแนวคิดในแนวทางหน้าที่นิยมโดยมองสถาบันต่างๆ ในสังคมทำาหน้าที่เพื่อรักษาความสอดประสานกันทางสังคม แต่ความ
  • 3. 3 สอดประสานกันให้อำานาจในการควบคุม คือ ชนชั้นปกครองหรือชนชั้น ที่มีอำานาจและเป็นเจ้าของทรัพย์สินแก่คนกลุ่มหนึ่ง คือ ชนชั้นที่ถูกเอา รัดเอาเปรียบ ด้วยสิ่งที่เรียกว่า อุดมการณ์ หรือจิตสำานึกที่ผิดพลาด 4.1.2 ขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ของคาร์ล มาร์กซ์ คาร์ล มาร์กซ์ มีความเชื่อว่า การเปลี่ยนแปลงของทุกๆ สังคม จะมีขั้นตอนของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ 5 ขั้น โดยแต่ละขั้น จะมีวิธีการผลิต (Mode of Production) ที่เกิดจากความสัมพันธ์ของ อำานาจของการผลิต (Forces of production) ซึ่งได้แก่ การจัดการด้าน แรงงาน ที่ดิน ทุน และเทคโนโลยีกับความสัมพันธ์ทางสังคมของการ ผลิต (Social relation of production) ซึ่งได้แก่ เจ้าของปัจจัยการผลิต และคนงานที่ทำาหน้าที่ผลิต แต่ในระบบการผลิตแต่ละระบบจะมีความขัด แย้งระหว่างชนชั้นผู้เป็นเจ้าของปัจจัยการผลิตกับผู้ใช้แรงงานในการ ผลิต ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ ที่เป็นโครงสร้างส่วนล่าง ของสังคม (Substructure) และเมื่อโครงสร้างส่วนล่างมีการ เปลี่ยนแปลงจะมีผลทำาให้เกิดการผันแปรและเปลี่ยนแปลงต่อโครงสร้าง ส่วนบนของสังคม (Superstructure) ซึ่งเป็นสถาบันทางสังคม เช่น รัฐบาล ครอบครัว การศึกษา ศาสนา และรวมถึงค่านิรม ทัศนคติ และ บรรทัดฐานของสังคม ลำาดับขั้นของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ขอ งมาร์กซ์มีดังนี้ 1) ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ดั้งเดิม (Primitive communism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตเป็น ของเผ่า (Tribal ownership) ต่อมาเผ่าต่าง ๆ ได้รวมตัวกันเป็นเมือง และรัฐ ทำาให้กรรมสิทธิ์ในปัจจัยการผลิตเปลี่ยนไปเป็นของรัฐแทน ข) ขั้นสังคมแบบโบราณ (Ancient communal) กรรมสิทธิ์ใน ปัจจัยการผลิตเป็นของรัฐ (State ownership) สมาชิกในสังคมได้รับ กรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนตัวที่สามารถเคลื่อนย้ายได้ ซึ่งได้แก่ เครื่อง ใช้ส่วนตัว และทาส ดังนั้นทาส (Slavery) จึงเป็นกำาลังสำาคัญในการ ระบบการผลิตทั้งหมด และ ต่อมาระบบการผลิตได้เกิดความขัดแย้ง ระหว่างเจ้าของทาสและทาส ค) ขั้นสังคมแบบศักดินา (Feudalism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัย การผลิตเป็นของขุนนาง คือ ที่ดินโดยมีทาสเป็นแรงงานในการผลิต
  • 4. 4 ง) ขั้นสังคมแบบทุนนิยม (Capitalism) กรรมสิทธิ์ในปัจจัย การผลิตเป็นของนายทุน คือ ที่ดิน ทุน แรงงาน และเครื่องจักร โดยมีผู้ ใช้แรงงานเป็นผู้ผลิต จ) ขั้นสังคมแบบคอมมิวนิสต์ (Communism) กรรมสิทธิ์ใน ปัจจัยการผลิตเป็นของทุกคน ทุกคนมีสิทธิเท่าเทียมกัน ไม่มีใครเอา เปรียบซึ่งกันและกัน ตามแนวความคิดของมาร์กซ์ ลำาดับขั้นของการนำาไปสู่การปฏิวัติ ของชนชั้นล่างของสังคมเกิดจากกระบวนการดังต่อไปนี้ 1) มีความ ต้องการในการผลิต 2) เกิดการแบ่งแยกแรงงาน 3) มีการสะสมและ พัฒนาทรัพย์สินส่วนบุคคล 3) ความไม่เท่าเทียมทางสังคมมีมากขึ้น 4) เกิดการต่อสู้ระหว่างชนชั้นในสังคม 5) เกิดตัวแทนทางการเมืองเพื่อ ทำาการรักษาผลประโยชน์ของแต่ละชนชั้น 5) เกิดการปฏิบัติ การเปลี่ยนแปลงทางสังคมตามแนวความคิดของมาร์กซ์ เป็นการ ต่อสู่ระหว่างชนชั้นในสังคม โดยใช้แนวความคิดวิภาษวิธี (Dialectical) ที่เริ่มจากการกระทำา (Thesis) ซึ่งเป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงการก ระทำา (Antithesis) และเกิดการกระทำาแบบใหม่ (Synthesis) ตามมา 4.2 ทฤษฎีการขัดแย้งของ George Simmel (1858-1918) ยอร์จ ซิมเมล (Georg Simmel) มีแนวความคิดว่าความขัดแย้ง เป็นปฏิสัมพันธ์แบบหนึ่ง (sociation) ที่ เกิดขึ้นในกลุ่มสมาชิกที่มีความ สัมพันธ์ใกล้ชิดกัน โดยเชื่อว่าความขัดแย้งระหว่างสองฝ่ายแสดงให้ เห็นลักษณะความสัมพันธ์ของทั้ง สองฝ่าย โดยเป็นผลจากการที่มีความ รู้สึกเข้าข้างตนเองมากกว่าเข้าข้างฝ่ายอื่น ความขัดแย้งมีอยู่ทุก องค์การซึ่งจะนำาไปสู่การเปลี่ยนแปลงของสังคม ผลของความขัดแย้งคือ จะเกิดความกลมเกลียวภายในกลุ่ม แต่ความกลมเกลียวภายในกลุ่มหรือ ระหว่างกลุ่มก็จะเป็นต้นเหตุของความขัดแย้ง ด้วย (พรนพ พุกกะพันธ์, 2542 : 159-161) ผลงานของ ซิมเมล เกี่ยวกับความขัดแย้งปรากฏใน หนังสือของเขาชื่อ Soziologie แนวคิดที่สำาคัญบางประการของซิมเมล เกี่ยวกับความขัดแย้งคือ 4.2.1 ความขัดแย้งทำาให้เกิดความสามัคคีกลมเกลียวในกลุ่ม ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะทำาให้เกิดการรวมตัวกันภายในกลุ่ม ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะบังคับให้กลุ่มมีการประสานงานที่ดีและ
  • 5. 5 มีผู้นำาเกิดขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้กลุ่มสร้างของเขตของกลุ่มขึ้นมา ซึ่งจะทำาให้ทราบว่าใครเป็นสมาชิกของกลุ่มเรา หรือใครเป็นพวกเรา บ้าง ความขัดแย้งช่วยลดความเบี่ยงเบนหรือความบาดหมางภายในกลุ่ม เพื่อที่จะเพิ่มประสิทธิภาพในการต่อกรหรือจัดการกับฝ่ายตรงข้าม ความขัดแย้งช่วยจัดระบบและประสานทรัพยากรต่าง ๆ ทางสังคมเสีย ใหม่ และช่วยสร้างหรือพัฒนาความสัมพันธ์ชนิดใหม่กับฝ่ายตรงข้าม 4.2.2 ความกลมเกลียวภายในกลุ่มเป็นสาเหตุทำาให้เกิดความขัด แย้ง ความกลมเกลียวทำาให้เกิดความขัดแย้งเช่นเดียวกับเป็นผลที่เกิด จากความขัดแย้ง หากทั้งสองฝ่ายที่มีความกลมเกลียวกันมาก เช่น คู่ สมรส หุ้นส่วน มักจะมีประสบการณ์เกี่ยวกับความขัดแย้ง ความจริงนั้น ความขัดแย้งเป็นสิ่งที่เกิดเรื้อรังในความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดใดๆ เพราะต่าง ฝ่ายต่างก็มีอิทธิพลต่อกันในชีวิต ถ้าหากความสัมพันธ์ที่มีต่อกันเป็น ความสัมพันธ์ที่ไม่ใกล้ชิดกัน ความขัดแย้งอาจไม่เกิดขึ้นก็ได้ เช่น พฤติกรรมที่ไม่สุภาพของคนขายของ ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ไม่ใกล้ชิดกับ เรา พฤติกรรมของเขามีผลเพียงเล็กน้อยต่อเรา ในทางตรงกันข้าม ถ้า หากมีความสัมพันธ์ที่ใกล้ชิดกันจะทำาให้เราเกิดอารมณ์รุนแรงและ ตอบโต้กลับไป ความรักของสองคนเบ่งบานเพราะมีความรู้สึกผูกพันต่อ กัน ในทางตรงกันข้ามความเกลียดชังอย่างแสนสาหัสก็เกิดจากการเลิก รักกันหรือรักกันอีกไม่ได้ บุคคลที่หนีออกมาจากกลุ่มด้วยเหตุผลอะไร ก็ตาม มักจะเป็นคนที่เคยมีความสัมพันธ์อย่างดียิ่งในกลุ่มเดิม บุคคลที่มี ความคับข้องใจมากที่สุดในกลุ่ม คือบุคคลที่เคยมีแรงจูงใจอย่างมากที่ จะเป็นสมาชิกของกลุ่ม 4.2.3 ความกลมเกลียวระหว่างกลุ่มเป็นสาเหตุทำาให้เกิดการขัด แย้ง ความกลมเกลียวระหว่างกลุ่ม ก็เป็นสาเหตุทำาให้เกิดความขัดแย้ง เช่นเดียวกันกับความกลมเกลียวภายในกลุ่ม กลุ่มสองกลุ่มที่มีความกลม เกลียวกันอย่างดีโดยมีความผูกพันกันแบบใดแบบหนึ่ง เช่น มีความ สนใจร่วมกัน มีผลประโยชน์ร่วมกัน ใช้ภาษาพูดเดียวกัน อยู่ในท้องถิ่น เดียวกัน มาจากท้องถิ่นเดียวกัน หรือมีความคล้ายกันทางวัฒนธรรม สังคม เศรษฐกิจ หรือแนวคิดทางการเมือง อาจเกิดความขัดแย้งที่ รุนแรงได้ สาระความคิดเกี่ยวกับองค์การสังคมของ Simmel
  • 6. 6 1) ความสัมพันธ์ทางสังคมจะเกิดขึ้นในภาวะสังคมเป็นระบบ ซึ่ง ความสัมพันธ์ทางสังคมอาจสืบเนื่องมาจาก กระบวนการทางอินทรีย์ ภาพสองกระบวนการ คือ กระบวนการก่อสัมพันธ์และการแตกสัมพันธ์ 2) กระบวนการดังกล่าวเป็นผลสืบเนื่องมาจากทั้งแรงขับ สัญชาตญาณและความจำาเป็นอันสืบเนื่องมาจากความสัมพันธ์ทางสังคม ประเภทต่างๆ 3) กระบวนการขัดแย้งเป็นสิ่งเก่าแก่แต่โบราณของสังคม แต่ไม่ จำาเป็นว่าจะต้องเป็นสิ่งทำาลายระบบสังคมหรือก่อให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางสังคมเสมอ 4) ตามความเป็นจริงแล้ว การขัดแย้งเป็นกระบวนการสำาคัญอย่าง หนึ่ง ที่ดำาเนินไปเพื่อดำารงรักษาสังคมหรือส่วนประกอบบางอย่างของ สังคม เปรียบเทียบสาระความคิดที่เกี่ยวกับองค์การสังคมของ Marx และ Simmel Karl Marx Georg Simmel 1. เห็นด้วยในเรื่องความหลีกเลี่ยงไปพ้นของ 1. เช่นเดียวกัน การขัดแย้งในระบบสังคม 2. ลักษณะทางสังคม 2. ลักษณะทางสังคม - เน้นผลการแบ่งแยกของการขัดแย้ง - เน้นผลบูรณาการของ การขัดแย้ง - มุ่งแสดงเงื่อนไขที่ขัดแย้งอย่างรุนแรงจะเกิดขึ้น - มุ่งหาเงื่อนไขที่จะ ทำาให้การขัดแย้งที่กว้างขวาง - มุ่งหาสาเหตุของการขัดแย้งที่ทำาให้เกิด ซึ่งอาจ เปลี่ยนแปลงไป การเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างทางสังคม - มุ่งความ สนใจในรูปที่รูปแบบและผลกระทบ ของการขัดแย้งที่เกิดขึ้น 3. สาเหตุของการขัดแย้ง 3. สาเหตุของการขัด แย้ง - มาจากการแบ่งปันทรัพย์สินไม่เสมอภาคกัน - เกิดจาก สัญชาตญาณการต่อสู้ - ขึ้นอยู่กับความสมัครสมานภายในของแต่ละ - เช่นเดียวกัน กลุ่มคู่กรณี
  • 7. 7 4. ผลกระทบของความขัดแย้ง 4. ผลกระทบของความ ขัดแย้ง - จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในโครงสร้าง - ผลการของ ขัดแย้งจะทำาให้มีความต่อเนื่องของ ของสังคม ระบบสังคม 5. ฐานคติทางความคิด 5. ฐานคติทางความ คิด - ความเข้มข้นของการขัดแย้งเป็นสิ่งหลีกเลี่ยง - การขัดแย้งเป็นกระ บวนการทางสังคม การเปลี่ยนแปลงจะต้องเกิดขึ้นใน โครงสร้าง ไม่ได้ จะต้องเกิดขึ้นในระบบสังคม สังคมนายทุนในปัจจุบันปฏิบัติตามแนวทางของ Simmel คือ สังคมการ ประนีประนอมกันมากกว่าล้มล้างกัน 4.3 ทฤษฎีการขัดแย้งของ ราล์ฟ ดาร์เรนดอรฟ (Ralf Dahredorf ) (1929 –2009) ราล์ฟ ดาห์เรนดอร์ฟ (Ralf Dahrendorf) (1968, p. 125) เป็น นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ที่ปฏิเสธแนวความคิดของมาร์กซ์ ที่ว่า ชนชั้นในสังคมเกิดจากปัจจัยการผลิต และเสนอว่า ความไม่เท่าเทียม กันในสังคมนั้นเกิดจากความไม่เท่าเทียมกันในเรื่องของสิทธิอำานาจ (Authority) เขาเห็นว่า ความขัดแย้งสามารถทำาให้โครงสร้างมีการ เปลี่ยนแปลงได้ ประเภทของการเปลี่ยนแปลง ความรวดเร็วของการ เปลี่ยนแปลง และขนาดของการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับเงื่อนไขของการ เปลี่ยนแปลง เช่น อำานาจของกลุ่ม ความกดดันของกลุ่ม ความขัดแย้ง กันเกิดจากบุคคลและกลุ่มต่างๆ พากันแย่งชิงทรัพยากรและสิทธิอำานาจ ที่มีอยู่ในโครงสร้างสังคม กลุ่มที่เกิดขึ้นภายในสังคมสามารถแบ่งออกได้เป็นสองประเภท คือ กลุ่มที่มีสิทธิอำานาจกับกลุ่มที่ไม่มีสิทธิอำานาจ ทั้งสองฝ่ายที่ต่างก็มีผล ประโยชน์แอบแฝง (Latent interest) อยู่เบื้องหลัง ดังนั้น แต่ละฝ่ายจึง ต้องพยายามรักษาผลประโยชน์ของตนเอาไว้ โดยมีผู้นำาทำาหน้าที่ใน การเจรจา เพื่อปรองดองผลประโยชน์ซึ่งกันและกัน ระดับของความขัด แย้งที่เกิดขึ้นจะรุนแรงมากหรือรุนแรงน้อยนั้นขึ้นอยู่กับการจัดการและ การประสานผลประโยชน์ของกลุ่มที่ครอบงำา และเสนอความคิดว่า
  • 8. 8 ความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมเป็นผลมาจากความกดดันจากภายนอก โดยสังคมอื่นๆ และความขัดแย้งที่เกิดขึ้นในสังคมสามารถควบคุมได้ ด้วยการประนีประนอม ข้อเสนอหลักทฤษฎีความขัดแย้งของเขา คือ 1) การขัดแย้งมีโอกาสเกิดได้ ถ้าสมาชิกของกลุ่มขัดแย้งว่า ผลประโยชน์ของตนคืออะไร และสามารถรวมตัวกันเป็นกลุ่มเพื่อมุ่งผล ประโยชน์นั้น 2) ความขัดแย้งจะเข้มข้น หากมีเงื่อนไขทางเทคนิค เงื่อนไข ทางการเมือง และเงื่อนไขทางสังคม 3) ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการสับเปลี่ยนโยกย้าย บุคคลไปมาระหว่างกลุ่มที่มีอำานาจกับกลุ่มผู้ไม่มีอำานาจซึ่งเป็นไปได้โดย ยาก 4) ความขัดแย้งจะมีความเข้มข้น หากการกระจายสิทธิ อำานาจและรางวัลเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน 5) ความขัดแย้งจะรุนแรง หากเงื่อนไขการรวมกลุ่มคนด้าน เทคนิคด้านการเมือง และด้านสังคมไม่อำานวยหรือให้ทำาได้น้อย 6) ความขัดแย้งรุนแรง หากมีการเสียผลประโยชน์ในการ แบ่งรางวัล เนื่องจากเปลี่ยนเกณฑ์จากเกณฑ์ตายตัวไปเป็นเกณฑ์เชิง เปรียบเทียบ 7) ความขัดแย้งจะรุนแรงถ้ากลุ่มขัดแย้งไม่สามารถสร้างข้อ ตกลงควบคุมการขัดแย้งได้ 8) ความขัดแย้งที่เข้มข้น จะทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทาง โครงสร้างและการจัดการองค์กรสังคมแห่งการขัดแย้ง 9) ความคิดขัดแย้งที่รุนแรง จะก่อให้เกิดอัตราการ เปลี่ยนแปลงทางโครงสร้างและการจัดระเบียบใหม่ในองค์การสังคมที่ เกิดการขัดแย้งนั้นอย่างสูง 4.4 ทฤษฎีการขัดแย้งของ ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) 1913-2003 ลิวอิส เอ. โคเซอร์ (Lewis A. Coser) นักจิตวิทยาชาวเยอรมัน ในหนังสือ The Functions of Social Conflict (1956) ได้จำาแนกความ ขัดแย้งออกเป็น 3 แบบ คือ ก) เมื่อบุคคลอยู่ระหว่างเป้าหมายที่ตน ปรารถนาสองอย่างที่ต้องเลือก (approach- approach conflict) ข) เมื่อบุคคลพบกับเป้าหมายสองอย่าง ซึ่งเป็นทั้งเป้าหมายที่ตนเองชอบ และ ไม่ชอบ (approach-avoidance conflict) ค) เมื่อบุคคลอยู่ระหว่าง
  • 9. 9 เป้าหมายสองอย่างที่ตนเองไม่ชอบทั้งคู่ (avoidance- avoidance conflict) นักวิชาการทางมานุษยวิทยา มองความขัดแย้งว่าเป็นผลมา จากความปรารถนา หรือเป้าหมายที่ไปด้วยกันไม่ได้ อาจมาจากการ แข่งขันกันระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม ซึ่งเป็นผลมาจากวัฒนธรรม และ เป็นแบบฉบบของพฤติกรรมการปรับตัวของมนุษย์ เช่น ความก้าวร้าว ความร่วมมือ หรือ การแข่งขันกัน เมื่อเกิดผลประโยชน์และค่านิยมที่ไป ด้วยกันไม่ได้ ลิวอิส เอ. โคเซอร์ ได้ขยายแนวคิดของซิมเมลให้กว้างขวางออก ไปอีก มองดูว่า การขัดแย้งนั้นไม่ได้มีแต่ผลเสียหายอย่างเดียว แต่มีผล ในทางสร้างสรรค์หรือมีผลในทางดีด้วย เขามองว่า ความขัดแย้งก่อให้ เกิดทั้งด้านบวกและด้านลบ และอธิบายว่า ความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่ง ของกระบวนการขัดเกลาทางสังคม ไม่มีกลุ่มทางสังคมกลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง ที่มีความสมานสามัคคีอย่างสมบูรณ์ เพราะความขัดแย้งเป็นส่วนหนึ่ง ของมนุษย์ ทั้งในความเกลียดและความรักต่างก็มีความขัดแย้งทั้งสิ้น ความขัดแย้งสามารถแก้ปัญหาความแตกแยก และทำาให้เกิดความ สามัคคีภายในกลุ่มได้เพราะในกลุ่มมีทั้งความเป็นมิตร และความเป็น ศัตรูอยู่ด้วยกัน เขามีความเห็นว่า ความขัดแย้งเป็นตัวสนับสนุนให้เกิด การเปลี่ยนแปลงทางสังคม สามารถทำาให้สังคมเปลี่ยนชีวิตความเป็นอยู่ จากด้านหนึ่งไปสู่อีกด้านหนึ่งได้ เพราะหากสมาชิกในสังคมเกิดความ ไม่พึงพอใจต่อสังคมที่เขาอยู่ เขาจะพยายามทำาการเปลี่ยนแปลงสถาน การณ์นั้นๆ ให้เป็นไปตามเป้าหมายของเขาได้ นอกจากนี้ เขายังเสนอ ว่า ความขัดแย้งยังสามารถทำาให้เกิดการแบ่งกลุ่ม ลดความเป็นปรปักษ์ พัฒนาความซับซ้อนของโครงสร้างกลุ่มในด้านความขัดแย้งและร่วมมือ และสร้างความแปลกแยกกับกลุ่มต่างๆ เป็นต้น ลิวอิส เอ. โคเซอร์ เขาพัฒนาแนวคิดความขัดแย้งในการบูรณา การทางสังคมขึ้นอีก 16 ข้อคือ 4.4.1 ความขัดแย้งกับกลุ่มอื่นนำาไปสู่การสร้างเอกลักษณ์และการ สร้างความเข็มแข็งของกลุ่ม 4.4.2 ความขัดแย้งในบางครั้งช่วยรักษาความสัมพันธ์ระหว่าง กลุ่มได้ โดยยอมให้ระบายความกดดันออกไปบ้าง 4.4.3 ความขัดแย้งจริงมีจุดประสงค์ ความขัดแย้งไม่จริงมุ่งลด ความตึงเตรียด 4.4.4 ความขัดแย้งเป็นความสัมพันธ์ทางสังคมรูปแบบหนึ่งซึ่งเกิด ขึ้นได้ในสภาพที่มีปฏิสัมพันธ์กัน
  • 10. 10 4.4.5 ความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดจะมีความขัดแย้งเช่นเดียวกับ มีสันติภาพ 4.4.6 ความสัมพันธ์มีมากอารมณ์พฤติกรรมจะมากขึ้นตามไปด้วย 4.4.7 ความขัดแย้งบางครั้งนำาไปสู่การขจัดเหตุของความขัดแย้ง ออกไปและยืนยันความสัมพันธ์ของทั้งสองฝ่ายใหม่ 4.4.8 ความสัมพันธ์ที่ไม่แข็งแรงอาจถดถอยจากความขัดแย้ง และในความสัมพันธ์ที่เข้มแข็งบ่อยครั้งที่แสดงถึงความขัดแย้ง 4.4.9 ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกจะทำาให้เกิด ความกลม เกลียว การรวมอำานาจ การเคลื่อนย้ายทรัพยากร 4.4.10 ความขัดแย้งกับกลุ่มภายนอกยิ่งเพิ่มมากขึ้น ความอดทน ต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนภายในจะลดลง 4.4.11 ความต้องการที่จะมีความสามัคคีภายในกลุ่ม บ่อยครั้งจะ นำากลุ่มไปขัดแย้งกับกลุ่มอื่น 4.4.12 การแสดงสัญลักษณ์ของกลุ่มยิ่งมากเท่าใดความเป็นศัตรู กับกลุ่มอื่นย่อมเพิ่มมากขึ้น 4.4.13 ความขัดแย้งระหว่าง ฝ่ายต่างๆจะนำาไปสู่ การขยายความ สัมพันธ์ การสร้างบรรทัดฐานอย่างใหม่และยืนยันบรรทัดฐานเดิม รวม ถึงการเพิ่มการมีส่วนร่วมของสมาชิกในสังคม 4.4.14 ความขัดแย้งระหว่างกลุ่มบางครั้งเป็นการกระทำาที่ ปรารถนาให้อีกกลุ่มรวมตัวกัน 4.4.15 ความขัดแย้งเป็นการทดสอบอำานาจ 4.4.16 ความขัดแย้งนำาไปสู่กระบวนการรวมตัวกัน และแสวงหา พันธมิตร การประยุกต์ใช้ทฤษฎีความขัดแย้งในสามจังหวัดชายแดน ภาคใต้ ด้วยกรอบแนวคิดของ โคเซอร์ หากวิเคราะห์ตามกรอบแนวคิดของ โคเซอร์ ความขัดแย้งใน จังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นกรณีศึกษาหนึ่งที่มีการใช้ความรุนแรงเป็น เครื่องมือที่จะนำาไปสู่ความสำาเร็จ จะเห็นว่ามีความต้องการที่จะ เปลี่ยนแปลงระบบสังคมที่เป็นอยู่ หากวิเคราะห์จากข่าวที่ว่า เป็นการ แบ่งแยกดินแดน โดยระบุว่าจะต้องเป็นประเทศของมุสลิม ซึ่งจะมีการ เข่นฆ่าชาวไทยพุทธและชาวมุสลิมที่มีการส่งเสริมการทำางานของรัฐ ไทย สถานการณ์ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ทวีความรุนแรงมากขึ้น เรื่อยๆ เมื่อมีการพัฒนาต่างๆ ของรัฐ ก็จะมีการทำาลายข้าวของของ
  • 11. 11 แผ่นดิน การเข่นฆ่าประชาชนผู้บริสุทธิ์ ความต้องการการเปลี่ยนแปลง ในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นการใช้ความรุนแรงเป็นเครื่องมือใน การนำาไปสู่ความสำาเร็จ เพื่อจะให้ระบบสังคมเปลี่ยนไปเพื่อความ ต้องการของกลุ่มหนึ่ง สำาหรับผู้มีอำานาจก็ต้องการให้มีอำานาจมากยิ่งขึ้น หากกลุ่มประชาชนต้องการการเปลี่ยนแปลงการปกครองให้มีชีวิตดีขึ้น การใช้ความรุนแรงมักจะไม่เหมือนกัน ระหว่างผู้มีอำานาจกับผู้ที่ไม่มี อำานาจ เช่น ผู้ที่ไม่มีอำานาจจะมีการเรียกร้อง การประท้วง การ แสดงออกต่างๆ ที่บ่งบอกว่าไม่เห็นด้วย การทำาลายข้าวของเพื่อให้ สังคมได้รับรู้ปัญหาที่สังคมหนึ่งได้รับผลกระทบอย่างมาก สำาหรับผู้ที่มี อำานาจในความต้องการการเปลี่ยนแปลง จะมีในรูปแบบต่างๆ สามารถ ทำาให้ทุกระบบทำาตามข้อบังคับได้ เนื่องจากมีอำานาจทางด้านทรัพย์ ความขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้เป็นหนึ่งในความต้องการการ พัฒนาหรือต้องการทำาให้สังคมดีขึ้นหวังความสำาเร็จที่สวยงาม แม้จะ ต้องเสียเลือดเนื้อของประชาชนผู้บริสุทธิ์ก็ตาม ความรุนแรงที่เกิดจากความขัดแย้งในแนวคิดของโคเซอร์ เป็นแค่ สัญญาณเตือนว่า กำาลังมีความผิดปรกติในสังคม หรือเป็นการ เปลี่ยนแปลงที่เข้าสู่ความสงบเรียนร้อย กรณีในจังหวัดชายแดนภาคใต้ เป็นจังหวัดที่ติดอยู่กับประเทศเพื่อนบ้าน คือ มาเลเซีย การอพยพของ ชนกลุ่มน้อยย่อมมีเข้ามา ซึ่งมีการใช้ระบบระเบียบที่แตกต่างกัน ทั้ง ความแตกต่างทางด้านชีวภาพ ผิวสี ศาสนา ลักษณะหน้าตาที่แตก ต่างกับคนไทยโดยทั่วไป จึงเห็นถึงความแตกต่าง จึงคิดว่าควรมีการ แบ่งแยกเป็นประเทศใหม่ ซึ่งประชาชนกลุ่มนี้ต้องการความเท่าเทียมกัน อาจจะสมัยก่อนทางตอนใต้ของไทยโดยเฉพาะจังหวัดชายแดนภาคใต้ การพัฒนามีน้อยมาก ทางรัฐบาลมักจะละเลยความต้องการขั้นพื้นฐาน ของประชาชน จะเห็นว่าเมื่อได้เกิดความรุนแรงในจังหวัดชายแดนภาค ใต้ รัฐบาลเริ่มมีการระดมทุนพัฒนาเข้ามาให้ความสำาคัญเป็นพิเศษ ทั้ง ในเรื่องการพัฒนาเรื่องต่างๆ คุณภาพชีวิตของประชาชน ให้ความ สำาคัญทางด้านการศึกษา การว่างงาน เช่น การเข้ามาซ่อมแซมโบราณ สถาน ให้ความสำาคัญทางด้านการศึกษาแก่เด็ก ส่งเสริมทางด้านอาชีพ ทุกอย่าง เริ่มมีการพัฒนาที่ดีขึ้น แต่ทางกลับกันการแลกเปลี่ยนกับการ ได้มาซึ่งการพัฒนาก็ต้องมีผลเสียตามมาเช่นกัน ความขัดแย้งเกิดขึ้นได้ หลายสาเหตุด้วยกัน แต่ที่เห็นว่าสำาคัญที่สุดคือ การขัดแย้งทางศาสนา เชื้อชาติ ที่เห็นถึงความแตกต่างทางกายภาพได้ชัดเจน ระบบความเชื่อ ทางศาสนามาซึ่งความรุนแรง ทั้งกระทำาตามความเชื่อทางศาสนาและ
  • 12. 12 กระทำาเพื่อความต้องการส่วนตัว ซึ่งเป็นเรื่องที่รัฐเข้ามาเล็งเห็นถึงความ สำาคัญเข้ามาสนใจ ความเป็นอยู่ของประชาชนและเข้ามาพัฒนาให้ เท่ากับจังหวัดอื่นๆ ทำาให้จังหวัดชายแดนภาคใต้มากด้วยการพัฒนาใน ทุกระบบ หากไม่มีความขัดแย้งในวันนี้ จังหวัดชายแดนภาคใต้ก็ไม่ได้ พัฒนาจนถึงทุกวันนี้ ทฤษฎีความขัดแย้งของโคเซอร์ เป็นการมองว่า ระเบียบที่มีอยู่ใน โครงสร้างหน้าที่นิยมนั้นก็สามารถก่อความขัดแย้งได้ หากมันมีความ เป็นระเบียบมากเกินไปหรือน้อยเกินไป จะเห็นว่าทุกสังคมจะหลีกเลี่ยง ความขัดแย้งไม่ได้ ความคิดของโคเซอร์จึงอยู่กึ่งกลางระหว่างความขัด แย้งกับโครงสร้างหน้าที่นิยม โคเซอร์ มองความขัดแย้งเหมือน ซิมเมล ที่เห็นว่า ความขัดแย้งไม่จำาเป็นจะต้องส่งผลทางด้านลบเสมอ แต่มันเป็น การบูรณาการทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นได้ และเมื่ออยู่ ในกฎระเบียบใหม่ มันก็จำาเป็นจะต้องเปลี่ยนแปลงอีก สังคมก็จะต้องมี การโต้เถียงเกิดความรุนแรง ขัดแย้ง เบี่ยงเบน เพราะสังคมจะต้อง ปฏิสัมพันธ์กัน สังคมไม่จำาเป็นจะต้องทำาตามหน้าที่เสมอไป เพราะทำาให้ มนุษย์เกิดความตึงเครียดและมักจะทำาให้เกิดความขัดแย้งขึ้นอีก ความ ขัดแย้งในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ก็เป็นหนึ่งในความขัดแย้งที่เกิดขึ้น แต่ไม่รู้ว่าเกิดเพราะใคร แต่สามารถอธิบายได้ว่า การเกิดความขัดแย้ง ในจังหวัดชายแดนภาคใต้นั้น สามารถเกิดผลดีหลายๆ อย่างเข้ามาหรือ ดีกว่าก่อนที่จะเกิดความขัดแย้งขึ้นอีก หากเรามองดูการพัฒนาของ ปัจจุบัน นอกเหนือจากการสูญเสียไปของเหตุการณ์นี้ ความขัดแย้งเรา ไม่สนใจว่าเกิดได้อย่างไร เพราะใคร ทำาไม แต่เราเห็นความขัดแย้ง ทำาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างเห็นได้ชัด ความขัดแย้งตามที่ โคเซอร์ บอกสามารถที่จะเป็นการบูรณาการให้เกิดความเป็นระเบียบเรียบร้อย ได้ เกิดการพัฒนา เป็นสิ่งที่สร้างสรรค์แต่นำาไปสู่สิ่งที่ดีขึ้นเสมอ