SlideShare a Scribd company logo
ปัญหาสังคมไทยใน
ปัจจุบัน
แนวทางการแก้ไขแบบ
สันติวิธี
สังคมไทยเป็นสังคมแห่งศาสนาและวัฒนธรรม มี
วัด มัสยิด โบสถ์ เป็นต้น ตั้งอยู่เป็นประจักษ์พยาน
พระพุทธศาสนา มีอิทธิพล
ต่อวัฒนธรรมไทยค่อนข้างสูง
นับตั้งแต่เกิดจนตาย
แต่สังคมมีการเปลี่ยนแปลงเพราะคนในสังคมเพิ่ม
จานวนมากขึ้น วิถีชีวิต คานิยม ลัทธิความเชื่อและศาสนา ก็
พลอยได้รับผลกระทบไปด้วย ในสังคมปัจจุบันจึงต้องเผชิญ
กับปัญหานานาประการ ทั้งปัญหาคุณภาพชีวิต ปัญหา
เศรษฐกิจและการเมือง
บางครั้งทวีความรุนแรงมากขึ้น
จาเป็นต้องมีการแก้ไขปัญหาโดยด่วน
การแก้ปัญหาโดยแนวทางสันติวิธี
วิธีที่ดีที่สุด คือ
ความหมายของปัญหาสังคม
เป็นการผสมกันระหว่างคาว่า ปัญหา ซึ่งแปลว่า
อุปสรรค หรือสิ่งที่วิตกกังวล อันได้แก่ ความทุกข์ชนิดหนึ่ง
กับคาว่า สังคม ซึ่งแปลว่า การรวมคนตั้งแต่สองคนขึ้นไป
หรือการอยู่ร่วมกันของมนุษย์
ปัญหาสังคม จึงหมายถึง กลุ่มคนที่อยู่ร่วมกัน
แล้วเกิดอุปสรรค์หรือขัดข้อง จนนาไปสู่สิ่งที่เรียกว่า
ความทุกข์หรือความวิตกกังวล
ที่มาของปัญหาสังคม
• ปัญหาสังคมที่เกิดจากมนุษย์
เกิดจากการที่ผู้คนในสังคมนั้นสร้างขึ้น
กาหนดขึ้น หรือทาให้เกิดขึ้นเอง
• ปัญหาสังคมที่เกิดจากธรรมชาติ เช่น ภัยพิบัติทางธรรมชาติ
ความแห้งแล้ง
โดยทั่วไปมักเป็นสาเหตุทางอ้อม
ที่ทาให้เกิดปัญหาความยากจน ปัญหาการอพยพ
• ปัญหาสังคมที่เกิดจากมนุษย์และสภาพธรรมชาติ
ประเภทของปัญหาสังคม
๑. ปัญหาสังคมที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และเทคโนโลยีต่างๆ เช่น ปัญหาความยากจน
ปัญหามลภาวะ
๒. ปัญหาสังคมที่เกิดจากความไร้ระเบียบวินัยและ
ขาดจิตสานึก หรือมีพฤติกรรมเบี่ยงเบนของ
มนุษย์ในสังคม เช่น ปัญหาอาชญากรรม ปัญหา
ทุจริตคอร์รัปชั่น ปัญหาโรคเอดส์
ปัญหาสังคมไทยที่สาคัญในปัจจุบันกับ
แนวทางการแก้ไขปัญหาแบบสันติวิธี
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบัน ที่จะนาเอาแนวทางวิธีการ
แก้ไขแบบสันติวิธีมาใช้นั้น ส่วนมากเป็นปัญหาที่เกิดจากความ
ขัดแย้ง
การแก้ปัญหาโดยยึดหลักการสันติวิธี คือ เริ่ม
การพูดคุยด้วยความเสมอภาคเพื่อหาทางออกร่วมกัน
โดยมีความเชื่อว่าทุกสิ่งทุกอย่างมีความไม่แน่นอน
สามารถเปลี่ยนแปลงได้เสมอ
ไม่ยึดติด กับข้อตกลงตายตัวและมีหลักจริยธรรม
ของสันติวิธี คือ ต้องเคารพความเป็ นเพื่อนมนุษย์
ระหว่างกัน จึงจะสามารถและหาข้อตกลงร่วมกันได้
สันติวิธี
สันติวิธี มาจากภาษาอังกฤษว่า
“Non-violence” แปลว่า ไม่ใช้ความ
รุนแรง
แต่ในขณะเดียวกันนักวิชาการบางท่านชี้ให้เห็นว่า
“สันติวิธี” น่าจะมีความหมายที่มุ่งไปที่
วิธีการ หรือ
เครื่องมือในการจัดการกับความขัดแย้งที่เกิดขั้น
ลักษณะของสันติวิธี
๑. สันติวิธีไม่ใช่วิธีการเฉื่อยชาหรือยอมจานน แต่เป็น
วิธีการที่มีการแข่งขันหรือต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์
๒. สันติวิธีไม่ใช่กลยุทธ์ที่นามาใช้ชั่วคราว
แต่เป็นกลยุทธ์ที่จะต้องใช้อย่างถาวร
๓. จะต้องยึดวิธีการนี้อย่างจริงจัง เพราะสันติวิธีไม่ใช่
แค่เป็นหนทางและวิธีการเท่านั้น
แต่ยังส่งผลถึงความสาเร็จด้วย
ความสาคัญของสันติวิธี
๑. สันติวิธีเป็นวิธีที่ถูกต้องตามหลักศีลธรรม เน้นการอยู่
ร่วมกันอย่างสันติ ความเมตตา สงสาร การเคารพ ให้เกียรติซึ่งกัน
และกัน การไม่เบียดเบียนทางกาย วาจา และใจ
๒. เป็นวิธีการที่สอดคล้องกับมนุษย์ชาติและเป็นวิธีการที่
สร้างพื้นฐานของความเข้าใจซึ่งกันและกัน
๓. เป็นวิธีเดียวที่สนับสนุนประชาธิปไตย เป็นวิธีส่งเสริม การ
มีส่วนร่วมของบุคคลกลุ่มต่างๆ เพื่อหาแนวทางการแก้ไขความ
ขัดแย้งแทนการใช้ความรุนแรง
๔. เป็นวิธีสนับสนุนกระบวนการสร้างการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในทุกๆกลุ่ม
๕. เป็นวิธีการที่น่าจะมีการสูญเสียน้อยที่สุด ทั้งระยะ
สั้น ระยะยาว ทั้งรูปธรรมและนามธรรม
๖. เป็นวิธีที่มีบทบาท หน้าที่ในการประสานร่องรอย
ความขัดแย้ง เพื่อให้สังคมไทยได้ปรับกระบวนทัศน์ จากวิธี
เดิมที่ใช้อานาจเข้าไปแก้ไขปัญหา ไปสู่กระบวนการทางสังคม
ที่เน้นการเข้ามามีส่วนร่วมกันคิด ร่วมกันทา เรียกว่า “วิธีการ
อารยะ” หรือ “ความเป็นอารยะ”
๗. เป็นวิธีที่สนับสนุนหลักการสิทธิมนุษยชน
๘. เป็นวิธีที่สนับสนุนแนวคิดเรื่อง “ความยุติธรรม”
แนวความคิดสาคัญที่นามาใช้แก้ปัญหา
ความขัดแย้งแบบสันติวิธี
ผลงานของมหาตมะ คานธี ที่ได้รับการยกย่อง
มาก คือ การที่ท่านได้ต่อสู้กับความอยุติธรรมใน
สังคมทั้งในอัฟริกาและอินเดียซึ่งอยู่ภายใต้การ
ปกครองของอังกฤษ
ในขณะนั้น ท่านเป็นผู้นาขบวนการกู้เอกราชของ
อินเดียโดยใช้แนวทางอหิงสา คือ การไม่ใช้ความรุนแรงใน
การเผชิญหน้ากับอังกฤษ จนในที่สุดอินเดียได้รับเอกราชจาก
อังกฤษเมื่อ ค.ศ.๑๙๗๘
แนวความคิดของมหาตมะ คานธี
ความคิดแบบอหิงสาของคานธีเกี่ยวข้องกับ
แนวความคิดหลัก ๓ ประการ คือ
สัตยะ คือ การแสดงออกในรูปลักษณ์ของความรักและ
การรับใช้สรรพสัตว์
อหิงสา คือ การไม่ใช้ความรุนแรง สร้างความเป็ น
ธรรมให้ชีวิตทุกชนิดและทุกระดับ ผู้ที่ยึดถือหลักของอหิงสา
จะต้องฝึกฝนทางจิตวิญญาณ ฝึกให้รักคนที่เกลียดเรา และ
จาเป็ นต้องเรียนรู้ศิลปะการตาย เพราะผู้ที่ฝึ กอหิงสา
จาเป็ นต้องฝึกฝนตนเองให้มีความเสียสละอย่างสูงเพื่อไม่ให้
เกิดความกลัวที่จะสูญเสีย
สัตยะ อหิงสา และ สัตยาเคราะห์
สัตยาเคราะห์ หมายถึง “พลังแห่งสัจจะ”
ถือเป็ นอาวุธสันติสาหรับการต่อสู้ที่ไม่ใช้ความรุนแรง
โดยผู้ต่อสู้ต้องถือหลักของสัจจะและอหิงสา ตลอดจนต่อสู้ด้วย
ความบริสุทธิ์ใจและความถูกต้อง
ในการต่อสู้กับฝ่ ายปรปักษ์นั้นผู้ต่อสู้จะต้องมีความ
อดทนและเห็นใจฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ ความอดทนคือการยอมรับ
ทุกข์ด้วยตนเอง มิได้หมายถึงการทาให้ผู้อื่นได้รับทุกข์
หัวใจของ “สัตยาเคราะห์” คือ
“การอุทิศชีวิตให้กับสิ่งที่ตนเชื่อว่าถูกต้อง”
เงื่อนไขแห่งความสาเร็จของสัตยาเคราะห์
มี ๔ ประการ คือ
๑. ผู้ปฏิบัติสัตยาเคราะห์จะต้องไม่เกลียดชังฝ่ายตรงข้าม
๒. ประเด็นในการต่อสู้จะต้องเป็นเรื่องที่มีเนื้อหาจริงจังเป็น
เรื่องถูกต้องทานองคลองธรรม
๓. ผู้ปฏิบัติสัตยาเคราะห์ต้องพร้อมที่จะยอมทนทุกข์ทรมาน
จนถึงที่สุด
๔. การสวดภาวนาเป็นปัจจัยที่สูงส่งสาหรับสัตยาเคราะห์
เพราะศรัทธาในพระผู้เป็นเจ้าเป็นสิ่งที่จาเป็น
คานธี ได้อุทิศตน ใคร่ครวญถึงวิธีการเหล่านี้และได้
ปฏิบัติด้วยตนเองในการต่อสู้กับความอยุติธรรมทางสังคม
เช่น เรื่องการกดขี่ทางวรรณะในสังคมฮินดู ความไม่เป็นธรรม
ที่ชาวเอเชียและอินเดีที่ได้รับจากรัฐบาลผิวขาวในแอฟริกาใต้
การปกครองและกฎหมายที่ไม่เป็ นธรรมของอังกฤษที่มีต่อ
อินเดีย
ตลอดระยะเวลาของการ
ต่อสู้ คานทีถูกจับกุมคุมขังหลาย
ครั้ง แต่ก็ได้รับการปล่อยตัว
คนอินเดียมีความศรัทธาในตัวท่านมากโดยให้นามว่า
“มหาตมา” ซึ่งความหมายว่า “ผู้มีจิตใจสูง”
ใน ค.ศ.๑๙๓๑ ได้รับการ
ยอมรับจากรัฐบาลอังกฤษในฐานะ
ผู้แทนคนเดียวจากอินเดียที่เข้าร่วม
ประชุม
ในปี ค.ศ.๑๙๔๗ อินเดียได้รับ
เอกราชจากอังกฤษ
และใน ค.ศ. ๑๙๔๘ ท่านประกาศอดอาหาร
จนตายเพื่อวิงวอนให้ฮินดูและมุสลิมหยุดปะทะกันใน
เดลฮี เมื่ออดอาหารได้ ๕ วัน ชุมชนทั้งสองก็ได้หยุด
ประหัตประหารกัน
นาถูราม โคทเส ชาวฮินดูผู้คลั่งศาสนา
ไม่ต้องการให้ฮินดูสมานฉันท์กับมุสลิม ได้ยิง
ปืนใส่คานธี ๓ นัด
คานธีล้มลง และได้สิ้นลมหายใจในวัย ๗๘ ปี
(ภาพประกอบ จาก ภาพยนตร์เรื่อง "คานธี" ที่ แสดงนาโดย
"เบน คิงสลีย์" ได้รางวัล ออสการ์ สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม
แหล่งที่มา :
http://news.truelife.com/detail/2218273#sth
ash.TDn8I5e1.dpuf
สันติวิธีตามแนวท่านพุทธทาสภิกขุ
พุทธทาสภิกขุเป็นนักวิชาการทางพระพุทธศาสนาที่
สาคัญท่านหนึ่ง ที่ได้นาเสนอแนวคิดเรื่องสันติภาพและแนวทาง
ที่จะทาให้เกิดขึ้นสันติภาพในสังคมยุคปัจจุบัน แนวคิดดังกล่าว
ปรากฏอยู่ในผลงานหนังสือของท่านหลายเล่ม
ท่านกล่าวว่า “จิตมนุษย์” นี่แหละเป็นเรื่องสาคัญ เป็น
ต้นตอของความเปลี่ยนแปลงทั้งปวงจะสันติภาพหรือจะ
วิกฤตการณ์มันขึ้นอยู่กับจิตใจของมนุษย์
ท่านพุทธทาสมองว่ายุคปัจจุบันนี้เกิดวิกฤติการณ์ที่ถือ
ได้ว่าเลวร้ายที่สุดคือ การที่มนุษย์เข้าไปยึดมั่นสิ่งต่างๆว่า
“เป็นตัวกู ของกู” ซึ่งเป็นการเข้าไปเกี่ยวข้องกับธรรมชาติด้วย
กิเลส,ตัญหา และฉกฉวยผลประโยชน์ต่างๆ เพื่อสนองความ
อยากของตนเอง
สันติภาพ นั้น มาจากคาว่า “สันติ” กับ “ภาวะ”
คาว่า สันติ หมายถึง ความสงบ
ภาวะ หมายถึง ปรากฏการณ์ที่เป็นอยู่
สันติภาวะ ภาวะแห่งความสงบ
สังคมใดหรือกลุ่มใดก็ตาม
ถ้าไม่เกิดการกระทบกระทั่งกัน
ไม่เบียดเบียดผู้อื่น และไม่เบียดเบียนตนเอง
ก็มีความสงบสุข สันติภาพก็เกิดขึ้น
มรรค 8 ทาให้เกิดสันติภาพ
ความถูกต้องทางทิฐิ ความถูกต้องทางความดาริ
ความถูกต้องทางวาจา ความถูกต้องทางการทางาน
ความถูกต้องทางการดารงชีวิต ความถูกต้องในความ
เพียร ความถูกต้องในความมีสติ ความถูกต้องในความมี
สมาธิ
ปณิธานร่วมกัน 3 ประการ
๑. การทาให้ทุกคนเข้าถึงหัวใจแห่งศาสนาของตน ๆ ซึ่งข้อนี้
จะสามารถทาลายความเห็นแก่ตัวอันเป็นศัตรูของสันติภาพ
๒. ทาความเข้าใจระหว่างศาสนา เพราะการที่ชาวโลกที่นับ
ถือศาสนาที่แตกต่างกันพากันทาความเข้าใจศาสนาต่าง ๆ แล้ว จะ
ทาให้เกิดความเข้าใจ ยอมรับในความแตกต่างและร่วมมือกันในที่สุด
๓. ออกมาเสียจากอานาจวัตถุนิยม เพราะว่าการที่คนไม่
เข้าถึงหัวใจแห่งศาสนาของตนก็เพราะมัวลุ่มหลงมัวเมาในวัตถุนิยม
ซึ่งการลุ่มหลงมัวเมาจะทาให้ขาดความร่วมมือของบุคคลในระหว่าง
ศาสนา
แนวคิดของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตโต)
พระพรหมคุณาภรณ์ หรือเดิมเป็น
พระธรรมปิฎก มีทัศนะที่ครอบคลุมสันติวิธีที่
เกี่ยวข้องกับการทาให้ทุกคนเข้าถึงหัวใจแห่ง
ศาสนาของตนๆ และทาความเข้าใจระหว่าง
ศาสนา
เพราะการที่ชาวโลกที่นับถือศาสนาที่แตกต่างกัน พากันทา
ความเข้าใจศาสนาต่างๆ แล้ว จะทาให้เกิดความเข้าใจ ยอมรับใน
ความแตกต่างและร่วมมือกันในที่สุด
เป็นการใช้สันติวิธีเพื่อแก้ไขปัญหาความขัดแย้ง และการใช้
สันติวิธีเพื่อเป็นวิถีทางในการดาเนินชีวิต
เมื่อกล่าวถึงความขัดแย้ง ท่านมองว่าเป็นปรากฏการณ์ที่
สามารถเกิดขึ้นได้ ความขัดแย้งเป็นธรรมชาติของสิ่งทั้งหลาย
เพราะสิ่งทั้งหลายมีความแตกต่างกัน ซึ่งความแตกต่างดังกล่าว
นั้น ทาให้เกิดความขัดแย้งกัน
แต่ถึงกระนั้นความแตกต่างจะทาให้เกิดความ
หลากหลาย และมีความสมบูรณ์มากยิ่งขึ้น หากจะแปรผล
ของความแตกต่างนั้นให้กลายเป็นสิ่งที่มีประโยชน์
ทาให้เกิดแง่คิด และมุมมองใหม่ๆ
ความขัดแย้งนั้นควรจะก่อรูปขึ้นมาจากเจตนาที่ดี
มีจุดมุ่งหมายเพื่อความดีงาม ความก้าวหน้า และความร่มเย็นของสังคม
ความขัดแย้ง
ความคิดของมนุษย์
ในการแก้ปัญหาความขัดแย้งนั้น บางที
อาจจะให้การประนีประนอม แต่การประนีประนอม
ไม่ใช่สิ่งที่มนุษย์จะอยู่ร่วมอยู่ร่วมกันได้อย่างแท้จริง
เพราะต้องยอมเสียบางอย่างเพื่อให้ตนได้บ้าง
หรือเพื่อจะได้ด้วยกันทั้งสองฝ่าย
ต่างฝ่ายจึงต้องยอมเสียอย่างใดอย่างหนึ่ง
จึงต้อง “มีความจาใจอยู่ในตัว”
การประสานกลมกลืนเข้าด้วยกัน
การสอดประสานดังกล่าวจะต้องสอดคล้องกับหลัก
ความคิดสากล ๓ ประการ คือ
๑. ความจริงที่เป็นสากล คือ หลักความจริงที่เป็นกลางๆ มี
ผลเสมอเหมือนกันแก่ทุกคน ทุกที่ รวมทั้งทุกศาสนา
๒. ความเป็นมนุษย์ที่เป็นสากล คือ ความเป็นมนุษย์ที่จะต้อง
มองเห็น เข้าใจ ให้ความนับถือเสมอกัน
๓. ความมีเมตตาที่เป็นสากล คือ ให้ความรู้สึกเป็นมิตร
มีความรัก ความปรารถนาประโยชน์สุขแก่มนุษย์ทั่วทุกคน
เสมอเหมือนกัน โดยไม่มีการจากัดหรือแบ่งแยก
กรณีศึกษาการแก้ปัญหาสังคมไทยแบบสันติวิธี
สถานการณ์ความไม่สงบในจังหวัดชายแดนภาคใต้
ก่อให้เกิดความขัดแย้งอย่างรุนแรง และกระทบการพัฒนาใน
ทุกมิติไม่ว่าจะเป็นมิติทางด้านสังคม การเมือง ความมั่นคง
เศรษฐกิจ ปัญหาดังกล่าวชี้ให้เห็นชัดว่า
สันติวิธีดับไฟใต้
สมานฉันท์ เป็นพื้นฐานที่สาคัญยิ่งสาหรับ
ความสงบสุขและความสันติสุข
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒
สมานฉันท์ หมายถึง ความพอใจร่วมกัน
ความเห็นพ้องกัน ความกลมเกลียวกัน
แต่ความหมายที่สังคมไทยปัจจุบันเข้าใจและใช้กัน ดูจะมี
ขอบเขตที่นอกเหนือจากพจนานุกรม และมีนัยทางการเมือง
โดยนาไปใช้ในความหมายของ
ความสามัคคี การให้อภัยกัน รวมไปถึงการเลิกแล้วต่อกัน
พระไพศาล วิสาโล กล่าวว่า
สันติวิธีจะสามารถดับไฟใต้ได้ก็ด้วยการ
ขจัดเงื่อนไขที่บ่มเพาะขบวนการก่อความไม่สงบ
๑. สร้างเงื่อนไขทางการเมือง
๒. เสนออุดมการณ์ที่เป็นทางเลือกใหม่ในทางสันิ
๓. สลายแนวร่วมของผู้ก่อความไม่สงบ
กล่าวคือ
สรุป
สันติวิธี หมายถึง กระบวนการแก้ไขปัญหาของมนุษย์โดย
กระบวนการดังกล่าวจะไม่ใช้ความรุนแรง ซึ่งจะส่งผลให้สังคมเกิด
ความสงบสุข ไม่ใช่วิธีการเฉื่อยชาหรือยอมจานน แต่เป็นวิธีการ
ที่มีการแข่งขันหรือต้องใช้ความคิดสร้างสรรค์ ไม่ใช่กลยุทธ์ที่
นามาใช้ชั่วคราว แต่เป็นกลยุทธ์ที่จะต้องใช้อย่างถาวรโดยจะต้อง
ยึดวิธีการนี้อย่างจริงจัง
จุดอ่อนที่สาคัญประการหนึ่งของการนาสันติวิธีมาใช้ คือ
การปฏิบัติที่ไม่สม่าเสมอ ซึ่งส่วนใหญ่จะเลิกใช้วิธีการสันติวิธี ใน
ระหว่างดาเนินการ.......
จบการนาเสนอ
ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบัน
และแนวทางแก้ไขปัญหาแบบสันติวิธี
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
Padvee Academy
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยMild Jirachaya
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
PakChee
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองkroobannakakok
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9พัน พัน
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลายMim Papatchaya
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองโอ๋ อโนทัย
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
Chainarong Maharak
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
ธนกร ทองแก้ว
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
Taraya Srivilas
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
Padvee Academy
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
พัน พัน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
7roommate
 

What's hot (20)

ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตยยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
ยุคภูมิธรรมและแนวคิดประชาธิปไตย
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
การเลิกไพร่
การเลิกไพร่การเลิกไพร่
การเลิกไพร่
 
สถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมืองสถาบันทางการเมือง
สถาบันทางการเมือง
 
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
สรุปแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่9
 
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง    ความหลากหลายเรียงความเรื่อง    ความหลากหลาย
เรียงความเรื่อง ความหลากหลาย
 
คำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทองคำแปลนิราศภูเขาทอง
คำแปลนิราศภูเขาทอง
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษาวิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
วิเคราะห์การเมืองกับการศึกษา
 
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบันการสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
การสร้างความปรองดอง และสมานฉันท์ในสังคมไทยปัจจุบัน
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
อารยธรรมจีน
อารยธรรมจีนอารยธรรมจีน
อารยธรรมจีน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
ทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสันทฤษฎีของอิริคสัน
ทฤษฎีของอิริคสัน
 

Similar to ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี

ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
นายวินิตย์ ศรีทวี
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
Omm Suwannavisut
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
Boonlert Aroonpiboon
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1Ziro Anu
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditions
Teetut Tresirichod
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
Proud N. Boonrak
 
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธรายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
leemeanshun minzstar
 
Human2.2
Human2.2Human2.2
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรมthnaporn999
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูJani Kp
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมkruarada
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
Padvee Academy
 

Similar to ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี (20)

พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลางอิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
อิทธิพลของคริสต์ศาสนาในยุโรปสมัยกลาง
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
 
บทที่1
บทที่1บทที่1
บทที่1
 
Chapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditionsChapter 2 thai culture and traditions
Chapter 2 thai culture and traditions
 
G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3G สังคมไทย social3
G สังคมไทย social3
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
พัฒนาการทางสังคมและศิลปวัฒนธรรม601
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์ใบความรู้ศาสนาคริสต์
ใบความรู้ศาสนาคริสต์
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
รายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธรายงานพระพุทธ
รายงานพระพุทธ
 
Human2.2
Human2.2Human2.2
Human2.2
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
วัฒนธรรม
วัฒนธรรมวัฒนธรรม
วัฒนธรรม
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
กิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคมกิจกรรม สาระสังคม
กิจกรรม สาระสังคม
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 

More from พระอภิชัช ธมฺมโชโต (12)

มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชนมูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
มูลนิธิพันธกิจเด็กและชุมชน
 
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษาบทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
บทบาทของพระสงฆ์กับการพัฒนาการศึกษา
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัยวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยสุโขทัย
 
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนาวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
วรรณกรรมทางพระพุทธศาสนาในสมัยล้านนา
 
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระเทศกาลชักพระ - ลากพระ
เทศกาลชักพระ - ลากพระ
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
ชีวประวัติท่านพุทธทาส แก่นพุทธศาสน์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา  คานธีชีวประวัติ มหาตมา  คานธี
ชีวประวัติ มหาตมา คานธี
 
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนาการจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
การจัดการศึกษาคณะสงฆ์ไทยในสมัยล้านนา
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ  พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
พระมหาวุฒิชัย วชิรเมธี (ว.วชิรเมธี) : พระนักพัฒนาสื่อ
 

ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันและแนวทางการแก้ปัญหาโดยสันติวิธี