SlideShare a Scribd company logo
คานา
การดาเนินงานบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหลายๆแห่งทั่วโลกในปัจจุบัน พบว่าการ
ดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้ าหมายของวัตถุประสงค์ ข้อมูลเหล่านี้สามารถทราบได้จากการประเมิน
ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Management Effectiveness Tracking Tool
หรือ METTหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น WCPA,WWF UNDP/GEFหรือ The World Bank ได้มี
การนาเอาแบบการประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองมาใช้เป็นเครื่องมือประเมินผลโครงการที่หน่วยงาน
ดังกล่าวสนับสนุนด้านงบประมาณ หรือปัจจัยนาเข้าอื่นๆที่ใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง พร้อมกับพัฒนา
รูปแบบการประเมินให้เหมาะสมกับท้องที่ที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองหรือของแต่ละประเทศ ทั้งนี้
IUCN/WCPAได้กาหนดเครื่องมือในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง และให้มีมาตรฐาน
และสามารถใช้ได้ในทุกๆพื้นที่ทั่วโลก
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้รับงบประมาณจากองค์กร UNDP/GEFใน
โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบพื้นที่คุ้มครอง(Catalyzing Sustainability of Thailand s Protected
Areas :CATSPA)โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดปัญหาอุปสรรคต่อความยั่งยืนในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยมุ่งเน้น
การพัฒนาระบบด้านงบประมาณ และประสิทธิภาพในการจัดการ โดยมีระยะเวลาดาเนินการโครงการ 4 ปี
(2554-2558)ตามแผนงาน/กิจกรรมกาหนดให้มีการพัฒนารูปแบบระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและติดตาม
ประเมินผลตลอดจนการประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคนิคต่างๆ เช่นMETTนี้ที่โครงการUNDP/GEFกาหนดให้ใช้
เป็นกรอบในการดาเนินงานของโครงการ CATSPA ดังกล่าว
ในปัจจุบันกรอบการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของIUCN/WCPAเป็น
รูปแบบที่มีมาตรฐาน เป็นกรอบการปฏิบัติในพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วไป ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของพื้นที่
คุณค่าและภัยคุกคาม กระบวนการวางแผนทุกกิจกรรม ทรัพยากรที่นามาใช้และกิจกรรมที่ได้ดาเนินการ
บริหารจัดการ ผลลัพธ์ที่ได้รับตามกิจกรรมและผลประโยชน์ที่ได้รับเป็นวิธีการที่ดาเนินการได้ง่าย รวดเร็ว
ตลอดจนผู้ที่นาไปใช้ไม่จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญมากนักและไม่จาเป็นต้องใช้
งบประมาณมาก ผลสรุปจากการประเมินจะได้นาไปวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
เพื่อให้สามารถแก้ไขการบริหารจัดการในส่วนที่ยังไม่ดีพอให้ดีขึ้นหรือมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป
ทั้งนี้หวังว่าเครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองนี้จะเป็นเครื่องมือ
มาตรฐานในการใช้ติดตามประเมินประสิทธิภาพของพื้นที่คุ้มครองที่เป็นเป้าหมายของโครงการและสามารถ
นาไปใช้ในพื้นที่คุ้มครองอื่นๆต่อไป
ทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
- 1 -
เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
( Management Effectiveness Tracking Tool for Protected Areas)
โดย นายทวี หนูทอง
ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA
--------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นวิธีการค้นหาข้อมูลจากการ
ปฏิบัติงานตามแผนงาน เพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้กากับนโยบายใช้ในการพิจารณาสนับสนุนให้การปฏิบัติงาน
เป็นไปตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองของแต่ละประเทศหรือภูมิภาคให้มี
ประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาการดาเนินงานจะประกอบไปด้วย การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของ
การจัดการพื้นที่คุ้มครองการวิเคราะห์ของเขตความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม การวิเคราะห์
ขอบเขตของพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆที่มีความสาคัญและมีคุณค่าของระบบนิเวศ เศรษฐกิจและสังคม มีการกาหนด
แนวทางการดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความจาเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา
เทคนิคการพัฒนาในด้านต่างๆตามความสาคัญของนโยบายและแผนการติดตามผลขั้นตอนเพื่อสนับสนุน
การจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพ
ในการดาเนินงานตามแผนงานเพื่อประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
สามารถดาเนินการได้โดยวิธีการสัมภาษณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการในส่วนกลางหรือการประชุมเชิง
ปฏิบัติการในพื้นที่ เพื่อให้ผู้เข้าประชุมที่ประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยระดับพื้นที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ประจา ผู้
กากับนโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามาให้ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ผลและจัดลาดับความสาคัญของ
กิจกรรม ซึ่งการดาเนินงานของผู้ที่จะดาเนินการประเมินจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน กล่าวคือ
(1)ขั้นตอนการพิจารณาขอบเขตการประเมินประสิทธิภาพ
(2)การประเมินผลจากข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน
(3) การกาหนดแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมิน
(4) การวิเคราะห์ข้อมูล
(5) การวิเคราะห์กิจกรรมที่จะดาเนินการต่อไปพร้อมกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ
การประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์ จะ
เป็นการประเมินตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนและขั้นตอนในการประเมินประสิทธิภาพมีความแตกต่าง
กันไปขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการจะประกอบด้วย
1.วิสัยทัศน์ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดให้โครงการบรรลุผลที่กาหนดไว้
2.การประเมินผลสภาพแวดล้อม สถานภาพ ภัยคุกคามและปัจจัยภายนอกที่มีผลทาให้ไม่
บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
3.การประเมินผลความเหมาะสมของแผนและการจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
- 2 -
4.การประเมินผลด้านทรัพยากรต่างๆที่นามาใช้ในการจัดการ
5.การประเมินผลด้านกระบวนการการจัดการที่เป็นไปหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์
6.การประเมินผลความสาเร็จที่เกิดขึ้น
7.ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เช่น การลดลงของพื้นที่คุ้มครอง
การปฏิบัติตาม
วัตถุประสงค์
ประสบความสาเร็จ
หรือไม่
กรอบกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์
สมมุติฐาน
วิธีการที่จะดาเนินการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะขึ้นอยู่กับข้อ
สมมุติฐาน ซึ่งได้กาหนดไว้ดังนี้
1.บทบาทหน้าที่ของผู้ทาการประเมินประสิทธิภาของพื้นที่คุ้มครองเปรียบเสมือนการ
ทางานที่อยู่ในอากาศที่ว่างเปล่าคุณค่าของข้อมูลจะขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่
ผู้บริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อากาศที่ว่างเปล่าเปรียบเสมือนว่าเป็นช่องว่างในการรับข้อมูลที่บุคคล
ดังกล่าวจัดหาให้และผลลัพธ์ที่ได้
วิสัยทัศน์
เป้าหมายและ
วัตถุประสงค์
การประเมินผล
และสิ่งสะท้อนให้
เห็น
สภาพแวดล้อม
และสถานภาพ
ผลที่ได้รับ
การวางแผน
และรูปแบบ
ผลลัพธ์ของการ
จัดการ
เครื่องมือ
วัสดุอุปกรณ์
กระบวนการ
จัดการ
เราต้องการทราบอะไร
วัตถุประสงค์ที่กาหนดกระบวนการจัดการเป็นไปตาม
วัตถุประสงค์หรือไม่
มีปัจจัยภายนอก
อะไรบ้างที่มากระทบ
กับวัตถุประสงค์
จุดอ่อน จุดแข็ง
ของแผนยุทธศาสตร์
ผลลัพธ์เป็นไป
ตามวัตถุประสงค์
หรือไม่
แผนการ
สนับสนุน
วัตถุประสงค์
- 3 -
2.ต้องยอมรับว่าบทนิยามของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง “พื้นที่ดินและพื้นที่ทางทะเลที่จัดตั้ง
ขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ
ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางทัศนียภาพ การดาเนินงานโดยใช้กฎหมายจัดตั้งและบริหารจัดการ”
3.วิธีการที่จะดาเนินการนี้เป็นวิธีการที่ง่ายที่เหมาะสมในการใช้ประเมินประสิทธิภาพการ
จัดการพื้นที่คุ้มครองของรัฐมากกว่าพื้นที่คุ้มครองของภาคเอกชนและสามารถที่จะนาไปปรับปรุงได้ ในการ
ใช้คาถามบางข้อต้องมีการปรับปรุงให้เหมาะสม
4.วิธีการนี้สามารถนาไปปรับใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ป่าไม้หรือทุ่ง
หญ้า หรือพื้นที่ชุ่มน้า โดยการปรับปรุงคาถามเสียใหม่ให้สอดคล้องกับพื้นที่ ปัจจุบันได้มีการปรับวิธีการ
สาหรับใช้กับระบบนิเวศทางทะเลด้วยแล้ว
5.วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองทั้ง 6 ประเภท (ที่จัดแบ่งโดยองค์กร IUCN)
โดยมีความเหมาะสมกับพื้นที่คุ้มครองประเภทที่ 1-4ได้เป็นอย่างดี ส่วนประเภทที่ 5 เรื่องของ Protected
Landscapes- Seascapesต้องการตัวชี้วัดที่ชัดเจน เข้าใจได้ง่ายและให้ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก และ
ประเภทที่ 6 Managed Resources ต้องการตัวชี้วัดด้านการจัดการให้มีหลักการและหลักเกณฑ์ที่ยังยืน
6.ผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในข้อมูล และคุ้นเคยกับ
ข้อมูลของพื้นที่เป็นอย่างดี
7.วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆได้ โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเอกชน หรือ
พื้นที่ที่จัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพียงอย่างเดียว การเก็บข้อมูลมีไม่มาก แต่รูปแบบของเครื่องมือที่กาหนด
ส่วนใหญ่จะใช้ได้ดีกับพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ และกว้างขวาง เช่นระดับกลุ่มป่า
8.ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลแต่ละพื้นที่สามารถนาไปเปรียบเทียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่
ได้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์คล้ายๆกัน ผู้ดาเนินการสามารถแยกเป็นกลุ่มๆได้ตามต้องการ
เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ( Management Effectiveness
Tracking Toolfor Protected Areas) เป็นวิธีการที่กาหนดขึ้นมาใช้ประเมินพื้นที่ในรูปแบบอย่างง่ายๆ และ
รวดเร็ว ขึ้นอยู่กับคาถามที่ต้องการที่เกี่ยวข้องกับกรอบการทางานตามแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง กาหนด
ขึ้นโดยองค์กร IUCN / WCPA กล่าวคือ จะประกอบด้วย กรอบของเนื้อหารายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง
(Context) การวางแผน (Planning) ปัจจัยนาเข้า (Inputs) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Outputs) และผลที่
ได้รับ(Outcomes)แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นหนักไปในเรื่องของเนื้อหา การวางแผน ปัจจัยนาเข้าและ
กระบวนการ วิธีการจะเป็นขั้นพื้นฐานและง่ายต่อการดาเนินงาน กลไกของการติดตามผลเพื่อต้องการจัดการ
ให้มีประสิทธิภาพตลอดเวลาได้ หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองหรือผู้จัดการพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานผู้ให้
การสนับสนุนสามารถนาไปวิเคราะห์ตามต้องการ ความสาคัญและความจาเป็นที่เร่งด่วนหรือการให้ระดับ
ความสาคัญ เพื่อที่จะได้ปรับปรุงให้มีการจัดการพื้นที่คุ้มครองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
- 4 -
สาหรับรายละเอียดของกรอบเนื้อหากระบวนการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่
คุ้มครองทั้งหกประการ ขึ้นอยู่กับผลที่ได้รับและแรงจูงใจ โดยพิจารณาตามขั้นตอนของกระบวนการดังนี้
1.เนื้อหา (Context) เป็ นการอธิบายถึงรายละเอียดของพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วไปที่
ประกอบด้วยคุณค่าที่มีความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม ภัยคุกคาม ความไม่
มั่นคงของพื้นที่คุ้มครอง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพแวดล้อมของการจัดการหรือนโยบายทางการเมือง
นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม
2.การวางแผน (Planning) จะประกอบด้วยวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ กฎหมายที่
เกี่ยวข้องและยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อการลดภัยคุกคาม
3.ปัจจัยที่นาเข้า (Inputs) เพื่อใช้ในการจัดการตามแผน เช่น พนักงานเจ้าหน้าที่
งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ตามแผน
4.กระบวนการ (Process) จะประกอบด้วยกระบวนการจัดการตามแผน เช่น พนักงาน
เจ้าหน้าที่ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องการใช้ตามแผน
5. ผลลัพธ์ (Outputs) หมายถึงผลลัพธ์ที่ได้รับตามแผนยุทธศาสตร์หรือแผนการจัดการ
จะประกอบไปด้วย การป้ องกัน ภัยคุกคาม การจัดการสัตว์ป่า การจัดการอย่างมีส่วนร่วม การปรับปรุงพื้นที่
คุ้มครอง การจัดการการท่องเที่ยว สิ่งก่อสร้าง การฝึกอบรม การวิจัยและการติดตามผล
6.ผลที่ได้รับ (Outcomes) หมายถึง ผลที่ได้รับจากการดาเนินงานตามกิจกรรมการจัดการ
ต่างๆ ดังกล่าวแล้ว ทาให้ภัยคุกคามลดลง
ตารางสรุปกรอบการประเมินประสิทธิภาพของพื้นที่คุ้มครอง ที่ดาเนินการโดย WCPA
ข้อที่ต้องการประเมิน คาอธิบาย หลักการการประเมินที่ต้องการ
จุดประสงค์ของการประเมิน
เพื่อต้องการทราบ
เนื้อหารายละเอียดพื้นที่
(Context)
ในปัจจุบันเราอยู่ที่ไหน
-จะประเมินถึงความสาคัญของ
ภัยคุกคาม นโยบาย และ
รายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง
- ความสาคัญ
- ภัยคุกคาม
- คุณค่า
- นโยบายของรัฐ
- ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
สถานภาพ
แผน (Planning) เราต้องการทาอะไรที่ไหน
-ประเมินถึงรูปแบบและแผน
จัดการของพื้นที่คุ้มครอง
-กฎหมายและนโยบายการจัดการ
พื้นที่คุ้มครอง
-รูปแบบการสงวน
-แผนการจัดการ
มีความเป็นไปได้ตามแผน
- 5 -
ข้อที่ต้องการประเมิน คาอธิบาย หลักการการประเมินที่ต้องการ
จุดประสงค์ของการประเมิน
เพื่อต้องการทราบ
ปัจจัยนาเข้า (Inputs) เราต้องการอะไรมาใช้ในการ
จัดการ
-ประเมินถึงความต้องการ
ทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการ
จัดการ
-แหล่งที่มาของทรัพยากร
-ที่ตั้ง
ทรัพยากรที่ต้องการใช้ใน
การจัดการ
กระบวนการ (Process) เรามีวิธีการทาอย่างไร
-ประเมินวิธีการทางานที่ให้
เป็นไปตามวิธีการจัดการ
-ความเหมาะสมของกระบวนการ
จัดการ
ประสิทธิภาพและความ
เป็นไปได้ตามแผน
ผลลัพธ์ (Outputs) ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร
-ประเมินการปฏิบัติงานตามแผน
โครงการจัดการกิจกรรมและ
ผลลัพธ์ที่ได้รับ
-ผลของกิจกรรมที่ได้มีการจัดการ
-การบริหารและผลิตผล
ประสิทธิภาพ
ผลที่ได้รับ (Outcomes) ผลที่ได้สนับสนุนมีอะไรบ้าง?
-ประเมินผลที่ได้รับและผล
ความสาเร็จตามเป้าหมายหรือไม่
ผลกระทบกับประสิทธิภาพของ
-การจัดการพื้นที่มีความสัมพันธ์
กับวัตถุประสงค์หรือไม่
ประสิทธิภาพและความ
เป็นไปได้ตามแผน
เป้ าหมายในการนาเครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพมาใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
1.เพื่อให้ผู้สนับสนุนและการประเมินผลด้านการใช้เงินงบประมาณในการลงทุนดูแลและ
จัดการพื้นที่คุ้มครอง
2.เพื่อปรับปรุงวิธีการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือปรับแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
3.เพื่อต้องการให้มีการตรวจสอบการทางานหรือความสามารถในการชี้แจงข้อมูลหรือใช้ใน
การให้เหตุผลที่สาคัญด้านการจัดการ
วัตถุประสงค์
เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มรองนี้มีวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้
ดังนี้
1.เพื่อใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นระบบ
2.มีความเหมาะสมในการกระทาซ้าได้หลายๆครั้งเพื่อตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน
3.สามารถดาเนินการสารวจความก้าวหน้าของงานปฏิบัติได้ตลอดเวลา
4.มีความรวดเร็วและง่ายต่อการดาเนินงานโดยใช้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ไม่ต้องมีความรู้
ความชานาญมากนัก
5.มีการใช้งบประมาณ และทรัพยากรไม่มากนัก
- 6 -
ประวัติการใช้เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพ
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก(WWF)ได้มีการกาหนดรูปแบบและนาเครื่องมือการประเมิน
ประสิทธิภาพมาใช้ตั้งแต่เดือนเมษายน 1998 เป็นต้นมา โดยนาไปใช้ในโครงการที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน
ประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) ให้การสนับสนุนด้าน
งบประมาณโดยเฉพาะพื้นที่ป่าที่ถูกคุกคามภายในพื้นที่คุ้มครอง กระบวนการของวิธีการได้มีการพัฒนาให้
ทันสมัยและง่ายต่อการใช้และได้มีการนาไปใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของ
โครงการที่อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF), The World Bankและ
UNDP/GEF ขณะเดียวกันเครื่องมือนี้ได้นาไปใช้ในโครงการที่ดาเนินการโดย IUCN/WCPA ด้วย
การปรับปรุงเครื่องมือนี้ได้มีการกระทาซ้าๆกันหลายครั้งภายใน3ปีที่ผ่านมาและได้เป็นที่
ยอมรับมาตั้งแต่ปี 2003 และมีการปรับปรุงให้ทันสมัยครั้งสุดท้ายเมื่อปี 2007 เพื่อให้มีความง่ายต่อการปฏิบัติ
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองได้นามาใช้ตามโครงการความ
ช่วยเหลือ และโครงการของรัฐบาลต่างๆมาแล้วไม่ต่ากว่า 85 ประเทศ โดยเฉพาะหน่วยงานที่สนับสนุน
งบประมาณต่อภาครัฐและเอกชน คือ The World Bank, มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) และGEF ซึ่ง
ปรากฏว่าใช้ได้ดีทาให้องค์กรดังกล่าวเลือกเอาวิธีการประเมินประสิทธิภาพมาใช้สาหรับโครงการที่ให้ความ
ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงานบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากและเป็นบรรทัดฐาน
เดียวกัน
มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) ได้นาเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการ
จัดการพื้นที่คุ้มครอง ที่เป็นพื้นที่ป่าไม้มาแล้วไม่ต่ากว่า 200 แห่ง ทั้งในยุโรปเอเชีย อาฟริกาและละติน
อเมริกา ในช่วงปี 2003/4 และมีรายงานการกระทาการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อติดตามความก้าวหน้าในช่วงปี
2005/6 The World Bank ก็ได้ใช้เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองในหลายๆโครงการที่ให้
ความช่วยเหลือในหลายประเทศ เช่น ประเทศโบลิเวีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและเอเชียกลาง The Global
Environment Fund หรือGEF ก็ได้นาเครื่องมือนี้ไปใช้ในหลายโครงการเช่นกันและเมื่อเร็วๆนี้ก็ได้มีการ
นาไปใช้ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย โดยได้มีการปรับปรุงให้สามารถใช้ได้พื้นที่คุ้มครองกับ
ประเทศดังกล่าว ขณะเดียวกันก็ได้มีการแปลและเรียบเรียงเป็นภาษาอื่นๆ เพื่อให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่
นั้นๆ เพื่อให้สอดคล้องกับโปรแกรมที่ดาเนินการโดยเฉพาะการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือดาเนินการประเมิน
ในระดับชาติของกลุ่มระบบนิเวศต่างๆ ซึ่งก็ได้มีการนาไปใช้ประเทศเกาหลี นามิเบีย แทนซาเนีย และ
บราซิล รวมแล้วไม่ต่ากว่า 1,500 ป่าอนุรักษ์
วิธีการนามาใช้ดาเนินการอย่างไร
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองได้ถูกออกแบบมาอย่างง่ายๆ และสามารถ
ดาเนินการได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณมาก คาถามต่างๆที่ได้กาหนดไว้ในแบบประเมินก็ไม่ยาก เข้าใจง่าย
พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้จัดการโครงการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่นสามารถ
- 7 -
ที่จะเข้าใจได้ง่าย คาตอบหรือคาอธิบายจะครอบคลุมถึงโครงการที่จะมีการปรับปรุง ข้อเสนอแนะและข้อมูล
ที่จะดาเนินการต่อไปการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองนี้จะมีการทาซ้าใน
พื้นที่ที่ต้องการประเมิน สามารถจะใช้ทีมงานเดิมดาเนินการก็ได้
- 8 -
คาอธิบายรายละเอียดในแบบประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครอง (ฉบับปรับปรุงเมื่อปี 2007)
และได้ปรับหรือแปลเป็นภาษาไทยและปรับให้เข้ากับสภาพท้องถิ่นของประเทศไทย
ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้
ตอนที่ 1.
เป็นรายละเอียดของข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองและการจัดการ ชื่อพื้นที่ ขนาด ที่ตั้ง
ประเภทของพื้นที่คุ้มครอง การประกาศตามกฎหมายการกาหนดให้เป็นพื้นที่คุ้มครองในระดับนานาชาติ
เช่น พื้นที่มรดกโลก พื้นที่สงวนชีวมณฑล หรือพื้นที่ชุ่มน้า วัตถุประสงค์การบริหารจัดการ พนักงาน
เจ้าหน้าที่และงบประมาณที่ได้รับ
ตอนที่ 2.
ข้อมูลที่เกี่ยวกับภัยคุกคาม
เป็นการวิเคราะห์ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง โดยมีตัวเลือกตามลาดับความรุนแรง
ที่กาหนดให้(สูง = เป็นภัยคุกคามที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองปานกลาง= เป็นภัย
คุกคามที่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองในบางส่วนต่า= เป็นภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นแต่ไม่
ส่งผลกระทบต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองมากนักและไม่มี = ไม่มีภัยคุกคามดังกล่าวในพื้นที่คุ้มครอง)
ข้อ 1.ถิ่นที่อาศัยและการพัฒนาทางด้านธุรกิจต่างๆในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก
ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์หรือพื้นที่ที่ไม่ได้เป็นการใช้เพื่อการเกษตรที่มีผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครองอย่างชัดเจน
(เฉพาะที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์)
ข้อ 2.กิจกรรมทางการเกษตรและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าภายในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคาม
ที่เกิดจากการขยายพื้นที่ที่ทาการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์การปลูกสร้างสวนป่า รวมถึงการเพราะเลี้ยงสัตว์น้า
ทั้งน้าจืดและน้าเค็ม
ข้อ 3.การผลิตพลังงานและการทาเหมืองแร่ภายในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก
การผลิตที่ไม่เป็นทรัพยากรชีวภาพ
ข้อ 4.การคมนาคมหรือเส้นทางสัญจรที่ตัดผ่านผืนป่าในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิด
จากการสร้างสาธารณูปโภคประเภทเส้นทางคมนาคมหรือเส้นทางสัญจรที่ตัดผ่านผืนป่าที่ส่งผลกระทบต่อ
การตายหรือรบกวนการเคลื่อนย้ายของสัตว์ป่า
ข้อ 5.การใช้และการทาลายทรัพยากรชีวภาพภายในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก
การล่า การเก็บหาหรือการใช้ทรัพยากร รวมถึงผลกระทบที่เกิดจากการกระทาด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ
เช่น ความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า
ข้อ 6.การรบกวนและการบุกรุกพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์
ที่ไปเปลี่ยนแปลง รบกวน บุกรุก ทาลายถิ่นที่อาศัย หรือชนิดพันธุ์ในพื้นที่คุ้มครอง
- 9 -
ข้อ 7.การเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติ เป็นภัยคุกคามจากกิจกรรมที่ไปเปลี่ยนแปลงสภาพ
ธรรมชาติ หรือถิ่นที่อาศัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ เช่น ไฟป่า เขื่อนพลังน้า เป็นต้น
ข้อ 8.ปัญหาการรุกรานและการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น เป็นภัยคุกคามจากการ
รุกรานของสัตว์บกหรือสัตว์น้าต่างถิ่นหรือพืชต่างถิ่น รวมถึงโรคร้ายที่นาพามาจากสัตว์หรือพืชต่างถิ่น ที่
อาจเกิดผลกระทบกับระบบนิเวศได้
ข้อ 9.มลพิษต่างๆ ที่ส่งผลกระทบกับผืนป่าในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากมลพิษ
ต่างๆ ที่มีผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครอง ทั้งๆที่เกิดจากในพื้นที่เอง หรือจากพื้นที่ภายนอก เช่น น้าเสียจาก
บ้านเรือน สิ่งปฏิกูล น้าเสียจากการเกษตร ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ หรือมลพิษทางเสียง
ข้อ 10.เหตุการณ์ทางธรณีวิทยา เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่ส่งผลกระทบกับ
ระบบนิเวศ ซึ่งจะเป็นการทาให้มีการเปลี่ยนแปลงหรือสูญหายไปหรือรบกวนระบบนิเวศ เช่น ภูเขาไฟ
ระเบิด แผ่นดินไหว สึนามิ ดินถล่ม เป็นต้น
ข้อ 11.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากสภาพการ
เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระยะยาวอาจจะเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน เช่นภัยแล้ง พายุ น้าท่วมเป็นต้น
ข้อ 12.ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมและสังคมเป็นภัยคุกคามที่เกิดขึ้นด้าน
วัฒนธรรมทางธรรมชาติ เช่น ภาพเขียนหน้าผา หรือสิ่งก่อสร้าง ก้อนหินขนาดใหญ่ตามแหล่งต่างๆ
ข้อ 13.ภัยคุกคามที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้เป็นภัยคุกคามที่อาจจะเกิดจาก
แผนงานโครงการ ที่ส่งผลกระทบกับระบบนิเวศอย่างรุนแรง เช่น เขื่อนพลังน้า เสาวิทยุ เสาโทรศัพท์ หรือ
สิ่งก่อสร้างอื่นๆ
ตอนที่ 3
แบบประเมินพื้นที่คุ้มครอง
ข้อ 1.สถานภาพทางกฎหมาย พื้นที่คุ้มครองได้มีการประกาศอย่างถูกต้องตามกฎหมาย
หรือไม่เป็นการประเมินประสิทธิภาพทางด้านเนื้อหารายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง (Context )
ข้อ 2.มีระเบียบปฏิบัติในพื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เพื่อใช้ในการควบคุมดูแลการกระทา
กิจกรรมต่างๆที่เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม เช่นการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า การตัดไม้ทาลายป่า การ
ยึดถือครอบครองที่ดินเป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Panning)
ข้อ 3.การบังคับใช้กฎหมายและระเบียบปฏิบัติพนักงานเจ้าหน้าที่สามารถบังคับใช้ได้ดี
หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการในพื้นที่คุ้มครอง (Inputs)
ข้อ 4.วัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นไป
ตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งขึ้นหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning)
ข้อ 5.รูปแบบและขนาดของพื้นที่คุ้มครองมีเพียงพอกับการดารงรักษา ถิ่นที่อาศัยของสัตว์
ป่าและพืชป่า ตลอดจนเป็นการรักษาแหล่งต้นน้าหรือไม่ อย่างไร เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผน
จัดการพื้นที่ (Planning)
- 10 -
ข้อ 6.พื้นที่คุ้มครองมีแนวเขตที่ชัดเจนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้าน
กระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 7. พื้นที่คุ้มครองมีแผนการจัดการหรือไม่ และมีการปฏิบัติตามแผนหรือไม่
กระบวนการวางแผนมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมดาเนินการหรือไม่ มีการทบทวนปรับปรุงแผนหรือไม่ และมี
การติดตามผล หรือวิจัย หรือประเมินผลมาปรับปรุงแผนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผน
จัดการพื้นที่ (Planning)
ข้อ 8. มีแผนการปฏิบัติการตามแผนงบประมาณประจาปี และสามารถดาเนินการได้ตาม
แผนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning) และผลลัพธ์ (Outputs)
ข้อ 9. มีข้อมูลพื้นฐานของทรัพยากรในพื้นที่คุ้มครองเพียงพอต่อการบริหารจัดการหรือไม่
เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการในพื้นที่คุ้มครอง (Inputs)
ข้อ 10. มีระบบการอนุญาตเข้า-ออกในพื้นที่คุ้มครองและควบคุมการใช้ทรัพยากรหรือไม่
เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้วยกระบวนการจัดการ (Process) และผลที่ได้รับ (Outcomes)
ข้อ 11. มีการศึกษาวิจัยเพื่อใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมิน
ประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 12. มีการจัดการทรัพยากรในพื้นที่มากน้อยเพียงใด เป็นการประเมินประสิทธิภาพ
ด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 13. มีจานวนพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเพียงพอหรือไม่ เป็ นการประเมิน
ประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่นาเข้าปฏิบัติการจัดการในพื้นที่ (Inputs)
ข้อ 14. พนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ด้านการบริหาร
จัดการพื้นที่คุ้มครองมากน้อยเพียงใดเป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่
(inputs) และกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 15. งบประมาณที่ได้รับในปัจจุบันเพียงพอต่อความต้องการหรือไม่ เป็นการประเมิน
ประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่นาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs)
ข้อ 16. งบประมาณที่ได้รับมีความมั่นคงหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่
นาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs)
ข้อ 17. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรสอดคล้องกับความต้องการในการจัดการหรือไม่เป็น
การประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (Process)
ข้อ 18. วัสดุครุภัณฑ์มีเพียงพอต่อความต้องการในด้านการจัดการหรือไม่เป็นการประเมิน
ประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs)
ข้อ 19. วัสดุครุภัณฑ์ที่มีอยู่ได้รับการบารุงรักษาหรือไม่เพียงใด เป็ นการประเมิน
ประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 20. มีกิจกรรมให้ความรู้และการสร้างความตระหนักที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารจัดการ
พื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
- 11 -
ข้อ 21. มีแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการพื้นที่
คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning)
ข้อ 22. ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินรอบๆพื้นที่คุ้มครองมีการให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่
หรือไม่เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 23. กลุ่มชาติพันธุ์มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจในการบริหาร
จัดการหรือไม่ (โดยเฉพาะกลุ่มชนที่ดารงชีวิตและมีวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอง และยังพึ่งพาทรัพยากรอยู่)
เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 24. ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการพื้นที่
คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 25. พื้นที่คุ้มครองมีส่วนช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนท้องถิ่นหรือไม่ เช่น การจ้างงานผู้
เป็นวิทยากร หรือนาทาง เป็นต้น เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านผลที่ได้รับ (Outcomes)
ข้อ 26. มีการติดตามและประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่
เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการ (Planning) และกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ 27. มีสิ่งอานวยความสะดวกและการให้บริการกับนักท่องเที่ยวเพียงพอหรือไม่
เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (Outputs)
ข้อ 28. ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวได้มีการช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง
หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
ข้อ29. ถ้ามีการเก็บค่าธรรมเนียม (ค่าเข้าพื้นที่หรือค่าปรับ) และค่าธรรมเนียมดังกล่าว
มีส่วนนามาใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้า
เพื่อปฏิบัติการ (Inputs) และกระบวนการจัดการ (Process )
ข้อ 30. คุณค่าของพื้นที่คุ้มครองในปัจจุบันมีความแตกต่างกันอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับ
ตอนแรกที่มีการบริหารจัดการพื้นที่มากน้อยเพียงใด มีการดาเนินการอย่างไร เป็นการประเมินประสิทธิภาพ
ผลที่ได้รับ (Outcomes)
การให้คะแนนและการวิเคราะห์
จากแบบฟอร์มประเมินผลทั้ง 30 ข้อ โดยใช้คะแนนแบ่งออกเป็น 4ระดับ (0, 1, 2, และ 3)
เพื่อให้ผู้ตอบสามารถเลือกตอบตามสถานการณ์ว่าจะยอมรับหรือไม่ยอมรับ
0 =มีค่าเท่ากับว่างานที่เกี่ยวข้องไม่มีความก้าวหน้า
1 =มีความก้าวหน้าบ้าง
2 =มีความก้าวหน้าค่อนข้างดีที่ยังสามารถปรับปรุงได้
3 =อยู่ในสภาพความก้าวหน้าดีมาก
ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประเมินตัดสินใจเลือกได้ตามความคิดเห็นของตนเอง นอกจากนี้ยังมีคาถามข้อย่อย
ภายใต้ข้อหลัก เพื่อต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมตามที่กาหนด คะแนนทั้งหมดที่ได้รับจะได้นามาทาการ
- 12 -
วิเคราะห์เพื่อวัดหาน้าหนักว่า ประสิทธิภาพของการดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งหกประการของกรอบ
การทางานมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด แนวโน้มการวิเคราะห์จะแสดงให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอ่อนของการ
จัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้
ผู้มีอานาจในการจัดการพื้นที่นาไปพิจารณาดาเนินการให้มีประสิทธิภาพต่อไปมีการดาเนินประเมิน
ประสิทธิภาพการจัดการซ้าหลังจากได้ดาเนินการตามแผนงานและงบประมาณที่จัดสรรเพิ่มเติมให้ใหม่เพื่อ
ดาเนินการในส่วนที่ยังขาดอยู่ จะได้เปรียบเทียบว่ามีประสิทธิภาพในการจัดการเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด
การวิเคราะห์ข้อมูล
ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นการ
ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์ จะเป็นการประเมินตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนการ
จัดการ ขั้นตอนการประเมินประสิทธิภาพมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการ เช่น
วิสัยทัศน์เป้าหมายวัตถุประสงค์ การประเมินสภาพแวดล้อม สถานภาพ ภัยคุกคามและปัจจัยภายนอกที่มีผล
ทาให้ไม่สามารถวัดผลได้ตามวัตถุประสงค์ ความเหมาะสมของแผนการจัดการ ปัจจัยด้านทรัพยากรที่นาเข้า
มาใช้ในการจัดการ กระบวนการจัดการ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองและ
ความสาเร็จของการจัดการ
ขอยกตัวอย่างการใช้เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพกับการจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
ประกอบด้วยพื้นที่คุ้มครองจานวน 8 แห่ง เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติ 5 แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 3 แห่ง
ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา – เขาวง อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติน้าตกพลิ้ว อุทยาน
แห่งชาติเขาสิบห้าชั้นอุทยานแห่งชาติน้าตกคลองแก้ว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์
ป่าเขาสอยดาวและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองเครือหวายเฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่รวมกันประมาณ 1,678,283
ไร่
ความสาคัญของพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกคือ เป็นแหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายของชนิด
พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่ก่อให้เกิดความสมดุลและเอื้อประโยชน์ให้แก่มนุษย์เช่นแหล่งอาหาร ยารักษาโรค
การป้ องกันการชะล้างพังทลายของดิน ป้ องกันน้าท่วมและมีน้าใช้อย่างสม่าเสมอตลอดปี ก่อให้เกิดการใช้
ประโยชน์ทางด้านนันทนาการและการท่องเที่ยว ทาให้เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจในท้องถิ่น และแหล่ง
เรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ
ปัญหาที่สาคัญของกลุ่มป่านี้คือ ขาดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและความไม่
มั่นคงของระบบนิเวศ คือ การแตกกระจายเป็นหย่อมป่า ทาให้สัตว์ป่าบางชนิดมีถิ่นที่อาศัยจากัดไม่สามารถ
เคลื่อนย้ายไปมาได้การบุกรุกพื้นที่เพื่อทาเป็นพื้นที่การเกษตร เช่นสวนยางพารา สวนผลไม้และพืชไร่ ฯลฯ
การลักลอบเก็บหาของป่าและการล่าสัตว์ป่า การเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่และปัญหาช้างป่าหรือสัตว์ป่าชนิดอื่น
ออกนอกพื้นที่คุ้มครอง เนื่องจากปริมาณอาหารและแหล่งน้ามีไม่เพียงพอ หรือสัตว์ป่าติดใจรสชาติพืช
- 13 -
เกษตร ปัญหาด้านการนันทนาการและการท่องเที่ยว ปริมาณนักท่องเที่ยวค่อนข้างจะเพิ่มมากขึ้นในฤดูการ
ท่องเที่ยว ทาให้เกิดผลกระทบกับการจัดการสิ่งอานวยความสะดวกมลพิษด้านขยะและน้าเสีย
กรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช ได้ว่าจ้างคณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดทาแผนการจัดการกลุ่มป่าตะวันออก เพื่อให้สามารถใช้เป็นแนวทางในการ
จัดการเชิงระบบนิเวศและการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ ต่อไป จาก
โครงการจัดทาแผนการจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกให้มีการกาหนดแผนงานออกเป็น 6 แผนงาน รวม 38
โครงการ
1. แผนงานจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ
เป็นแผนงานที่เน้นหนักไปในเรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตามแนวทางการจัดการ
พื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ โดยให้ความสาคัญกับการบริหารพื้นที่บนพื้นฐานข้อมูลทางวิชาการที่ทันสมัย
สอดคล้องและถูกต้อง การกาหนดโครงการจึงมีลักษณะของการสารวจเพื่อจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรโดย
ละเอียด โครงการฟื้นฟูหรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ การเชื่อมต่อของผืน
ป่าเพื่อให้ระบบนิเวศป่าไม้มีความมั่นคง สามารถดาเนินกิจกรรมและทาหน้าที่ได้อย่างสมดุลต่อเนื่อง
ประกอบด้วย 8 โครงการ
โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
1.1 โครงการจัดทาฐานข้อมูล
ชีวภาพและกายภาพ
- จัดสารวจและจัดทาฐานข้อมูล
พันธุ์พืช สัตว์ป่า ปฐพีวิยา
ธรณีวิทยา และการปรับปรุง
ข้อมูล
- มีข้อมูลความหลากหลายของ
พันธุ์พืช สัตว์ป่า และ
สิ่งแวดล้อม
1.2 โครงการพื้นฟูและจัดสร้าง
แหล่งน้าและแหล่งอาหารสาหรับ
สัตว์ป่าในพื้นที่คุ้มครอง
- จัดทาโป่งเทียม แหล่งน้า ปลูก
พืชอาหารสัตว์
- สัตว์ป่าใช้ประโยชน์จากโป่ง
เทียม แหล่งอาหารสัตว์ป่า
สัตว์ป่าออกไปนอกพื้นที่ลด
น้อยลง
1.3 โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟู
ประชากรสัตว์ป่าที่มีสถานภาพ
เฉพาะถิ่นสัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์และ
ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง
- นาข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมา
ใช้พิจารณาและการปล่อยสัตว์ป่า
คืนสู่ธรรมชาติ
- ประชากรสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น
1.4 โครงการจัดการพืชต่างถิ่นที่มี
แนวโน้มรุกรานระบบนิเวศ
- สารวจผลกระทบและหาแนว
ทางการควบคุมหรือกาจัด
- พืชต่างถิ่นลดน้อยลง
1.5 โครงการจัดทาแนวเชื่อมต่อ
ทางระบบนิเวศของกลุ่มป่า
- ศึกษาข้อมูลความเหมาะสม
ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ
-มีสัตว์ป่าใช้ประโยชน์จากแนว
เชื่อม
- 14 -
การฟื้นฟูระบบนิเวศ
1.6 โครงการจัดทาแนวเชื่อมต่อ
ทางนิเวศวิทยาระหว่างประเทศ
(กับประเทศกัมพูชา)
- ประสานความร่วมมือกับ
ประเทศกัมพูชา
- มีเอกสารความร่วมมือ
1.7 โครงการจัดตั้งเขตห้ามล่าสัตว์
ป่าเขาไผ่ - เขาป้อม
-สารวจประกาศจัดตั้งเขตห้ามล่า
สัตว์ป่า
-มี การประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
1.8 โครงการจัดการพื้นที่ป่ากันชน
รัศมี 2 ก.ม. ห่างจากแนวพื้นที่
คุ้มครอง
- สารวจพื้นที่ป่าไม้ฟื้นฟูป่า ดูแล
ป้องกัน
- มีข้อมูลป่าแนวกันชน
- มีการจัดการป่าแนวกันชน
2. แผนงานป้ องกันและปราบปราม
จากการวิเคราะห์ภัยคุกคามของกลุ่มป่าตะวันออกพบว่ามีปัญหาที่เกิดขึ้นหลายประการ เช่น
การบุกรุกพื้นที่เพื่อทาการเกษตร แนวเขตไม่ชัดเจนทาให้เกิดความขัดแย้งกับชุมชน มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน
ไม่เหมาะสม ราษฎรที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่มีการใช้ประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง เช่น การเก็บหาของป่า
การล่าสัตว์ป่า จึงมีแนวคิดในการจัดการพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนประกอบด้วย 4 โครงการ
โครงการ แนวทางในการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
2.1 โครงการจัดทาแนวเขตพื้นที่
คุ้มครองและพื้นที่ทากินโดยการมี
ส่วนร่วมของประชาชน
- ทาความเข้าใจกับชุมชน ปัก
หมุดหลักฐานตามแนวเขต / ปลูก
ต้นไม้
- พื้นที่คุ้มครองมีแนวเขตที่
ชัดเจน
2.2 โครงการติดตามการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน
อย่างต่อเนื่อง
- ศึกษาข้อมูล ติดตามการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์
ที่ดิน
- มีข้อมูลและแผนที่แสดงการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์
ที่ดิน
2.3 โครงการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์
และอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม
ประจาหมู่บ้าน
- จัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ อาสาสมัครพิ
ทักสิ่งแวดล้อมสาหรับชุมชนและ
มีการฝึกอบรม
- ประชาชนรอบกลุ่มป่าให้ความ
ร่วมมือใน การอนุรักษ์พื้นที่
คุ้มครอง
2.4 โครงการจัดตั้งชุดสายตรวจ
ลาดตระเวนพิเศษกลุ่มป่า
ตะวันออก
- จัดทาแผนลาดตะเวน
- จัดตั้งชุดสายตรวจพิเศษและมี
การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้
และทักษะ
- การกระทาผิดกฎหมายลดลง
- มีการร่วมมือของพนักงาน
เจ้าหน้าที่
- 15 -
3. แผนงานประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
บริเวณพื้นที่กลุ่มป่ าตะวันออก ชุมชนมีปัญหาความยากจนหลายแห่ง และพึ่งพิง
ทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ในพื้นที่คุ้มครองเพื่อการดารงชีวิต ส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมและขาดความ
สมดุลของระบบนิเวศในพื้นที่ชุมชนที่อาศัยอยู่รอบพื้นที่ก็มีอาชีพเก็บหาของป่า ประเภทพืชป่า เช่น เร่ว
กระวาน ผักกูด ผักหวาน หน่อไม้ เห็นสมควรให้มีการพัฒนาหรือส่งเสริมอาชีพ โดยการปลูกพืชป่าที่เป็น
อาหาร การส่งเสริมสร้างความตระหนักและให้มีความรู้ในการอนุรักษ์ รวมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการที่
ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือกลุ่มป่ าตะวันออก
ประกอบด้วย 8 โครงการ
โครงการ แนวทางการตาเนินงาน ตัวชี้วัด
3.1 โครงการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น
ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
- ประสานความร่วมมือกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์
- จัดตั้งหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ต้นแบบ
- มีการพัฒนาชุมชนตาม
แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง
และการสร้างเครือข่าย
3.2 โครงการเสริมการปลูกพืชป่า
ในพื้นที่เกษตร
- ส่งเสริมการปลูกพืชป่าในพื้นที่
เกษตร โดยประสานงานกับ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการ
จัดตั้งเครือข่าย
- ปัญหาการพึ่งพิงและเก็บหาพืช
ป่าลดลง
3.3 โครงการส่งเสริมและ
พัฒนาการมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร
ป่าไม้ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
โดยการจัดตั้ง PAC
- จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา
พื้นที่คุ้มครองกลุ่มป่าตะวันออก
กากับบทบาทและหน้าที่
รับผิดชอบ
- มีคาสั่งจัดตั้งคณะกรรมการที่
ปรึกษากลุ่มป่าตะวันออก
3.4 โครงการส่งเสริมการปลูกพืช
อาหารป่าบริเวณพื้นที่ป่าสงวน
แห่งชาติในเขตกันชน
- จัดทาโครงการอาสาสมัครนา
ร่องการปลูกพืชเลี้ยงปศุสัตว์ใน
พื้นที่แนวกันชน
- จานวนการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่
คุ้มครองลดลง
3.5 โครงการส่งเสริมคนรุ่นใหม่ใส่
ใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติใน
กลุ่มป่าตะวันออก
- จัดทาค่ายอนุรักษ์สาหรับ
เยาวชน
- จัดทาโปรแกรมการเรียนรู้
- การประชาสัมพันธ์
- จานวนเยาวชนเข้าร่วมโครงการ
- มีหลักสูตรการฝึกอบรม
- 16 -
3.6 โครงการมวลชนสัมพันธ์และ
ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้นา
ท้องถิ่นด้านการอนุรักษ์และการ
จัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก
- จัดเจ้าหน้าที่ทางานด้านมวลชน
สัมพันธ์
- ฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่
- จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์
- ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจ
การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
3.7 โครงการจัดตั้งป่าชุมชนใน
พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่า
ชุมชนรอบกลุ่มป่าตะวันออก
- คัดเลือกชุมชนเป้าหมาย
- มีการอบรมชุมชนเป้าหมาย
- มีความพร้อมในการจัดตั้งและ
จัดการป่าชุมชนและการ
ฝึกอบรม
3.8 โครงการกาหนดจุดผ่อนปรน
และแนวทางปฏิบัติในการเข้าทา
ประโยชน์ในพื้นที่กลุ่มป่า
ตะวันออก
- จัดทาแผนที่พื้นที่สวนยางพารา
ทาบัญชีรายชื่อเจ้าของและ
จานวนต้นยางพารา
- กาหนดข้อตกลงร่วมกันในการ
เข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่
- มีจุดผ่อนปรนเกิดขึ้น
- มีข้อตกลงร่วมกัน
4. แผนงานศึกษาวิจัย
เป็นแผนงานการศึกษาวิจัยถึงทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้
ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้พื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก ประกอบด้วย 4 โครงการ
โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
4.1 โครงการศึกษาปริมาณและ
คุณภาพน้า และปริมาณความ
ต้องการใช้น้าเพื่อ การบริหาร
จัดการทรัพยากรน้าในพื้นที่กลุ่ม
ป่าตะวันออก
- กาหนดจุดตรวจวัดน้าทั้ง
ปริมาณและคุณภาพ- --ข้อมูลการ
ใช้น้าของชุมชน
- มีข้อมูลปริมาณและคุณภาพน้า
4.2 โครงการศึกษาอิทธิพลของการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินต่อปริมาณ
และคุณภาพน้าในพื้นที่กลุ่มป่า
ตะวันออก
- กาหนดพื้นที่ลุ่มน้า
- การประเมินผลกระทบจากการ
ใช้พื้นที่ดิน
-มีรายงานผลการศึกษา
4.3 โครงการจัดการน้าเสียจากเขา
พระบาท
- ปรับปรุงการจัดการระบบน้า
เสียสิ่งปฏิกูลและขยะ
- มีการจัดการมลพิษที่ได้
มาตรฐานที่กาหนด
4.4 โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ
แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่าง
คนกับช้างป่าในพื้นที่
- รวบรวมปัญหาคนกับช้างป่า
- ปฏิบัติงานภาคสนาม
- ถอดบทเรียน
- ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคน
กับช้างป่าลดลง
- 17 -
5. แผนงานพัฒนาด้านนันทนาการและศึกษาธรรมชาติ
เป็นแผนงานเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว
การศึกษาธรรมชาติในพื้นที่ของประชาชนทั่วไปประกอบด้วย 10 โครงการ
โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
5.1 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบ
สื่อความหมาย
- จัดทาสื่อความหมาย
- การปรับปรุงเส้นทางศึกษา
ธรรมชาติ
- มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
- มีประชาชนเข้าใช้เส้นทาง
ศึกษาธรรมชาติ
- มีคู่มือเส้นทางศึกษาธรรมชาติ
5.2 โครงการปรับปรุงสิ่งอานวย
ความสะดวกสาหรับผู้สูงอายุและผู้
พิการ
- จัดจ้างสถาปนิกออกแบบสิ่ง
อานวยความสะดวก
- วางผังภูมิทัศน์
- มีผู้สูงอายุและผู้พิการเข้ามาใช้
สถานที่
5.3 โครงการศึกษาความเป็นไปได้
สาหรับการท่องเที่ยวสัตว์ป่าใน
พื้นที่รอยเชื่อมต่อ
- กาหนดแนวเชื่อมที่เหมาะสม
เป็นพื้นที่นาร่อง
- กาหนดระเบียบข้อบังคับ
- การปรับปรุงถิ่นที่อาศัย
- มีกิจกรรมการท่องเที่ยวด้าน
สัตว์ป่าในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ
5.4 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงอนุรักษ์และศึกษาธรรมชาติ
อย่างมีส่วนร่วม
- จัดทาแผนการบริหารจัดการ
การท่องเที่ยว
- สารวจศักยภาพรอบของชุมชน
- ฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้อง
- การมีส่วนร่วมของชุมชน
- เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น
5.5 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงเกษตรรอบพื้นที่คุ้มครอง
- ร่วมมือกับชุมชนใกล้เคียง
กาหนดรูปแบบและกิจกรรมการ
ท่องเที่ยวเชิงเกษตร
- การมีส่วนร่วมของชุมชน
- เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น
5.6 โครงการปรับปรุงกิจกรรมใน
แหล่งศึกษาธรรมชาติของเขตรักษา
พันธุ์สัตว์ป่า
- กาหนดพื้นที่และกิจกรรม
การศึกษาธรรมชาติ
- กาหนดระบบการจัดการผู้มา
เยือน
- มีแหล่งศึกษาธรรมชาติในพื้นที่
เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า
- มีกิจกรรมการศึกษาธรรมชาติ
5.7 โครงการปรับปรุงศูนย์บริการ
นักท่องเที่ยว
- จัดสถานที่ตั้งศูนย์บริการ
- จัดทาสื่อความหมายและจัดทา
นิทรรศการ
- มีจานวนนักท่องเที่ยวใช้บริการ
ศูนย์บริการเพิ่มขึ้น
- 18 -
โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
5.8 โครงการเพิ่มศักยภาพในการ
ดูแลและรักษาความปลอดภัย
นักท่องเที่ยวและการรับมือกับ
อุบัติภัย
- จัดทาระบบเตือนภัย
- ฝึกซ้อมการปฏิบัติงานของ
พนักงานเจ้าหน้าที่
- มีระบบเตือนภัย
- พนักงานเจ้าหน้าที่มีความ
พร้อมเพียงในการปฏิบัติการกู้ภัย
5.9 โครงการปรับปรุงผังบริเวณ
และสิ่งปลูกสร้างบริเวณเขาพระ
บาทพลวง
- จัดทาผังบริเวณ และวิเคราะห์
การใช้ประโยชน์มีผลกระทบกับ
ธรรมชาติ
- มีสิ่งก่อสร้างที่เหมาะสมและไม่
ก่อให้เกิดผลกระทบกับ
ธรรมชาติ
5.10 โครงการรณรงค์จัดการขยะ - รณรงค์ให้นักท่องเที่ยวลด
พฤติกรรมการสร้างขยะ
- กาหนดวิธีการกาจัดขยะ
- ปริมาณขยะลดลง
6. แผนงานบริหารจัดการ
เป็นแผนการพัฒนาบริหารจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก โดยเฉพาะการจัดตั้งหน่วยงาน
ปรับปรุงโครงสร้าง กาหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน พร้อมกับการจัดอัตรากาลังประจาพื้นที่ และการ
เพิ่มศักยภาพของพนักงานและเจ้าหน้าที่ และมีการจัดการประเมินผลการดาเนินงานในพื้นที่ ประกอบด้วย 3
โครงการ
โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด
6.1 โครงการจัดตั้งหน่วยงานและมี
การปรับโครงสร้างองค์กรบริหาร
กลุ่มป่าตะวันออกเชิงระบบนิเวศ
- จัดตั้งหน่วยงานบริหารกลุ่มป่า
- จัดกรอบอัตรากาลัง
- บริการจัดการพื้นที่เชิงระบบ
นิเวศ
- มีสถาบันหรือหน่วยงานบริหาร
กลุ่มป่าตะวันออก
- มีบุคลากรประจา
6.2 โครงการเพิ่มศักยภาพของ
บุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่กลุ่ม
ป่าตะวันออก
- สารวจวิเคราะห์ความต้องการ
เพิ่มศักยภาพ
- จัดทาแผน /การฝึกอบรม
- การศึกษาดูงาน
- พนักงานงานเจ้าหน้าที่มีความรู้
ความสามารถและปฏิบัติงานมี
ประสิทธิภาพ
6.3 โครงการติดตามและ
ประเมินผลตามแผนการจัดการ
กลุ่มป่าตะวันออก
- จัดทารายละเอียดกิจกรรมที่ต้อง
ปฏิบัติ
- จัดทาแผนการดาเนินงาน
- ระบบนิเวศ / ความหลากหลาย
ชีวภาพมีความมั่นคง
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT
เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT

More Related Content

What's hot

7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
Mint NutniCha
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
Auraphin Phetraksa
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
Mint NutniCha
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวpraphol
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
Nurat Puankhamma
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
UNDP
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
Somyot Ongkhluap
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
Green Greenz
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
Chacrit Sitdhiwej
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
Somyot Ongkhluap
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวสำเร็จ นางสีคุณ
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
Artitayamontree
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
UNDP
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
arphakornphetsamrit
 
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลกโครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลกพัน พัน
 
PES book
PES bookPES book
PES book
UNDP
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการpraphol
 

What's hot (20)

7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยวบทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
บทที่ ๒ บทบาทและความสำคัญของการท่องเที่ยว
 
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทยกฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
กฎหมายการท่องเที่ยวในประเทศไทย
 
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติCarrying  Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
Carrying Capacity ของพื้นที่อุทยานแห่งชาติ
 
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศหลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
หลักการและการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ
 
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม part 2
 
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถานกฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
กฎหมายเกี่ยวกับการท่องเที่ยวในเขตโบราณสถาน
 
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยวบุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
บุคลิกภาพ จรรยาบรรณและจริยธรรมทางวิชาชีพผู้นําเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยวแบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
แบบสอบถาม พฤติกรรมและทัศนคติของนักท่องเที่ยว
 
การท่องเที่ยว
การท่องเที่ยวการท่องเที่ยว
การท่องเที่ยว
 
Ecological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in ThailandEcological Corridor in Thailand
Ecological Corridor in Thailand
 
Worldheritages asean
Worldheritages aseanWorldheritages asean
Worldheritages asean
 
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลกโครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
โครงการจิตอาสาปลูกป่าช่วยโลก
 
PES book
PES bookPES book
PES book
 
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการบทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
บทที่ ๓ ระบบการท่องเที่ยวและองค์ประกอบของอุตสาหกรรมการ
 
T guide1
T guide1T guide1
T guide1
 

Viewers also liked

สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค
UNDP
 
Financial Sustainability Scorecard (Thai)
Financial Sustainability Scorecard (Thai)Financial Sustainability Scorecard (Thai)
Financial Sustainability Scorecard (Thai)
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
UNDP
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
UNDP
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
UNDP
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
Bau Toom
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240CUPress
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
Taraya Srivilas
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
Pongsatorn Sirisakorn
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงDaungthip Pansomboon
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
UNDP
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
Auraphin Phetraksa
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
UNDP
 
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
UNDP
 
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv209 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
UNDP
 
05 Viet nam country report presentation
05 Viet nam country report presentation05 Viet nam country report presentation
05 Viet nam country report presentation
UNDP
 
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood faoUNDP
 
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-208 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2UNDP
 

Viewers also liked (20)

สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค สรุปประเด็นทางเทคนิค
สรุปประเด็นทางเทคนิค
 
Financial Sustainability Scorecard (Thai)
Financial Sustainability Scorecard (Thai)Financial Sustainability Scorecard (Thai)
Financial Sustainability Scorecard (Thai)
 
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
ข้อเสนอแนะแนวทางโดยใช้สื่อต่างๆ
 
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
คู่มือการฝึกอบรม เครื่องมือติดตาม
 
FSS book
FSS bookFSS book
FSS book
 
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทยการวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
การวิเคราะห์ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองไทย
 
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
ข้อเสนอแนะแนวทางการวิเคราะห์ภัยคุกคามในพื้นที่คุ้มครอง
 
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุงงานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
งานนำเสนอ ความขัดแย้ง ปรับปรุง
 
9789740330240
97897403302409789740330240
9789740330240
 
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทยการทุจริตอรัปชั่นของไทย
การทุจริตอรัปชั่นของไทย
 
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
คำศัพท์ภัยพิบัติ 2014
 
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงเอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
เอกสารเรื่องเศรษฐกิจพอเพียง
 
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการกลุ่มป่าเชิงระบบนิเวศ
 
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
T-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่างT-FERN  มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม  สุขสว่าง
T-FERN มูลค่านันทนาการป่าตะวันออก โดย ดร.ทรงธรรม สุขสว่าง
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
Reef guardian to PES (Payment Ecosystem Service)
 
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv209 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
09 chamniern rosewood dialogue 18 12-14 iucnpcv2
 
05 Viet nam country report presentation
05 Viet nam country report presentation05 Viet nam country report presentation
05 Viet nam country report presentation
 
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao
00 bruno regional review of illegal trading of siamese rosewood fao
 
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-208 georg bois de rose bankgkok 2014-2
08 georg bois de rose bankgkok 2014-2
 

Similar to เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT

บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
Tonkaow Jb
 
Action plan
Action planAction plan
Eva plan
Eva planEva plan
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
Ptato Ok
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555Nattapon
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
nongponthip10
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”Justice MengKing
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
reraisararat
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการkulachai
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 

Similar to เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT (12)

บทที่ 1 5
บทที่ 1 5บทที่ 1 5
บทที่ 1 5
 
Action plan
Action planAction plan
Action plan
 
Eva plan
Eva planEva plan
Eva plan
 
KM Handbook
KM HandbookKM Handbook
KM Handbook
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
ประเมินโครงการตลาดนัดอาชีพ ปี 2555
 
Vision 1
Vision 1Vision 1
Vision 1
 
รายงาน
รายงานรายงาน
รายงาน
 
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
ใบงานที่ 8 เรื่อง โครงงานประเภท “การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์”
 
แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2แผนกลยุทธ 2
แผนกลยุทธ 2
 
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการการบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
การบูรณาการเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาสนับสนุนการบริหารจัดการ
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 

More from UNDP

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
UNDP
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
UNDP
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
UNDP
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
UNDP
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
UNDP
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
UNDP
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
UNDP
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
UNDP
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
UNDP
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
UNDP
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
UNDP
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
UNDP
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
UNDP
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
UNDP
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
UNDP
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
UNDP
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
UNDP
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
UNDP
 

More from UNDP (20)

Dance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdfDance for Peace.pdf
Dance for Peace.pdf
 
Good personality
Good personalityGood personality
Good personality
 
Self Massage#1
Self Massage#1Self Massage#1
Self Massage#1
 
Protected Area book
Protected Area bookProtected Area book
Protected Area book
 
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครองการพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการที่ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง
 
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็งเทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
เทคนิคในการเสริมสร้างความเข้มแข็ง
 
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
เทคนิคแนวทางการสร้างการมีส่วนร่วม
 
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศแนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
แนวทางการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการแนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
แนวทางในการดำเนินงานค่าแทนคุณระบบนิเวศอย่างบูรณาการ
 
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศการวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
การวิเคราะห์ทางเลือกในการดูงานต้นแบบกองทุนค่าแทนคุณระบบนิเวศ
 
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
แนวทางการใช้เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์
 
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมายข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
ข้อเสนอแนะการบังคับใช้กฎหมาย
 
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงินคู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
คู่มือการฝึกอบรมการประเมินความยั่งยืนด้านการเงิน
 
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์ แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
แนวทางในการจัดตั้งและการบริหารกองทุนเพื่อการอนุรักษ์
 
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณแนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
แนวทางการประเมินเงินงบประมาณ
 
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุนการวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
การวิเคราะห์แหล่งเงินทุน
 
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการจัดทำแผนธุรกิจพื้นที่คุ้มครอง
 
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
การเสริมสร้างศักยภาพขององค์กรและบุคคล เพื่อประสิทธิภาพที่เพิ่มขึ้นในการจัดการ...
 
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
แนวทางการประเมิน เพื่อการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กร เพื่อการจัดการพื้นที...
 
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครองแนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
แนวทางในการพัฒนาศักยภาพบุคลากร เพื่อการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
 

เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพ : METT

  • 1.
  • 2. คานา การดาเนินงานบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหลายๆแห่งทั่วโลกในปัจจุบัน พบว่าการ ดาเนินงานไม่เป็นไปตามเป้ าหมายของวัตถุประสงค์ ข้อมูลเหล่านี้สามารถทราบได้จากการประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองโดยใช้เครื่องมือที่เรียกว่า Management Effectiveness Tracking Tool หรือ METTหน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องไม่ว่าจะเป็น WCPA,WWF UNDP/GEFหรือ The World Bank ได้มี การนาเอาแบบการประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองมาใช้เป็นเครื่องมือประเมินผลโครงการที่หน่วยงาน ดังกล่าวสนับสนุนด้านงบประมาณ หรือปัจจัยนาเข้าอื่นๆที่ใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง พร้อมกับพัฒนา รูปแบบการประเมินให้เหมาะสมกับท้องที่ที่ตั้งของพื้นที่คุ้มครองหรือของแต่ละประเทศ ทั้งนี้ IUCN/WCPAได้กาหนดเครื่องมือในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง และให้มีมาตรฐาน และสามารถใช้ได้ในทุกๆพื้นที่ทั่วโลก กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช ได้รับงบประมาณจากองค์กร UNDP/GEFใน โครงการเร่งเสริมความยั่งยืนของระบบพื้นที่คุ้มครอง(Catalyzing Sustainability of Thailand s Protected Areas :CATSPA)โดยมีเป้าหมายเพื่อขจัดปัญหาอุปสรรคต่อความยั่งยืนในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โดยมุ่งเน้น การพัฒนาระบบด้านงบประมาณ และประสิทธิภาพในการจัดการ โดยมีระยะเวลาดาเนินการโครงการ 4 ปี (2554-2558)ตามแผนงาน/กิจกรรมกาหนดให้มีการพัฒนารูปแบบระบบฐานข้อมูลเพื่อการจัดการและติดตาม ประเมินผลตลอดจนการประยุกต์ใช้เครื่องมือเทคนิคต่างๆ เช่นMETTนี้ที่โครงการUNDP/GEFกาหนดให้ใช้ เป็นกรอบในการดาเนินงานของโครงการ CATSPA ดังกล่าว ในปัจจุบันกรอบการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของIUCN/WCPAเป็น รูปแบบที่มีมาตรฐาน เป็นกรอบการปฏิบัติในพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วไป ที่ประกอบด้วยรายละเอียดของพื้นที่ คุณค่าและภัยคุกคาม กระบวนการวางแผนทุกกิจกรรม ทรัพยากรที่นามาใช้และกิจกรรมที่ได้ดาเนินการ บริหารจัดการ ผลลัพธ์ที่ได้รับตามกิจกรรมและผลประโยชน์ที่ได้รับเป็นวิธีการที่ดาเนินการได้ง่าย รวดเร็ว ตลอดจนผู้ที่นาไปใช้ไม่จาเป็นต้องใช้บุคลากรที่มีความรู้ความชานาญมากนักและไม่จาเป็นต้องใช้ งบประมาณมาก ผลสรุปจากการประเมินจะได้นาไปวิเคราะห์จุดอ่อนจุดแข็งของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้สามารถแก้ไขการบริหารจัดการในส่วนที่ยังไม่ดีพอให้ดีขึ้นหรือมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป ทั้งนี้หวังว่าเครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองนี้จะเป็นเครื่องมือ มาตรฐานในการใช้ติดตามประเมินประสิทธิภาพของพื้นที่คุ้มครองที่เป็นเป้าหมายของโครงการและสามารถ นาไปใช้ในพื้นที่คุ้มครองอื่นๆต่อไป ทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง
  • 3. - 1 - เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ( Management Effectiveness Tracking Tool for Protected Areas) โดย นายทวี หนูทอง ที่ปรึกษาด้านการจัดการพื้นที่คุ้มครอง โครงการ CATSPA -------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นวิธีการค้นหาข้อมูลจากการ ปฏิบัติงานตามแผนงาน เพื่อให้ผู้บริหารหรือผู้กากับนโยบายใช้ในการพิจารณาสนับสนุนให้การปฏิบัติงาน เป็นไปตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองของแต่ละประเทศหรือภูมิภาคให้มี ประสิทธิภาพ หลักการพิจารณาการดาเนินงานจะประกอบไปด้วย การวิเคราะห์จุดอ่อน จุดแข็งของ การจัดการพื้นที่คุ้มครองการวิเคราะห์ของเขตความรุนแรงและการกระจายของภัยคุกคาม การวิเคราะห์ ขอบเขตของพื้นที่อนุรักษ์ต่างๆที่มีความสาคัญและมีคุณค่าของระบบนิเวศ เศรษฐกิจและสังคม มีการกาหนด แนวทางการดาเนินงานตามระดับความสาคัญของการจัดการหรือความจาเป็นเร่งด่วนในการแก้ไขปัญหา เทคนิคการพัฒนาในด้านต่างๆตามความสาคัญของนโยบายและแผนการติดตามผลขั้นตอนเพื่อสนับสนุน การจัดการพื้นที่คุ้มครองให้มีประสิทธิภาพ ในการดาเนินงานตามแผนงานเพื่อประเมินประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครอง สามารถดาเนินการได้โดยวิธีการสัมภาษณ์ การประชุมเชิงปฏิบัติการในส่วนกลางหรือการประชุมเชิง ปฏิบัติการในพื้นที่ เพื่อให้ผู้เข้าประชุมที่ประกอบด้วยหัวหน้าหน่วยระดับพื้นที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ประจา ผู้ กากับนโยบายและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้เข้ามาให้ข้อคิดเห็น วิเคราะห์ผลและจัดลาดับความสาคัญของ กิจกรรม ซึ่งการดาเนินงานของผู้ที่จะดาเนินการประเมินจะประกอบด้วย 5 ขั้นตอน กล่าวคือ (1)ขั้นตอนการพิจารณาขอบเขตการประเมินประสิทธิภาพ (2)การประเมินผลจากข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน (3) การกาหนดแบบสอบถามที่ใช้ในการประเมิน (4) การวิเคราะห์ข้อมูล (5) การวิเคราะห์กิจกรรมที่จะดาเนินการต่อไปพร้อมกับข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ การประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นการปฏิบัติตามแผนยุทธศาสตร์ จะ เป็นการประเมินตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนและขั้นตอนในการประเมินประสิทธิภาพมีความแตกต่าง กันไปขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการจะประกอบด้วย 1.วิสัยทัศน์ เป้าหมายและวัตถุประสงค์ที่กาหนดให้โครงการบรรลุผลที่กาหนดไว้ 2.การประเมินผลสภาพแวดล้อม สถานภาพ ภัยคุกคามและปัจจัยภายนอกที่มีผลทาให้ไม่ บรรลุผลตามวัตถุประสงค์ 3.การประเมินผลความเหมาะสมของแผนและการจัดการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์
  • 4. - 2 - 4.การประเมินผลด้านทรัพยากรต่างๆที่นามาใช้ในการจัดการ 5.การประเมินผลด้านกระบวนการการจัดการที่เป็นไปหรือสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ 6.การประเมินผลความสาเร็จที่เกิดขึ้น 7.ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับระบบการจัดการพื้นที่คุ้มครอง เช่น การลดลงของพื้นที่คุ้มครอง การปฏิบัติตาม วัตถุประสงค์ ประสบความสาเร็จ หรือไม่ กรอบกระบวนการปฏิบัติงานตามเป้ าหมายและวัตถุประสงค์ สมมุติฐาน วิธีการที่จะดาเนินการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง จะขึ้นอยู่กับข้อ สมมุติฐาน ซึ่งได้กาหนดไว้ดังนี้ 1.บทบาทหน้าที่ของผู้ทาการประเมินประสิทธิภาของพื้นที่คุ้มครองเปรียบเสมือนการ ทางานที่อยู่ในอากาศที่ว่างเปล่าคุณค่าของข้อมูลจะขึ้นอยู่กับความพึงพอใจของหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ ผู้บริหารและผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย อากาศที่ว่างเปล่าเปรียบเสมือนว่าเป็นช่องว่างในการรับข้อมูลที่บุคคล ดังกล่าวจัดหาให้และผลลัพธ์ที่ได้ วิสัยทัศน์ เป้าหมายและ วัตถุประสงค์ การประเมินผล และสิ่งสะท้อนให้ เห็น สภาพแวดล้อม และสถานภาพ ผลที่ได้รับ การวางแผน และรูปแบบ ผลลัพธ์ของการ จัดการ เครื่องมือ วัสดุอุปกรณ์ กระบวนการ จัดการ เราต้องการทราบอะไร วัตถุประสงค์ที่กาหนดกระบวนการจัดการเป็นไปตาม วัตถุประสงค์หรือไม่ มีปัจจัยภายนอก อะไรบ้างที่มากระทบ กับวัตถุประสงค์ จุดอ่อน จุดแข็ง ของแผนยุทธศาสตร์ ผลลัพธ์เป็นไป ตามวัตถุประสงค์ หรือไม่ แผนการ สนับสนุน วัตถุประสงค์
  • 5. - 3 - 2.ต้องยอมรับว่าบทนิยามของพื้นที่คุ้มครอง หมายถึง “พื้นที่ดินและพื้นที่ทางทะเลที่จัดตั้ง ขึ้นเพื่อเป็นการป้ องกันและบารุงรักษาความหลากหลายทางชีวภาพ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติและ ทรัพยากรทางวัฒนธรรมและคุณค่าทางทัศนียภาพ การดาเนินงานโดยใช้กฎหมายจัดตั้งและบริหารจัดการ” 3.วิธีการที่จะดาเนินการนี้เป็นวิธีการที่ง่ายที่เหมาะสมในการใช้ประเมินประสิทธิภาพการ จัดการพื้นที่คุ้มครองของรัฐมากกว่าพื้นที่คุ้มครองของภาคเอกชนและสามารถที่จะนาไปปรับปรุงได้ ในการ ใช้คาถามบางข้อต้องมีการปรับปรุงให้เหมาะสม 4.วิธีการนี้สามารถนาไปปรับใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ป่าไม้หรือทุ่ง หญ้า หรือพื้นที่ชุ่มน้า โดยการปรับปรุงคาถามเสียใหม่ให้สอดคล้องกับพื้นที่ ปัจจุบันได้มีการปรับวิธีการ สาหรับใช้กับระบบนิเวศทางทะเลด้วยแล้ว 5.วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองทั้ง 6 ประเภท (ที่จัดแบ่งโดยองค์กร IUCN) โดยมีความเหมาะสมกับพื้นที่คุ้มครองประเภทที่ 1-4ได้เป็นอย่างดี ส่วนประเภทที่ 5 เรื่องของ Protected Landscapes- Seascapesต้องการตัวชี้วัดที่ชัดเจน เข้าใจได้ง่ายและให้ชุมชนมีส่วนร่วมเป็นอย่างมาก และ ประเภทที่ 6 Managed Resources ต้องการตัวชี้วัดด้านการจัดการให้มีหลักการและหลักเกณฑ์ที่ยังยืน 6.ผู้บริหารและหัวหน้าหน่วยงานพื้นที่ต้องมีความรู้ความเข้าใจในข้อมูล และคุ้นเคยกับ ข้อมูลของพื้นที่เป็นอย่างดี 7.วิธีการนี้สามารถนาไปใช้กับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆได้ โดยเฉพาะพื้นที่ที่เป็นเอกชน หรือ พื้นที่ที่จัดตั้งโดยมีวัตถุประสงค์เพียงอย่างเดียว การเก็บข้อมูลมีไม่มาก แต่รูปแบบของเครื่องมือที่กาหนด ส่วนใหญ่จะใช้ได้ดีกับพื้นที่ที่มีขนาดใหญ่ และกว้างขวาง เช่นระดับกลุ่มป่า 8.ประโยชน์ของการใช้ข้อมูลแต่ละพื้นที่สามารถนาไปเปรียบเทียบกับพื้นที่คุ้มครองอื่นๆ ที่ ได้ดาเนินการตามวัตถุประสงค์คล้ายๆกัน ผู้ดาเนินการสามารถแยกเป็นกลุ่มๆได้ตามต้องการ เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครอง ( Management Effectiveness Tracking Toolfor Protected Areas) เป็นวิธีการที่กาหนดขึ้นมาใช้ประเมินพื้นที่ในรูปแบบอย่างง่ายๆ และ รวดเร็ว ขึ้นอยู่กับคาถามที่ต้องการที่เกี่ยวข้องกับกรอบการทางานตามแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง กาหนด ขึ้นโดยองค์กร IUCN / WCPA กล่าวคือ จะประกอบด้วย กรอบของเนื้อหารายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง (Context) การวางแผน (Planning) ปัจจัยนาเข้า (Inputs) กระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Outputs) และผลที่ ได้รับ(Outcomes)แต่ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นหนักไปในเรื่องของเนื้อหา การวางแผน ปัจจัยนาเข้าและ กระบวนการ วิธีการจะเป็นขั้นพื้นฐานและง่ายต่อการดาเนินงาน กลไกของการติดตามผลเพื่อต้องการจัดการ ให้มีประสิทธิภาพตลอดเวลาได้ หัวหน้าพื้นที่คุ้มครองหรือผู้จัดการพื้นที่คุ้มครอง หน่วยงานผู้ให้ การสนับสนุนสามารถนาไปวิเคราะห์ตามต้องการ ความสาคัญและความจาเป็นที่เร่งด่วนหรือการให้ระดับ ความสาคัญ เพื่อที่จะได้ปรับปรุงให้มีการจัดการพื้นที่คุ้มครองมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 6. - 4 - สาหรับรายละเอียดของกรอบเนื้อหากระบวนการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ คุ้มครองทั้งหกประการ ขึ้นอยู่กับผลที่ได้รับและแรงจูงใจ โดยพิจารณาตามขั้นตอนของกระบวนการดังนี้ 1.เนื้อหา (Context) เป็ นการอธิบายถึงรายละเอียดของพื้นที่คุ้มครองโดยทั่วไปที่ ประกอบด้วยคุณค่าที่มีความสาคัญของความหลากหลายทางชีวภาพ เศรษฐกิจและสังคม ภัยคุกคาม ความไม่ มั่นคงของพื้นที่คุ้มครอง ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สภาพแวดล้อมของการจัดการหรือนโยบายทางการเมือง นโยบายการจัดการสิ่งแวดล้อมและนโยบายด้านสิ่งแวดล้อม 2.การวางแผน (Planning) จะประกอบด้วยวิสัยทัศน์ เป้ าหมาย วัตถุประสงค์ กฎหมายที่ เกี่ยวข้องและยุทธศาสตร์การจัดการเพื่อการลดภัยคุกคาม 3.ปัจจัยที่นาเข้า (Inputs) เพื่อใช้ในการจัดการตามแผน เช่น พนักงานเจ้าหน้าที่ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ใช้ตามแผน 4.กระบวนการ (Process) จะประกอบด้วยกระบวนการจัดการตามแผน เช่น พนักงาน เจ้าหน้าที่ งบประมาณ เครื่องมืออุปกรณ์ที่ต้องการใช้ตามแผน 5. ผลลัพธ์ (Outputs) หมายถึงผลลัพธ์ที่ได้รับตามแผนยุทธศาสตร์หรือแผนการจัดการ จะประกอบไปด้วย การป้ องกัน ภัยคุกคาม การจัดการสัตว์ป่า การจัดการอย่างมีส่วนร่วม การปรับปรุงพื้นที่ คุ้มครอง การจัดการการท่องเที่ยว สิ่งก่อสร้าง การฝึกอบรม การวิจัยและการติดตามผล 6.ผลที่ได้รับ (Outcomes) หมายถึง ผลที่ได้รับจากการดาเนินงานตามกิจกรรมการจัดการ ต่างๆ ดังกล่าวแล้ว ทาให้ภัยคุกคามลดลง ตารางสรุปกรอบการประเมินประสิทธิภาพของพื้นที่คุ้มครอง ที่ดาเนินการโดย WCPA ข้อที่ต้องการประเมิน คาอธิบาย หลักการการประเมินที่ต้องการ จุดประสงค์ของการประเมิน เพื่อต้องการทราบ เนื้อหารายละเอียดพื้นที่ (Context) ในปัจจุบันเราอยู่ที่ไหน -จะประเมินถึงความสาคัญของ ภัยคุกคาม นโยบาย และ รายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง - ความสาคัญ - ภัยคุกคาม - คุณค่า - นโยบายของรัฐ - ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย สถานภาพ แผน (Planning) เราต้องการทาอะไรที่ไหน -ประเมินถึงรูปแบบและแผน จัดการของพื้นที่คุ้มครอง -กฎหมายและนโยบายการจัดการ พื้นที่คุ้มครอง -รูปแบบการสงวน -แผนการจัดการ มีความเป็นไปได้ตามแผน
  • 7. - 5 - ข้อที่ต้องการประเมิน คาอธิบาย หลักการการประเมินที่ต้องการ จุดประสงค์ของการประเมิน เพื่อต้องการทราบ ปัจจัยนาเข้า (Inputs) เราต้องการอะไรมาใช้ในการ จัดการ -ประเมินถึงความต้องการ ทรัพยากรที่จะต้องใช้ในการ จัดการ -แหล่งที่มาของทรัพยากร -ที่ตั้ง ทรัพยากรที่ต้องการใช้ใน การจัดการ กระบวนการ (Process) เรามีวิธีการทาอย่างไร -ประเมินวิธีการทางานที่ให้ เป็นไปตามวิธีการจัดการ -ความเหมาะสมของกระบวนการ จัดการ ประสิทธิภาพและความ เป็นไปได้ตามแผน ผลลัพธ์ (Outputs) ผลลัพธ์ที่ได้เป็นอย่างไร -ประเมินการปฏิบัติงานตามแผน โครงการจัดการกิจกรรมและ ผลลัพธ์ที่ได้รับ -ผลของกิจกรรมที่ได้มีการจัดการ -การบริหารและผลิตผล ประสิทธิภาพ ผลที่ได้รับ (Outcomes) ผลที่ได้สนับสนุนมีอะไรบ้าง? -ประเมินผลที่ได้รับและผล ความสาเร็จตามเป้าหมายหรือไม่ ผลกระทบกับประสิทธิภาพของ -การจัดการพื้นที่มีความสัมพันธ์ กับวัตถุประสงค์หรือไม่ ประสิทธิภาพและความ เป็นไปได้ตามแผน เป้ าหมายในการนาเครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพมาใช้ในการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 1.เพื่อให้ผู้สนับสนุนและการประเมินผลด้านการใช้เงินงบประมาณในการลงทุนดูแลและ จัดการพื้นที่คุ้มครอง 2.เพื่อปรับปรุงวิธีการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือปรับแผนการจัดการพื้นที่คุ้มครอง 3.เพื่อต้องการให้มีการตรวจสอบการทางานหรือความสามารถในการชี้แจงข้อมูลหรือใช้ใน การให้เหตุผลที่สาคัญด้านการจัดการ วัตถุประสงค์ เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มรองนี้มีวัตถุประสงค์ที่กาหนดไว้ ดังนี้ 1.เพื่อใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่เป็นระบบ 2.มีความเหมาะสมในการกระทาซ้าได้หลายๆครั้งเพื่อตรวจสอบผลการปฏิบัติงาน 3.สามารถดาเนินการสารวจความก้าวหน้าของงานปฏิบัติได้ตลอดเวลา 4.มีความรวดเร็วและง่ายต่อการดาเนินงานโดยใช้พนักงานเจ้าหน้าที่ที่ไม่ต้องมีความรู้ ความชานาญมากนัก 5.มีการใช้งบประมาณ และทรัพยากรไม่มากนัก
  • 8. - 6 - ประวัติการใช้เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพ มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก(WWF)ได้มีการกาหนดรูปแบบและนาเครื่องมือการประเมิน ประสิทธิภาพมาใช้ตั้งแต่เดือนเมษายน 1998 เป็นต้นมา โดยนาไปใช้ในโครงการที่เกี่ยวข้องกับการประเมิน ประสิทธิภาพของการจัดการพื้นที่คุ้มครองที่มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) ให้การสนับสนุนด้าน งบประมาณโดยเฉพาะพื้นที่ป่าที่ถูกคุกคามภายในพื้นที่คุ้มครอง กระบวนการของวิธีการได้มีการพัฒนาให้ ทันสมัยและง่ายต่อการใช้และได้มีการนาไปใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองของ โครงการที่อยู่ภายใต้การสนับสนุนของ มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF), The World Bankและ UNDP/GEF ขณะเดียวกันเครื่องมือนี้ได้นาไปใช้ในโครงการที่ดาเนินการโดย IUCN/WCPA ด้วย การปรับปรุงเครื่องมือนี้ได้มีการกระทาซ้าๆกันหลายครั้งภายใน3ปีที่ผ่านมาและได้เป็นที่ ยอมรับมาตั้งแต่ปี 2003 และมีการปรับปรุงให้ทันสมัยครั้งสุดท้ายเมื่อปี 2007 เพื่อให้มีความง่ายต่อการปฏิบัติ เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองได้นามาใช้ตามโครงการความ ช่วยเหลือ และโครงการของรัฐบาลต่างๆมาแล้วไม่ต่ากว่า 85 ประเทศ โดยเฉพาะหน่วยงานที่สนับสนุน งบประมาณต่อภาครัฐและเอกชน คือ The World Bank, มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) และGEF ซึ่ง ปรากฏว่าใช้ได้ดีทาให้องค์กรดังกล่าวเลือกเอาวิธีการประเมินประสิทธิภาพมาใช้สาหรับโครงการที่ให้ความ ช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อให้การดาเนินงานบริหารจัดการมีประสิทธิภาพมากและเป็นบรรทัดฐาน เดียวกัน มูลนิธิคุ้มครองสัตว์ป่าโลก (WWF) ได้นาเครื่องมือนี้ไปใช้ในการประเมินประสิทธิภาพการ จัดการพื้นที่คุ้มครอง ที่เป็นพื้นที่ป่าไม้มาแล้วไม่ต่ากว่า 200 แห่ง ทั้งในยุโรปเอเชีย อาฟริกาและละติน อเมริกา ในช่วงปี 2003/4 และมีรายงานการกระทาการเก็บข้อมูลซ้าเพื่อติดตามความก้าวหน้าในช่วงปี 2005/6 The World Bank ก็ได้ใช้เครื่องมือการประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองในหลายๆโครงการที่ให้ ความช่วยเหลือในหลายประเทศ เช่น ประเทศโบลิเวีย ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซียและเอเชียกลาง The Global Environment Fund หรือGEF ก็ได้นาเครื่องมือนี้ไปใช้ในหลายโครงการเช่นกันและเมื่อเร็วๆนี้ก็ได้มีการ นาไปใช้ในประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน อินเดีย โดยได้มีการปรับปรุงให้สามารถใช้ได้พื้นที่คุ้มครองกับ ประเทศดังกล่าว ขณะเดียวกันก็ได้มีการแปลและเรียบเรียงเป็นภาษาอื่นๆ เพื่อให้มีความเหมาะสมกับพื้นที่ นั้นๆ เพื่อให้สอดคล้องกับโปรแกรมที่ดาเนินการโดยเฉพาะการจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือดาเนินการประเมิน ในระดับชาติของกลุ่มระบบนิเวศต่างๆ ซึ่งก็ได้มีการนาไปใช้ประเทศเกาหลี นามิเบีย แทนซาเนีย และ บราซิล รวมแล้วไม่ต่ากว่า 1,500 ป่าอนุรักษ์ วิธีการนามาใช้ดาเนินการอย่างไร เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครองได้ถูกออกแบบมาอย่างง่ายๆ และสามารถ ดาเนินการได้โดยไม่ต้องใช้งบประมาณมาก คาถามต่างๆที่ได้กาหนดไว้ในแบบประเมินก็ไม่ยาก เข้าใจง่าย พนักงานเจ้าหน้าที่หรือผู้จัดการโครงการ หรือหัวหน้าหน่วยงาน หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในท้องถิ่นสามารถ
  • 9. - 7 - ที่จะเข้าใจได้ง่าย คาตอบหรือคาอธิบายจะครอบคลุมถึงโครงการที่จะมีการปรับปรุง ข้อเสนอแนะและข้อมูล ที่จะดาเนินการต่อไปการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองนี้จะมีการทาซ้าใน พื้นที่ที่ต้องการประเมิน สามารถจะใช้ทีมงานเดิมดาเนินการก็ได้
  • 10. - 8 - คาอธิบายรายละเอียดในแบบประเมินประสิทธิภาพพื้นที่คุ้มครอง (ฉบับปรับปรุงเมื่อปี 2007) และได้ปรับหรือแปลเป็นภาษาไทยและปรับให้เข้ากับสภาพท้องถิ่นของประเทศไทย ประกอบด้วยข้อมูลดังนี้ ตอนที่ 1. เป็นรายละเอียดของข้อมูลเกี่ยวกับพื้นที่คุ้มครองและการจัดการ ชื่อพื้นที่ ขนาด ที่ตั้ง ประเภทของพื้นที่คุ้มครอง การประกาศตามกฎหมายการกาหนดให้เป็นพื้นที่คุ้มครองในระดับนานาชาติ เช่น พื้นที่มรดกโลก พื้นที่สงวนชีวมณฑล หรือพื้นที่ชุ่มน้า วัตถุประสงค์การบริหารจัดการ พนักงาน เจ้าหน้าที่และงบประมาณที่ได้รับ ตอนที่ 2. ข้อมูลที่เกี่ยวกับภัยคุกคาม เป็นการวิเคราะห์ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นในพื้นที่คุ้มครอง โดยมีตัวเลือกตามลาดับความรุนแรง ที่กาหนดให้(สูง = เป็นภัยคุกคามที่มีผลกระทบอย่างรุนแรงต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองปานกลาง= เป็นภัย คุกคามที่ส่งผลกระทบด้านลบต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองในบางส่วนต่า= เป็นภัยคุกคามที่อาจเกิดขึ้นแต่ไม่ ส่งผลกระทบต่อคุณค่าของพื้นที่คุ้มครองมากนักและไม่มี = ไม่มีภัยคุกคามดังกล่าวในพื้นที่คุ้มครอง) ข้อ 1.ถิ่นที่อาศัยและการพัฒนาทางด้านธุรกิจต่างๆในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก ตั้งถิ่นฐานของมนุษย์หรือพื้นที่ที่ไม่ได้เป็นการใช้เพื่อการเกษตรที่มีผลกระทบต่อพื้นที่คุ้มครองอย่างชัดเจน (เฉพาะที่ไม่มีเอกสารสิทธิ์) ข้อ 2.กิจกรรมทางการเกษตรและการเพาะเลี้ยงสัตว์น้าภายในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคาม ที่เกิดจากการขยายพื้นที่ที่ทาการเกษตร การเลี้ยงปศุสัตว์การปลูกสร้างสวนป่า รวมถึงการเพราะเลี้ยงสัตว์น้า ทั้งน้าจืดและน้าเค็ม ข้อ 3.การผลิตพลังงานและการทาเหมืองแร่ภายในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก การผลิตที่ไม่เป็นทรัพยากรชีวภาพ ข้อ 4.การคมนาคมหรือเส้นทางสัญจรที่ตัดผ่านผืนป่าในพื้นที่คุ้มครองเป็นภัยคุกคามที่เกิด จากการสร้างสาธารณูปโภคประเภทเส้นทางคมนาคมหรือเส้นทางสัญจรที่ตัดผ่านผืนป่าที่ส่งผลกระทบต่อ การตายหรือรบกวนการเคลื่อนย้ายของสัตว์ป่า ข้อ 5.การใช้และการทาลายทรัพยากรชีวภาพภายในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจาก การล่า การเก็บหาหรือการใช้ทรัพยากร รวมถึงผลกระทบที่เกิดจากการกระทาด้วยความตั้งใจหรือไม่ตั้งใจ เช่น ความขัดแย้งระหว่างคนกับสัตว์ป่า ข้อ 6.การรบกวนและการบุกรุกพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากกิจกรรมของมนุษย์ ที่ไปเปลี่ยนแปลง รบกวน บุกรุก ทาลายถิ่นที่อาศัย หรือชนิดพันธุ์ในพื้นที่คุ้มครอง
  • 11. - 9 - ข้อ 7.การเปลี่ยนแปลงสภาพธรรมชาติ เป็นภัยคุกคามจากกิจกรรมที่ไปเปลี่ยนแปลงสภาพ ธรรมชาติ หรือถิ่นที่อาศัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงระบบนิเวศ เช่น ไฟป่า เขื่อนพลังน้า เป็นต้น ข้อ 8.ปัญหาการรุกรานและการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น เป็นภัยคุกคามจากการ รุกรานของสัตว์บกหรือสัตว์น้าต่างถิ่นหรือพืชต่างถิ่น รวมถึงโรคร้ายที่นาพามาจากสัตว์หรือพืชต่างถิ่น ที่ อาจเกิดผลกระทบกับระบบนิเวศได้ ข้อ 9.มลพิษต่างๆ ที่ส่งผลกระทบกับผืนป่าในพื้นที่คุ้มครอง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากมลพิษ ต่างๆ ที่มีผลกระทบกับพื้นที่คุ้มครอง ทั้งๆที่เกิดจากในพื้นที่เอง หรือจากพื้นที่ภายนอก เช่น น้าเสียจาก บ้านเรือน สิ่งปฏิกูล น้าเสียจากการเกษตร ขยะมูลฝอย มลพิษทางอากาศ หรือมลพิษทางเสียง ข้อ 10.เหตุการณ์ทางธรณีวิทยา เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากภัยธรรมชาติที่ส่งผลกระทบกับ ระบบนิเวศ ซึ่งจะเป็นการทาให้มีการเปลี่ยนแปลงหรือสูญหายไปหรือรบกวนระบบนิเวศ เช่น ภูเขาไฟ ระเบิด แผ่นดินไหว สึนามิ ดินถล่ม เป็นต้น ข้อ 11.การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง เป็นภัยคุกคามที่เกิดจากสภาพการ เปลี่ยนแปลงภูมิอากาศในระยะยาวอาจจะเกี่ยวกับภาวะโลกร้อน เช่นภัยแล้ง พายุ น้าท่วมเป็นต้น ข้อ 12.ภัยคุกคามที่เกิดขึ้นต่อคุณค่าทางวัฒนธรรมและสังคมเป็นภัยคุกคามที่เกิดขึ้นด้าน วัฒนธรรมทางธรรมชาติ เช่น ภาพเขียนหน้าผา หรือสิ่งก่อสร้าง ก้อนหินขนาดใหญ่ตามแหล่งต่างๆ ข้อ 13.ภัยคุกคามที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้นี้เป็นภัยคุกคามที่อาจจะเกิดจาก แผนงานโครงการ ที่ส่งผลกระทบกับระบบนิเวศอย่างรุนแรง เช่น เขื่อนพลังน้า เสาวิทยุ เสาโทรศัพท์ หรือ สิ่งก่อสร้างอื่นๆ ตอนที่ 3 แบบประเมินพื้นที่คุ้มครอง ข้อ 1.สถานภาพทางกฎหมาย พื้นที่คุ้มครองได้มีการประกาศอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หรือไม่เป็นการประเมินประสิทธิภาพทางด้านเนื้อหารายละเอียดของพื้นที่คุ้มครอง (Context ) ข้อ 2.มีระเบียบปฏิบัติในพื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เพื่อใช้ในการควบคุมดูแลการกระทา กิจกรรมต่างๆที่เป็นไปอย่างไม่เหมาะสม เช่นการป้ องกันการลักลอบล่าสัตว์ป่า การตัดไม้ทาลายป่า การ ยึดถือครอบครองที่ดินเป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Panning) ข้อ 3.การบังคับใช้กฎหมายและระเบียบปฏิบัติพนักงานเจ้าหน้าที่สามารถบังคับใช้ได้ดี หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการในพื้นที่คุ้มครอง (Inputs) ข้อ 4.วัตถุประสงค์ของการจัดการพื้นที่คุ้มครองมีการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นไป ตามวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งขึ้นหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning) ข้อ 5.รูปแบบและขนาดของพื้นที่คุ้มครองมีเพียงพอกับการดารงรักษา ถิ่นที่อาศัยของสัตว์ ป่าและพืชป่า ตลอดจนเป็นการรักษาแหล่งต้นน้าหรือไม่ อย่างไร เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผน จัดการพื้นที่ (Planning)
  • 12. - 10 - ข้อ 6.พื้นที่คุ้มครองมีแนวเขตที่ชัดเจนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้าน กระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 7. พื้นที่คุ้มครองมีแผนการจัดการหรือไม่ และมีการปฏิบัติตามแผนหรือไม่ กระบวนการวางแผนมีผู้มีส่วนได้ส่วนเสียร่วมดาเนินการหรือไม่ มีการทบทวนปรับปรุงแผนหรือไม่ และมี การติดตามผล หรือวิจัย หรือประเมินผลมาปรับปรุงแผนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผน จัดการพื้นที่ (Planning) ข้อ 8. มีแผนการปฏิบัติการตามแผนงบประมาณประจาปี และสามารถดาเนินการได้ตาม แผนหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning) และผลลัพธ์ (Outputs) ข้อ 9. มีข้อมูลพื้นฐานของทรัพยากรในพื้นที่คุ้มครองเพียงพอต่อการบริหารจัดการหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการในพื้นที่คุ้มครอง (Inputs) ข้อ 10. มีระบบการอนุญาตเข้า-ออกในพื้นที่คุ้มครองและควบคุมการใช้ทรัพยากรหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้วยกระบวนการจัดการ (Process) และผลที่ได้รับ (Outcomes) ข้อ 11. มีการศึกษาวิจัยเพื่อใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมิน ประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 12. มีการจัดการทรัพยากรในพื้นที่มากน้อยเพียงใด เป็นการประเมินประสิทธิภาพ ด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 13. มีจานวนพนักงานเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเพียงพอหรือไม่ เป็ นการประเมิน ประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่นาเข้าปฏิบัติการจัดการในพื้นที่ (Inputs) ข้อ 14. พนักงานเจ้าหน้าที่ได้รับการฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ด้านการบริหาร จัดการพื้นที่คุ้มครองมากน้อยเพียงใดเป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (inputs) และกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 15. งบประมาณที่ได้รับในปัจจุบันเพียงพอต่อความต้องการหรือไม่ เป็นการประเมิน ประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่นาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs) ข้อ 16. งบประมาณที่ได้รับมีความมั่นคงหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยที่ นาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs) ข้อ 17. งบประมาณที่ได้รับการจัดสรรสอดคล้องกับความต้องการในการจัดการหรือไม่เป็น การประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการ (Process) ข้อ 18. วัสดุครุภัณฑ์มีเพียงพอต่อความต้องการในด้านการจัดการหรือไม่เป็นการประเมิน ประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้าปฏิบัติการจัดการพื้นที่ (Inputs) ข้อ 19. วัสดุครุภัณฑ์ที่มีอยู่ได้รับการบารุงรักษาหรือไม่เพียงใด เป็ นการประเมิน ประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 20. มีกิจกรรมให้ความรู้และการสร้างความตระหนักที่เกี่ยวข้องด้านการบริหารจัดการ พื้นที่คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process)
  • 13. - 11 - ข้อ 21. มีแผนการใช้ประโยชน์ที่ดินที่สนับสนุนวัตถุประสงค์ของการบริหารจัดการพื้นที่ คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการพื้นที่ (Planning) ข้อ 22. ผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินรอบๆพื้นที่คุ้มครองมีการให้ความร่วมมือกับพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือไม่เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 23. กลุ่มชาติพันธุ์มีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลเพื่อประกอบการตัดสินใจในการบริหาร จัดการหรือไม่ (โดยเฉพาะกลุ่มชนที่ดารงชีวิตและมีวัฒนธรรมดั้งเดิมของตนเอง และยังพึ่งพาทรัพยากรอยู่) เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 24. ชุมชนท้องถิ่นมีส่วนร่วมในการให้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจบริหารจัดการพื้นที่ คุ้มครองหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 25. พื้นที่คุ้มครองมีส่วนช่วยสร้างรายได้ให้แก่ชุมชนท้องถิ่นหรือไม่ เช่น การจ้างงานผู้ เป็นวิทยากร หรือนาทาง เป็นต้น เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านผลที่ได้รับ (Outcomes) ข้อ 26. มีการติดตามและประเมินผลการจัดการพื้นที่คุ้มครองอย่างมีประสิทธิภาพหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านแผนจัดการ (Planning) และกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ 27. มีสิ่งอานวยความสะดวกและการให้บริการกับนักท่องเที่ยวเพียงพอหรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านผลลัพธ์ (Outputs) ข้อ 28. ภาคธุรกิจการท่องเที่ยวได้มีการช่วยเหลือด้านการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครอง หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านกระบวนการจัดการ (Process) ข้อ29. ถ้ามีการเก็บค่าธรรมเนียม (ค่าเข้าพื้นที่หรือค่าปรับ) และค่าธรรมเนียมดังกล่าว มีส่วนนามาใช้ในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองได้หรือไม่ เป็นการประเมินประสิทธิภาพด้านปัจจัยนาเข้า เพื่อปฏิบัติการ (Inputs) และกระบวนการจัดการ (Process ) ข้อ 30. คุณค่าของพื้นที่คุ้มครองในปัจจุบันมีความแตกต่างกันอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับ ตอนแรกที่มีการบริหารจัดการพื้นที่มากน้อยเพียงใด มีการดาเนินการอย่างไร เป็นการประเมินประสิทธิภาพ ผลที่ได้รับ (Outcomes) การให้คะแนนและการวิเคราะห์ จากแบบฟอร์มประเมินผลทั้ง 30 ข้อ โดยใช้คะแนนแบ่งออกเป็น 4ระดับ (0, 1, 2, และ 3) เพื่อให้ผู้ตอบสามารถเลือกตอบตามสถานการณ์ว่าจะยอมรับหรือไม่ยอมรับ 0 =มีค่าเท่ากับว่างานที่เกี่ยวข้องไม่มีความก้าวหน้า 1 =มีความก้าวหน้าบ้าง 2 =มีความก้าวหน้าค่อนข้างดีที่ยังสามารถปรับปรุงได้ 3 =อยู่ในสภาพความก้าวหน้าดีมาก ทั้งนี้เพื่อให้ผู้ประเมินตัดสินใจเลือกได้ตามความคิดเห็นของตนเอง นอกจากนี้ยังมีคาถามข้อย่อย ภายใต้ข้อหลัก เพื่อต้องการทราบข้อมูลเพิ่มเติมตามที่กาหนด คะแนนทั้งหมดที่ได้รับจะได้นามาทาการ
  • 14. - 12 - วิเคราะห์เพื่อวัดหาน้าหนักว่า ประสิทธิภาพของการดาเนินการจัดการพื้นที่คุ้มครองทั้งหกประการของกรอบ การทางานมีประสิทธิภาพมากน้อยเพียงใด แนวโน้มการวิเคราะห์จะแสดงให้เห็นถึงจุดแข็งจุดอ่อนของการ จัดการพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้ ผู้มีอานาจในการจัดการพื้นที่นาไปพิจารณาดาเนินการให้มีประสิทธิภาพต่อไปมีการดาเนินประเมิน ประสิทธิภาพการจัดการซ้าหลังจากได้ดาเนินการตามแผนงานและงบประมาณที่จัดสรรเพิ่มเติมให้ใหม่เพื่อ ดาเนินการในส่วนที่ยังขาดอยู่ จะได้เปรียบเทียบว่ามีประสิทธิภาพในการจัดการเพิ่มขึ้นมากน้อยเพียงใด การวิเคราะห์ข้อมูล ดังที่ได้กล่าวมาแล้วว่า การประเมินประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่คุ้มครองเป็นการ ประเมินผลการปฏิบัติงานตามแผนยุทธศาสตร์ จะเป็นการประเมินตามระยะเวลาที่กาหนดไว้ในแผนการ จัดการ ขั้นตอนการประเมินประสิทธิภาพมีความแตกต่างกันไปขึ้นอยู่กับพื้นที่และข้อมูลที่ต้องการ เช่น วิสัยทัศน์เป้าหมายวัตถุประสงค์ การประเมินสภาพแวดล้อม สถานภาพ ภัยคุกคามและปัจจัยภายนอกที่มีผล ทาให้ไม่สามารถวัดผลได้ตามวัตถุประสงค์ ความเหมาะสมของแผนการจัดการ ปัจจัยด้านทรัพยากรที่นาเข้า มาใช้ในการจัดการ กระบวนการจัดการ ผลกระทบที่เกิดขึ้นกับกระบวนการจัดการพื้นที่คุ้มครองและ ความสาเร็จของการจัดการ ขอยกตัวอย่างการใช้เครื่องมือประเมินประสิทธิภาพกับการจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก ประกอบด้วยพื้นที่คุ้มครองจานวน 8 แห่ง เป็นพื้นที่อุทยานแห่งชาติ 5 แห่ง และเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า 3 แห่ง ได้แก่ อุทยานแห่งชาติเขาชะเมา – เขาวง อุทยานแห่งชาติเขาคิชฌกูฏ อุทยานแห่งชาติน้าตกพลิ้ว อุทยาน แห่งชาติเขาสิบห้าชั้นอุทยานแห่งชาติน้าตกคลองแก้ว เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าเขาอ่างฤๅไน เขตรักษาพันธุ์สัตว์ ป่าเขาสอยดาวและเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่าคลองเครือหวายเฉลิมพระเกียรติ มีพื้นที่รวมกันประมาณ 1,678,283 ไร่ ความสาคัญของพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกคือ เป็นแหล่งอนุรักษ์ความหลากหลายของชนิด พันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์ที่ก่อให้เกิดความสมดุลและเอื้อประโยชน์ให้แก่มนุษย์เช่นแหล่งอาหาร ยารักษาโรค การป้ องกันการชะล้างพังทลายของดิน ป้ องกันน้าท่วมและมีน้าใช้อย่างสม่าเสมอตลอดปี ก่อให้เกิดการใช้ ประโยชน์ทางด้านนันทนาการและการท่องเที่ยว ทาให้เกิดการหมุนเวียนของเศรษฐกิจในท้องถิ่น และแหล่ง เรียนรู้ด้านทรัพยากรธรรมชาติ ปัญหาที่สาคัญของกลุ่มป่านี้คือ ขาดการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพและความไม่ มั่นคงของระบบนิเวศ คือ การแตกกระจายเป็นหย่อมป่า ทาให้สัตว์ป่าบางชนิดมีถิ่นที่อาศัยจากัดไม่สามารถ เคลื่อนย้ายไปมาได้การบุกรุกพื้นที่เพื่อทาเป็นพื้นที่การเกษตร เช่นสวนยางพารา สวนผลไม้และพืชไร่ ฯลฯ การลักลอบเก็บหาของป่าและการล่าสัตว์ป่า การเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่และปัญหาช้างป่าหรือสัตว์ป่าชนิดอื่น ออกนอกพื้นที่คุ้มครอง เนื่องจากปริมาณอาหารและแหล่งน้ามีไม่เพียงพอ หรือสัตว์ป่าติดใจรสชาติพืช
  • 15. - 13 - เกษตร ปัญหาด้านการนันทนาการและการท่องเที่ยว ปริมาณนักท่องเที่ยวค่อนข้างจะเพิ่มมากขึ้นในฤดูการ ท่องเที่ยว ทาให้เกิดผลกระทบกับการจัดการสิ่งอานวยความสะดวกมลพิษด้านขยะและน้าเสีย กรมอุทยานแห่ งชาติ สัตว์ป่ า และพันธุ์พืช ได้ว่าจ้างคณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดทาแผนการจัดการกลุ่มป่าตะวันออก เพื่อให้สามารถใช้เป็นแนวทางในการ จัดการเชิงระบบนิเวศและการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรับกิจกรรมใช้ประโยชน์ในรูปแบบต่างๆ ต่อไป จาก โครงการจัดทาแผนการจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออกให้มีการกาหนดแผนงานออกเป็น 6 แผนงาน รวม 38 โครงการ 1. แผนงานจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ เป็นแผนงานที่เน้นหนักไปในเรื่องการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ตามแนวทางการจัดการ พื้นที่คุ้มครองเชิงระบบนิเวศ โดยให้ความสาคัญกับการบริหารพื้นที่บนพื้นฐานข้อมูลทางวิชาการที่ทันสมัย สอดคล้องและถูกต้อง การกาหนดโครงการจึงมีลักษณะของการสารวจเพื่อจัดทาฐานข้อมูลทรัพยากรโดย ละเอียด โครงการฟื้นฟูหรือจัดการทรัพยากรธรรมชาติและความหลากหลายทางชีวภาพ การเชื่อมต่อของผืน ป่าเพื่อให้ระบบนิเวศป่าไม้มีความมั่นคง สามารถดาเนินกิจกรรมและทาหน้าที่ได้อย่างสมดุลต่อเนื่อง ประกอบด้วย 8 โครงการ โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 1.1 โครงการจัดทาฐานข้อมูล ชีวภาพและกายภาพ - จัดสารวจและจัดทาฐานข้อมูล พันธุ์พืช สัตว์ป่า ปฐพีวิยา ธรณีวิทยา และการปรับปรุง ข้อมูล - มีข้อมูลความหลากหลายของ พันธุ์พืช สัตว์ป่า และ สิ่งแวดล้อม 1.2 โครงการพื้นฟูและจัดสร้าง แหล่งน้าและแหล่งอาหารสาหรับ สัตว์ป่าในพื้นที่คุ้มครอง - จัดทาโป่งเทียม แหล่งน้า ปลูก พืชอาหารสัตว์ - สัตว์ป่าใช้ประโยชน์จากโป่ง เทียม แหล่งอาหารสัตว์ป่า สัตว์ป่าออกไปนอกพื้นที่ลด น้อยลง 1.3 โครงการอนุรักษ์ฟื้นฟู ประชากรสัตว์ป่าที่มีสถานภาพ เฉพาะถิ่นสัตว์ป่าใกล้สูญพันธุ์และ ใกล้สูญพันธุ์อย่างยิ่ง - นาข้อมูลจากระบบฐานข้อมูลมา ใช้พิจารณาและการปล่อยสัตว์ป่า คืนสู่ธรรมชาติ - ประชากรสัตว์ป่าเพิ่มขึ้น 1.4 โครงการจัดการพืชต่างถิ่นที่มี แนวโน้มรุกรานระบบนิเวศ - สารวจผลกระทบและหาแนว ทางการควบคุมหรือกาจัด - พืชต่างถิ่นลดน้อยลง 1.5 โครงการจัดทาแนวเชื่อมต่อ ทางระบบนิเวศของกลุ่มป่า - ศึกษาข้อมูลความเหมาะสม ประชาสัมพันธ์ สร้างความเข้าใจ -มีสัตว์ป่าใช้ประโยชน์จากแนว เชื่อม
  • 16. - 14 - การฟื้นฟูระบบนิเวศ 1.6 โครงการจัดทาแนวเชื่อมต่อ ทางนิเวศวิทยาระหว่างประเทศ (กับประเทศกัมพูชา) - ประสานความร่วมมือกับ ประเทศกัมพูชา - มีเอกสารความร่วมมือ 1.7 โครงการจัดตั้งเขตห้ามล่าสัตว์ ป่าเขาไผ่ - เขาป้อม -สารวจประกาศจัดตั้งเขตห้ามล่า สัตว์ป่า -มี การประกาศในราชกิจจา นุเบกษา 1.8 โครงการจัดการพื้นที่ป่ากันชน รัศมี 2 ก.ม. ห่างจากแนวพื้นที่ คุ้มครอง - สารวจพื้นที่ป่าไม้ฟื้นฟูป่า ดูแล ป้องกัน - มีข้อมูลป่าแนวกันชน - มีการจัดการป่าแนวกันชน 2. แผนงานป้ องกันและปราบปราม จากการวิเคราะห์ภัยคุกคามของกลุ่มป่าตะวันออกพบว่ามีปัญหาที่เกิดขึ้นหลายประการ เช่น การบุกรุกพื้นที่เพื่อทาการเกษตร แนวเขตไม่ชัดเจนทาให้เกิดความขัดแย้งกับชุมชน มีการใช้ประโยชน์ที่ดิน ไม่เหมาะสม ราษฎรที่อาศัยอยู่ใกล้เคียงกับพื้นที่มีการใช้ประโยชน์จากพื้นที่คุ้มครอง เช่น การเก็บหาของป่า การล่าสัตว์ป่า จึงมีแนวคิดในการจัดการพื้นที่โดยการมีส่วนร่วมของประชาชนประกอบด้วย 4 โครงการ โครงการ แนวทางในการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 2.1 โครงการจัดทาแนวเขตพื้นที่ คุ้มครองและพื้นที่ทากินโดยการมี ส่วนร่วมของประชาชน - ทาความเข้าใจกับชุมชน ปัก หมุดหลักฐานตามแนวเขต / ปลูก ต้นไม้ - พื้นที่คุ้มครองมีแนวเขตที่ ชัดเจน 2.2 โครงการติดตามการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ที่ดิน อย่างต่อเนื่อง - ศึกษาข้อมูล ติดตามการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ที่ดิน - มีข้อมูลและแผนที่แสดงการ เปลี่ยนแปลงการใช้ประโยชน์ ที่ดิน 2.3 โครงการจัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ และอาสาสมัครพิทักษ์สิ่งแวดล้อม ประจาหมู่บ้าน - จัดตั้งกลุ่มอนุรักษ์ อาสาสมัครพิ ทักสิ่งแวดล้อมสาหรับชุมชนและ มีการฝึกอบรม - ประชาชนรอบกลุ่มป่าให้ความ ร่วมมือใน การอนุรักษ์พื้นที่ คุ้มครอง 2.4 โครงการจัดตั้งชุดสายตรวจ ลาดตระเวนพิเศษกลุ่มป่า ตะวันออก - จัดทาแผนลาดตะเวน - จัดตั้งชุดสายตรวจพิเศษและมี การฝึกอบรมเพื่อเพิ่มพูนความรู้ และทักษะ - การกระทาผิดกฎหมายลดลง - มีการร่วมมือของพนักงาน เจ้าหน้าที่
  • 17. - 15 - 3. แผนงานประชาสัมพันธ์และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน บริเวณพื้นที่กลุ่มป่ าตะวันออก ชุมชนมีปัญหาความยากจนหลายแห่ง และพึ่งพิง ทรัพยากรธรรมชาติและป่าไม้ในพื้นที่คุ้มครองเพื่อการดารงชีวิต ส่งผลให้เกิดการเสื่อมโทรมและขาดความ สมดุลของระบบนิเวศในพื้นที่ชุมชนที่อาศัยอยู่รอบพื้นที่ก็มีอาชีพเก็บหาของป่า ประเภทพืชป่า เช่น เร่ว กระวาน ผักกูด ผักหวาน หน่อไม้ เห็นสมควรให้มีการพัฒนาหรือส่งเสริมอาชีพ โดยการปลูกพืชป่าที่เป็น อาหาร การส่งเสริมสร้างความตระหนักและให้มีความรู้ในการอนุรักษ์ รวมทั้งการจัดตั้งคณะกรรมการที่ ปรึกษาพื้นที่คุ้มครอง เพื่อให้มีส่วนร่วมในการบริหารจัดการพื้นที่คุ้มครองหรือกลุ่มป่ าตะวันออก ประกอบด้วย 8 โครงการ โครงการ แนวทางการตาเนินงาน ตัวชี้วัด 3.1 โครงการพัฒนาชุมชนท้องถิ่น ตามแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง - ประสานความร่วมมือกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ - จัดตั้งหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ต้นแบบ - มีการพัฒนาชุมชนตาม แนวความคิดเศรษฐกิจพอเพียง และการสร้างเครือข่าย 3.2 โครงการเสริมการปลูกพืชป่า ในพื้นที่เกษตร - ส่งเสริมการปลูกพืชป่าในพื้นที่ เกษตร โดยประสานงานกับ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและการ จัดตั้งเครือข่าย - ปัญหาการพึ่งพิงและเก็บหาพืช ป่าลดลง 3.3 โครงการส่งเสริมและ พัฒนาการมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการอนุรักษ์ทรัพยากร ป่าไม้ในพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก โดยการจัดตั้ง PAC - จัดตั้งคณะกรรมการที่ปรึกษา พื้นที่คุ้มครองกลุ่มป่าตะวันออก กากับบทบาทและหน้าที่ รับผิดชอบ - มีคาสั่งจัดตั้งคณะกรรมการที่ ปรึกษากลุ่มป่าตะวันออก 3.4 โครงการส่งเสริมการปลูกพืช อาหารป่าบริเวณพื้นที่ป่าสงวน แห่งชาติในเขตกันชน - จัดทาโครงการอาสาสมัครนา ร่องการปลูกพืชเลี้ยงปศุสัตว์ใน พื้นที่แนวกันชน - จานวนการเลี้ยงปศุสัตว์ในพื้นที่ คุ้มครองลดลง 3.5 โครงการส่งเสริมคนรุ่นใหม่ใส่ ใจอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติใน กลุ่มป่าตะวันออก - จัดทาค่ายอนุรักษ์สาหรับ เยาวชน - จัดทาโปรแกรมการเรียนรู้ - การประชาสัมพันธ์ - จานวนเยาวชนเข้าร่วมโครงการ - มีหลักสูตรการฝึกอบรม
  • 18. - 16 - 3.6 โครงการมวลชนสัมพันธ์และ ให้ความรู้ความเข้าใจแก่ผู้นา ท้องถิ่นด้านการอนุรักษ์และการ จัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก - จัดเจ้าหน้าที่ทางานด้านมวลชน สัมพันธ์ - ฝึกอบรมพนักงานเจ้าหน้าที่ - จัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ - ประชาชนในพื้นที่มีความเข้าใจ การอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ 3.7 โครงการจัดตั้งป่าชุมชนใน พื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติและป่า ชุมชนรอบกลุ่มป่าตะวันออก - คัดเลือกชุมชนเป้าหมาย - มีการอบรมชุมชนเป้าหมาย - มีความพร้อมในการจัดตั้งและ จัดการป่าชุมชนและการ ฝึกอบรม 3.8 โครงการกาหนดจุดผ่อนปรน และแนวทางปฏิบัติในการเข้าทา ประโยชน์ในพื้นที่กลุ่มป่า ตะวันออก - จัดทาแผนที่พื้นที่สวนยางพารา ทาบัญชีรายชื่อเจ้าของและ จานวนต้นยางพารา - กาหนดข้อตกลงร่วมกันในการ เข้าใช้ประโยชน์ในพื้นที่ - มีจุดผ่อนปรนเกิดขึ้น - มีข้อตกลงร่วมกัน 4. แผนงานศึกษาวิจัย เป็นแผนงานการศึกษาวิจัยถึงทรัพยากรธรรมชาติ ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช้ ประโยชน์และผลกระทบจากการใช้พื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก ประกอบด้วย 4 โครงการ โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 4.1 โครงการศึกษาปริมาณและ คุณภาพน้า และปริมาณความ ต้องการใช้น้าเพื่อ การบริหาร จัดการทรัพยากรน้าในพื้นที่กลุ่ม ป่าตะวันออก - กาหนดจุดตรวจวัดน้าทั้ง ปริมาณและคุณภาพ- --ข้อมูลการ ใช้น้าของชุมชน - มีข้อมูลปริมาณและคุณภาพน้า 4.2 โครงการศึกษาอิทธิพลของการ เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินต่อปริมาณ และคุณภาพน้าในพื้นที่กลุ่มป่า ตะวันออก - กาหนดพื้นที่ลุ่มน้า - การประเมินผลกระทบจากการ ใช้พื้นที่ดิน -มีรายงานผลการศึกษา 4.3 โครงการจัดการน้าเสียจากเขา พระบาท - ปรับปรุงการจัดการระบบน้า เสียสิ่งปฏิกูลและขยะ - มีการจัดการมลพิษที่ได้ มาตรฐานที่กาหนด 4.4 โครงการวิจัยเชิงปฏิบัติการ แก้ไขปัญหาความขัดแย้งระหว่าง คนกับช้างป่าในพื้นที่ - รวบรวมปัญหาคนกับช้างป่า - ปฏิบัติงานภาคสนาม - ถอดบทเรียน - ปัญหาความขัดแย้งระหว่างคน กับช้างป่าลดลง
  • 19. - 17 - 5. แผนงานพัฒนาด้านนันทนาการและศึกษาธรรมชาติ เป็นแผนงานเกี่ยวกับการปรับปรุงและพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกสาหรับนักท่องเที่ยว การศึกษาธรรมชาติในพื้นที่ของประชาชนทั่วไปประกอบด้วย 10 โครงการ โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 5.1 โครงการปรับปรุงพัฒนาระบบ สื่อความหมาย - จัดทาสื่อความหมาย - การปรับปรุงเส้นทางศึกษา ธรรมชาติ - มีเส้นทางศึกษาธรรมชาติ - มีประชาชนเข้าใช้เส้นทาง ศึกษาธรรมชาติ - มีคู่มือเส้นทางศึกษาธรรมชาติ 5.2 โครงการปรับปรุงสิ่งอานวย ความสะดวกสาหรับผู้สูงอายุและผู้ พิการ - จัดจ้างสถาปนิกออกแบบสิ่ง อานวยความสะดวก - วางผังภูมิทัศน์ - มีผู้สูงอายุและผู้พิการเข้ามาใช้ สถานที่ 5.3 โครงการศึกษาความเป็นไปได้ สาหรับการท่องเที่ยวสัตว์ป่าใน พื้นที่รอยเชื่อมต่อ - กาหนดแนวเชื่อมที่เหมาะสม เป็นพื้นที่นาร่อง - กาหนดระเบียบข้อบังคับ - การปรับปรุงถิ่นที่อาศัย - มีกิจกรรมการท่องเที่ยวด้าน สัตว์ป่าในพื้นที่แนวเชื่อมต่อ 5.4 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงอนุรักษ์และศึกษาธรรมชาติ อย่างมีส่วนร่วม - จัดทาแผนการบริหารจัดการ การท่องเที่ยว - สารวจศักยภาพรอบของชุมชน - ฝึกอบรมผู้เกี่ยวข้อง - การมีส่วนร่วมของชุมชน - เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น 5.5 โครงการส่งเสริมการท่องเที่ยว เชิงเกษตรรอบพื้นที่คุ้มครอง - ร่วมมือกับชุมชนใกล้เคียง กาหนดรูปแบบและกิจกรรมการ ท่องเที่ยวเชิงเกษตร - การมีส่วนร่วมของชุมชน - เศรษฐกิจของชุมชนดีขึ้น 5.6 โครงการปรับปรุงกิจกรรมใน แหล่งศึกษาธรรมชาติของเขตรักษา พันธุ์สัตว์ป่า - กาหนดพื้นที่และกิจกรรม การศึกษาธรรมชาติ - กาหนดระบบการจัดการผู้มา เยือน - มีแหล่งศึกษาธรรมชาติในพื้นที่ เขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า - มีกิจกรรมการศึกษาธรรมชาติ 5.7 โครงการปรับปรุงศูนย์บริการ นักท่องเที่ยว - จัดสถานที่ตั้งศูนย์บริการ - จัดทาสื่อความหมายและจัดทา นิทรรศการ - มีจานวนนักท่องเที่ยวใช้บริการ ศูนย์บริการเพิ่มขึ้น
  • 20. - 18 - โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 5.8 โครงการเพิ่มศักยภาพในการ ดูแลและรักษาความปลอดภัย นักท่องเที่ยวและการรับมือกับ อุบัติภัย - จัดทาระบบเตือนภัย - ฝึกซ้อมการปฏิบัติงานของ พนักงานเจ้าหน้าที่ - มีระบบเตือนภัย - พนักงานเจ้าหน้าที่มีความ พร้อมเพียงในการปฏิบัติการกู้ภัย 5.9 โครงการปรับปรุงผังบริเวณ และสิ่งปลูกสร้างบริเวณเขาพระ บาทพลวง - จัดทาผังบริเวณ และวิเคราะห์ การใช้ประโยชน์มีผลกระทบกับ ธรรมชาติ - มีสิ่งก่อสร้างที่เหมาะสมและไม่ ก่อให้เกิดผลกระทบกับ ธรรมชาติ 5.10 โครงการรณรงค์จัดการขยะ - รณรงค์ให้นักท่องเที่ยวลด พฤติกรรมการสร้างขยะ - กาหนดวิธีการกาจัดขยะ - ปริมาณขยะลดลง 6. แผนงานบริหารจัดการ เป็นแผนการพัฒนาบริหารจัดการพื้นที่กลุ่มป่าตะวันออก โดยเฉพาะการจัดตั้งหน่วยงาน ปรับปรุงโครงสร้าง กาหนดบทบาทหน้าที่ของหน่วยงาน พร้อมกับการจัดอัตรากาลังประจาพื้นที่ และการ เพิ่มศักยภาพของพนักงานและเจ้าหน้าที่ และมีการจัดการประเมินผลการดาเนินงานในพื้นที่ ประกอบด้วย 3 โครงการ โครงการ แนวทางการดาเนินงาน ตัวชี้วัด 6.1 โครงการจัดตั้งหน่วยงานและมี การปรับโครงสร้างองค์กรบริหาร กลุ่มป่าตะวันออกเชิงระบบนิเวศ - จัดตั้งหน่วยงานบริหารกลุ่มป่า - จัดกรอบอัตรากาลัง - บริการจัดการพื้นที่เชิงระบบ นิเวศ - มีสถาบันหรือหน่วยงานบริหาร กลุ่มป่าตะวันออก - มีบุคลากรประจา 6.2 โครงการเพิ่มศักยภาพของ บุคลากรที่ปฏิบัติงานในพื้นที่กลุ่ม ป่าตะวันออก - สารวจวิเคราะห์ความต้องการ เพิ่มศักยภาพ - จัดทาแผน /การฝึกอบรม - การศึกษาดูงาน - พนักงานงานเจ้าหน้าที่มีความรู้ ความสามารถและปฏิบัติงานมี ประสิทธิภาพ 6.3 โครงการติดตามและ ประเมินผลตามแผนการจัดการ กลุ่มป่าตะวันออก - จัดทารายละเอียดกิจกรรมที่ต้อง ปฏิบัติ - จัดทาแผนการดาเนินงาน - ระบบนิเวศ / ความหลากหลาย ชีวภาพมีความมั่นคง