SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
ปรัชญาเม่งจื๊อ
โดย อ.สรณีย์ สายศร
• “...สำหรับบรรดำเจ้ำผู้ครองแคว้นทั้งหลำยแล้ว คำพูดของเม่งจื๊อ
เป็นเหมือนคำสวดมนต์ของพวกหมอผี ไม่มีพื้นฐำนของควำม
เป็นจริงรองรับแต่อย่ำงใด...” (สุมาเฉี๋ยน)
• ทาไมเป็นเช่นนี้หล่ะ ?? *____*
• “นับตั้งแต่มนุษย์เกิดมำในโลก
เรื่อยมำจนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีบุคคล
ใดที่พอจะถือได้ว่ำ เป็นขงจื๊อคนที่ ๒
ได้เลย...ควำมปรำรถนำของข้ำพเจ้ำ
ก็คือเรียนให้มำก เพื่อจะได้เป็นอย่ำง
ขงจื๊อ...ถึงแม้ข้ำพเจ้ำจะไม่สำมำรถ
เป็นศิษย์ของขงจื๊อได้ทัน แต่ข้ำพเจ้ำ
ก็จะพยำยำมศึกษำและเจริญ
คุณธรรมของขงจื๊อเอำจำกบุคคลผู้
เคยเป็นสำนุศิษย์ของท่ำนมำ”
• “สิ่งที่ข้ำพเจ้ำสอนไม่มีอะไรใหม่
ขงจื๊อผู้เป็นใหญ่ได้สอนไว้ก่อนหน้ำ
ข้ำพเจ้ำแล้ว”
เม่งจื๊อ คือ ใคร?
• ลัทธิปรัชญาของขงจื๊อได้รับการขยายความ
และรุ่งเรืองยิ่งขึ้นโดยเม่งจื๊อ
• เม่งจื๊อชื่อเดิมว่า “คอ” เป็นชาวเมืองโซว่
(Tsou) ปัจจุบันเป็นอาเภอโซ่วเซียน
(Tsou Hsien) ในแคว้นลู้ หรือมณฑลชาน
ตุงในปัจจุบัน
• เกิดประมาณร้อยปีเศษหลังจากขงจื๊อ
เสียชีวิต คือ ประมาณ พ.ศ. ๑๗๑-๑๗๒ และ
สิ้นชีพ พ.ศ. ๒๕๔ รวมอายุ ๘๒ ปี (อ.เสถียร
โพธินันทะ- เม่งจื๊อเกิด พ.ศ. ๑๕๔ เสียชีวิต พ.ศ.
๒๒๘ รวมอายุ ๘๔ ปี)
เม่งจื๊อ คือ
ใคร?
• สมัยเม่งจื๊อเป็นเด็กได้รับความยากลาบาก
เพราะบิดาตายจากไปเมื่อ เม่งจื๊ออายุได้
๓ ขวบ ปล่อยให้นางเจียงสี มารดาต้อง
เลี้ยงดูลูกตามลาพัง
• เม่งจื๊อสมัยที่ยังเป็นเด็กมีนิสัยชอบเลียนแบบ
เอาอย่างสิ่งที่ตนพบเห็น จึงเป็นเหตุให้นาง
เจียงสีต้องอพยพย้ายบ้านถึง ๓ ครั้ง เพื่อหา
สิ่งแวดล้อมที่ดีงามให้แก่เด็กน้อยเม่งจื๊อ
เพื่อให้ลูกน้อยของนางได้เป็นผู้ดีมีศักดิ์สูงตาม
บรรพบุรุษซึ่งเป็นตระกูลผู้ดีเม่งซุน สุดท้ายได้
ย้ายมาอยู่ใกล้กับโรงเรียน แวดล้อมด้วย
คนมีการศึกษาและมีมารยาทสัมมาคารวะ
• เด็กน้อยเม่งจื๊อ : ข้างบ้านฆ่าหมู ไม่รู้ว่าจะเอาไปทาอะไร?
• มารดา : คงจะเอามาให้ลูกกิน
• “แม่ทนลาบากทุกอย่างเพื่อหารายได้มาส่งให้ลูกเรียน แต่ลูก
เรียนหนังสือไม่แสวงหาความก้าวหน้า มันก็เหมือนกับแม่ตัดผ้าที่ทอ
ขาด การเรียนทอดทิ้งครึ่งๆกลางๆ แล้วจะหวังให้ได้รับความสาเร็จ
ในวันข้างหน้าได้อย่างไร?
• เมื่อเจริญวัย เม่งจื๊อได้เข้าศึกษาในสานัก
เรียนขงจื๊อ โดยเป็นศิษย์ของ “จื้อซือ”
ศิษย์ผู้สืบลัทธิขงจื๊อชั้นที่ ๓ เม่งจื๊อเป็น
ศิษย์ก้นกุฏิของจื้อซือ และเป็นศิษย์ชั้นที่
๔ ของขงจื๊อ
• เมื่อจบการศึกษา เม่งจื๊อได้เดินทางไปรับ
ราชการในราชสานักพระเจ้าชี้ซวนอ๊วง
แห่งรัฐชี้ต่อมาเห็นทางบ้านเมืองไม่
ดาเนินตามปรัชญาของตน จึงลาออกไป
รับราชการในแคว้นเนี้ย ก็ประสบความ
ผิดหวังอีก
• คิดว่าทาไม เม่งจื๊อถึงผิดหวัง??
• เม่งจื๊อได้เที่ยวไปตามนครน้อยใหญ่เพื่อเสนอปรัชญาของตน แต่ก็ไม่มี
ใครยอมทาตามอุดมคติทางการเมืองของเขา มีแต่สดุดีว่าทัศนะของ
เม่งจื๊อดีจริง ทั้งนี้เพราะเจ้าเมืองรัฐต่างๆ ในสมัยนั้น คิดแต่จะรุกรานรัฐ
อื่น แย่งชิงอานาจ ไม่ได้ด้วยเล่ห์ก็เอาด้วยกล
แต่ปรัชญาของเม่งจื๊อกลับสอนตรงกัน
ข้าม คือให้มีความเห็นอกเห็นใจกัน และ
สอนให้นักปกครองปรับปรุงตนให้ได้
เสียก่อน แล้วจึงค่อยไปปกครองผู้อื่น
เม่งจื๊อเห็นไม่เป็นผลสาเร็จในงานราชการ
แล้ว จึงกลับมาใช้ชีวิตในมาตุภูมิ อบรมสั่ง
สอนศิลปะวิทยาการแก่นักศึกษาจวบจน
วาระสุดท้ายของชีวิต
• เม่งจื๊อได้รวบรวมคาสอนของขงจื๊อ เรียกว่า
“หนังสือประมวลคาสั่งสอนของขงจื๊อ”
(ลุนยู)
• เม่งจื๊อเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการพูดที่จับ
ใจ มีความกล้าหาญทางจริยธรรม และมี
สติปัญญาอันลึกซึ้ง เป็นบุคคลที่เผยแพร่คา
สอนของขงจื๊อออกไปอย่างกว้างขวาง และ
โจมตีคาสอนที่บิดเบือนไปจากปรัชญาของ
ขงจื๊อด้วย เช่น....
• ได้รับยกย่องว่า เป็นนักปรัชญาจีนคนที่สาคัญ
ที่สุดรองลงไปจากขงจื๊อ >> ปรมาจารย์คนที่
สอง
ปรัชญาของเม่งจื๊อ
- ทรรศนะเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์
• ธรรมชาติของจิตใจมนุษย์มีสภาพเป็นความดีงามโดยกาเนิด มี
สภาพเป็นกุศล ประกอบไปด้วยคุณธรรม เรียกว่า “แซ่เสียง” >>
มนุษย์ทุกคนไม่ปรารถนาเป็นคนเลว แต่ที่ต้องกลายเป็นคนชั่ว
ช้าไป ก็เพราะสิ่งแวดล้อมและการอบรมทาให้เป็นเช่นนั้น
• เม่งจื๊อยอมรับว่ามีธรรมชาติส่วนหนึ่งที่ไม่ดีไม่เลวในตัวของมันเอง เช่น
ความต้องการ สัญชาตญาณต่างๆ ขึ้นอยู่กับการอบรมและพัฒนา
คุณธรรมที่มีอยู่
• “ธรรมชำติจิตสันดำนอันดีงำมของคนนั้น อุปมำดังน้ำที่มี
ธรรมชำติไหลไปสู่ที่ต่ำเสมอ ส่วนกำรที่น้ำต้องไหลไปสู่ที่สูงนั้น
ผิดธรรมชำติ เกิดจำกเหตุอื่นมำผลักดันให้น้ำต้องไหลฝืน
ธรรมชำติ คนที่ทำควำมชั่วก็เช่นกัน ไม่ใช่ธรรมชำติดั้งเดิมของ
เขำ แต่ถูกอำนำจอื่นมำผลักดันให้ทำ อย่างเช่น ปีใดพืชพันธุ์
ธัญญาหารสมบูรณ์ ผู้คนก็ประพฤติตัวดีมีศีลธรรม แต่ปีใดการเก็บเกี่ยว
ไม่ได้ผล โจรผู้ร้ายก็เกิดมีขึ้น...นี้มิใช่หมายความว่าธรรมชาติจิตสันดาน
ของคนเหล่านี้แตกต่างกันเลย สาเหตุทาให้ผิดแปลกออกไปก็
เนื่องมาจากสถานการณ์แวดล้อม ทาให้หิวโหยลาบาก ถึงได้ลุแก่ความ
ชั่วไปได้”
ทุกคนมีธรรมชาติเหมือนกัน – อายตนะทั้ง ๖
ความแตกต่างระหว่างบัณฑิต กับสามัญชนคืออะไร ?
• เฉลย ***บัณฑิตรู้จักนาธรรมชาติอันดีของตนออกมาใช้ให้เป็น
ประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ***ส่วนสามัญชน (หรือ พาล
ชน)กลับหลงลืมธรรมชาติอันดีงามนั้น พอลืมไปนานๆ ก็คิดว่า
คุณธรรมต่างๆ ไม่มีในตน หรือพลัดพรากจากตนไปหมดแล้ว
“....อันว่าธรรมชาติสันดานแห่ง
ปวงมนุษย์ก็ฉันนั้น ไฉนเลยจักไม่มี
ความเมตตา สุจริตธรรมอันดีงาม
เป็นพื้นเพอยู่ เท่าที่เขาทอดทิ้ง
คุณสมบัติเหล่านั้นไปเสีย ก็
เช่นเดียวกับต้นไม้บนภูเขา ถูกขุด
โค่นทาลายลงทุกวัน เมื่อเป็นเช่นนี้
จักให้เขาเป็นคนดีได้อย่างไรเล่า ?
คุณสมบัติในธรรมชาติแห่งมนุษย์
• ในธรรมชาติของมนุษย์นั้น มี
คุณสมบัติหรือเมล็ดพันธุ์แห่ง
ความดีงามอยู่แล้ว และ
สามารถพัฒนาให้เจริญงอก
งามขึ้นได้ตามลาดับ
• คุณธรรม หรือเมล็ดพันธุ์แห่ง
ความดีงามในจิตใจอันเป็น
ธรรมชาติของมนุษย์นั้น ได้แก่
คุณสมบัติ ๔ ประการ คือ
• ๑. ความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หรือ “ความเมตตา” (ยิ้น หรือ เหริน)
• คือ ไม่มีดวงจิตใดโดยสภาพปกติจะเฉยเมยต่อความทุกข์ทรมานของชีวิต
อื่นๆ ได้ โดยไม่เกิดความรู้สึกเวทนาสงสาร
• ๒. ความรู้สึกละอายใจและรังเกียจต่อความชั่ว หรือ “คุณธรรม
ซื่อสัตย์” (หงี) >> จิตทุกดวงโดยสภาพปกติมีความรู้สึกละอายใจและ
รังเกียจต่อความชั่ว เป็นจุดเริ่มต้นของการยึดมั่นในศีลธรรม และพัฒนา
มาเป็นความซื่อสัตย์
Don't Tell Secrets to
a Parrot
"If anyone comes,
tell them that I am
not here"
• ๓. ความรู้สึกในความมีสัมมา
คาระ อ่อนน้อมหรือ นิติธรรม
เนียม (โล้ย) >> ความสุภาพเป็น
บ่อเกิดหรือจุดเริ่มต้นของการปฏิบัติ
อันงดงาม เหมาะสม หรือ นิติธรรม
เนียม
• ๔. ความรู้สึกในเหตุผล รู้ผิดชอบชั่วดี หรือ สติปัญญา (ตี่)
• ความสามารถทางพุทธิปัญญา อันเป็นจุดเริ่มต้นของปัญญา
Three Men Share
Wisdom &
Knowledge
• เม่งจื๊อเชื่อว่า จุดมุ่งหมายของการศึกษาวิทยาการต่างๆ ก็เพื่อ
แสวงหาคุณธรรมที่หายไป ดังที่เม่งจื๊อกล่าวว่า
• “...อันกำรศึกษำวิทยำกำรนั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกจำกเพื่อติดตำม
ค้นหำคุณสมบัติที่พรำกหำยจำกจิตสันดำนให้กลับคืนมำเท่ำนั้น”
(ควำมเมตตำ หิริโอตตัปปะ นิติธรรมเนียม สติปัญญำ)***
• คุณสมบัติทั้ง ๔ ย่อได้เป็นคาพูด ๔ คา >>
• “ความรู้ถูกต้องที่สุจริต เรียกว่า เลี้ยงใจ”
• “ความสามารถที่ถูกต้องที่สุจริตในการปฏิบัติตามความรู้นั้น
เรียกว่า เลี้ยงเล้ง”
• ผู้ขาดคุณธรรมทั้ง ๔ ย่อมไม่ใช่มนุษย์
• เมื่อทุกคนมีความรู้ที่ดี ความสามารถที่ดี (มีคุณสมบัติทั้ง ๔ ประการ)
ทุกคนก็อาจมีฐานะทัดเทียมกันได้ด้วยความรู้สึกและความสามารถ
• เม่งจื๊อสอนว่า ทุกคนสามารถเป็นพระเจ้าเงี้ยว พระเจ้าซุ่นได้ ถ้าทุกคนใช้
ความรู้ ความสามารถที่มีอยู่เป็นทุนในตนให้ขยายออกมา เท่าเทียมกับ
กษัตริย์ทั้ง ๒ พระองค์
• “จงอย่ำทำสิ่งที่ควำมรู้สึกของตนบอกว่ำไม่
ควรทำ จงอย่ำปรำรถนำในสิ่งที่ควำมรู้สึกของ
ตนบอกว่ำไม่ควรปรำรถนำ เรื่องของ
มนุษยธรรมมีเพียงเท่ำนี้”
• บัณฑิตมีความสุขอยู่ ๓ ประการ
• ๑. บิดา มารดาท่านอยู่บริบูรณ์ ญาติพี่น้องมี
ความสามัคคี รักกัน
• ๒. เมื่อสารวมตนเองแล้ว ก็ไม่มีข้อเสียหาย
บกพร่องในสายตาของเทพยดาฟ้ าดินและใน
สายตาของมนุษย์
• ๓. ได้คนดีมีความสามารถมาเลี้ยงดู
คติชีวิตของเม่งจื๊อ
คติชีวิตของเม่งจื๊อ - ยึดมั่นในคุณธรรม
• “บัณฑิตในยำมตกอับ ก็ไม่ละทิ้งควำมซื่อสัตย์สุจริต ในยำม
รุ่งเรืองก็ไม่เหินห่ำงอุดมคติอันดีงำม เมื่อไม่ละทิ้งควำมซื่อสัตย์
ชื่อว่ำเป็นผู้คุ้มครองชื่อเสียงของตนเองไว้ เมื่อไม่เหินห่ำงอุดม
คติอันดีงำม ประชำชนเขำก็ไม่ผิดหวังในตัวเรำ ในยำมตกอับ
พยำยำมรักษำตน สร้ำงเกียรติยศชื่อเสียงไว้แก่ชนเบื้องหลัง ใน
ยำมรุ่งเรืองก็จงทำให้สังคมพลอยมีควำมสุข ควำมเจริญด้วย”
“ในสมัยที่คนทั้งหลำยถือธรรมเป็นใหญ่ เรำต้องยึดมั่นในธรรม บำเพ็ญ
ประโยชน์ต่อประเทศชำติ ในสมัยที่คนทั้งหลำยถืออธรรมเป็นใหญ่ เรำก็
จงสละชีวิตเสียได้เพื่อรักษำธรรมไว้”
ปรัชญาการเมืองของเม่งจื๊อ
• เม่งจื๊อได้แบ่งลักษณะการปกครองออกเป็น ๒ ประเภท
• ๑. “ป้ าเจ่ง” การปกครองแบบเดชานุภาพ ใช้อิทธิพลทางอานาจ
หรือทางการทหารที่เหนือกว่าปกครองประเทศ
• ๒. “ยิ้นเจ่ง” การปกครองแบบธรรมานุภาพ ใช้คุณธรรม ความ
เมตตา กรุณา ปกครองให้เกิดสันติสุข
• “ผู้ที่ปกครองด้วยคุณธรรม ผู้นั้นจักสำมำรถตั้งตนเป็นจอม
จักรพรรดิรำชได้สำเร็จ โดยไม่จำเป็นต้องมีอำณำเขตแดนดินก
ว้ำงขวำงอะไรมำก มำเป็นขุมกำลัง จงดูพระเจ้าเซียงทึงเถิด
พระองค์อาศัยที่ดินเพียงเจ็ดสิบลี้เท่านั้น พระองค์ก็สามารถสร้างรัฐของ
พระองค์เองขึ้นมาได้...ฉะนั้น กำรใช้เดชำนุภำพทำให้ผู้อื่นเขำยอม
แพ้ นั่นไม่ใช่กำรยอมแพ้จำกใจจริง แต่เป็นเพรำะกำลังของเขำ
ไม่พอต่อสู้ เขำจึงจำต้องยอมแพ้ แต่ถ้ำใช้คุณำนุภำพ ทำให้ผู้แพ้
เขำยินยอม นั่นจึงจักเป็นกำรยอมแพ้ด้วยควำมยินดีจำกใจจริง
ของเขำ”
• การปกครองแบบธรรมานุภาพนั้น ต้องถือประโยชน์ของประชาชนเป็น
สาคัญก่อนสิ่งอื่นใด >> “ประชำชนสำคัญที่สุด ประเทศชำติสำคัญ
รองลงมำ ส่วนผู้ปกครองนั้นมีควำมสำคัญน้อยที่สุด”
• ในทัศนะของเม่งจื๊อ >> การมีอานาจครอบครองอาณาจักรได้นาน
นั้น ข้อสาคัญข้อเดียวคือ จะทาอย่างไรที่จะให้ประชาชนนิยมนับ
ถืออย่างจริงใจจริงใจ ??
• การทาให้ประชาชนนิยมนับถืออย่างจริงใจ >> ต้องทาให้ประชาชน
เกิดความศรัทธาในตัวผู้นาก่อน โดยผู้นาจะต้องทาสิ่งที่ประชาชน
ต้องการ งดเว้นสิ่งที่ประชาชนไม่ปรารถนา หากผู้นาทาได้
ดังกล่าวย่อมเป็นที่รักของประชาชน
• บ้านเมืองใดมีผู้นาไม่ดี ความไม่ดีของผู้นาจะทาให้พลเมืองต้อง
ผละหนีออกมาพึ่งประเทศที่มีผู้นามีคุณธรรม...ผู้นาที่ไม่ดีจึง
กลายเป็นคนขับต้อนราษฎรของตนให้ออกมาสวามิภักดิ์เมืองอื่น
โดยอัตโนมัติ
• เพราะเหตุนี้แม้เจ้านครที่ทรงศีล ทรงธรรม ถึงแม้จะไม่ปรารถนา
เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ แต่ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เพราะคน
ทั้งหลายทั่วแหล่งหล้าปรารถนาจะให้เป็น ^____^
คุณสมบัติของผู้ปกครองโดยธรรม
• ระบบการปกครองโดยธรรม เม่งจื๊อสอนให้ขยายจากจิตสันดาน
ภายในของตนออกไปหาภายนอก โดยถือว่า ธรรมชาติของมนุษย์นั้น
ย่อมมีความไม่ปรารถนาเบียดเบียนกันอยู่ในส่วนลึกของจิต
• “ความกรุณาชื่อว่าเป็นปทัฏฐานแห่งความเมตตา, ความละอายเกรง
กลัวต่อบาปเป็นปทัฏฐานแห่งความสุจริต, ความไม่ลาพองหยิ่งทะนง
เป็นปทัฏฐานแห่งนิติธรรมเนียมมารยาท และความเข้าใจเหตุผลอัน
สมควร ชื่อว่าเป็นปทัฏฐานแห่งปัญญา >> บุคคลซึ่งขยำยคุณสมบัติ
ทั้ง ๔ ให้ไพศำลแผ่ไปทั่วได้เช่นนี้ จึงจะรักษำรัฐสีมำมณฑลเอำไว้ได้
ตรงกันข้ามกับบุคคลที่มิอาจยังคุณสมบัติทั้ง ๔ ให้แผ่ออกไปได้ บุคคลนั้น
แม้แต่บิดามารดา เขาก็ยังไม่สามารถจักปฏิบัติเลี้ยงดูได้อย่างสมบูรณ์ ไม่
บกพร่องได้”
เม่งจื๊อสนทนากับพระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วง
• พระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วง : ท่านอาจารย์อุตส่าห์จาริกมาแต่ไกลถึงที่นี่ คงจะมี
วิธีการอันวิเศษที่จะอานวยประโยชน์ให้แก่รัฐงุ่ยเป็นแน่แท้
• เม่งจื๊อ : “...เมื่อทุกคนต่างพากันคานึงปรารถนาแต่จะได้มาซึ่ง
ประโยชน์ของตน ย่อมเกิดการแก่งแย่งผลประโยชน์ขึ้น รัฐใดเป็น
เช่นนี้ถือว่ารัฐนั้นตกอยู่ในภาวะอันตราย...พระองค์ได้เคยสดับอยู่
แลหรือว่า ผู้มีคุณสมบัติ เช่น เมตตา (ยิ้น,เหริน) และ ความ
ซื่อสัตย์สุจริต (หงี) ประจาใจ จักเป็นคนที่ทอดทิ้งไม่เหลียวแล
บิดา มารดา หรือว่าคิดทรยศ กบฏต่อพระมหากษัตริย์ ด้วยเหตุ
นี้ ข้าพเจ้าจึงขอให้พระองค์ตรัสถึงเรื่องเมตตาและซื่อสัตย์สุจริต
ก็พอแล้ว ไม่จาเป็นต้องตรัสถึงเรื่องผลประโยชน์”
• พระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วงปรับทุกข์ว่า : “เดี๋ยวนี้นครงุ่ยถูกศัตรูเล่นงานรอบ
ด้าน ด้านตะวันออกก็รบแพ้นครชี้...ด้านใต้ก็ถูกดูหมิ่นเหยียดหยามจาก
นครฌ้อ ฉันสุดที่จะอดทนต่อความอัปยศนี้ ตั้งใจจักล้างความอัปยศให้
หมด จะมีวิธีอย่างไรจึงจะบรรลุผลสาเร็จ?”
• เม่งจื๊อตอบว่า : ถึงมาตรว่าจะมีอาณาเขตเพียงสักหนึ่งร้อยลี้เท่านั้น
พระองค์ก็สามารถที่จะเป็นพระเจ้าจักรพรรดิครอบครองมหาปฐพีดลได้
โดยไม่ยากเลย ขอเพียงให้พระองค์จัดการปกครองรัฐโดยธรรม
ลดหย่อนการลงทัณฑกรรมที่รุนแรง อย่ารีดภาษีอากรจน
เหลือเกิน อบรมสั่งสอนให้ประชาชนรู้จักทาไร่ไถนา มีอาชีพเป็น
หลักฐานมั่นคง ให้ชนทั้งหลายซาบซึ้งในนิติธรรมเนียม ศีลธรรม
มีความกตัญญูกตเวทิตา และซื่อสัตย์สุจริต เมื่ออยู่ภายในบ้านก็
รู้จักเคารพนบนอบในบุพการีของตน ครั้นอยู่ภายนอกก็รู้จักเชื่อ
ฟังอ่อนน้อมต่อผู้บังคับบัญชา...ถ้าพระองค์ปกครองราษฎรได้ถึง
มาตรฐานเช่นนี้...เมื่อพระองค์กรีฑาทัพไปรบกับเจ้านครที่ฉ้อฉลต่อ
ประชาชน ก็จะไม่มีผู้ใดต่อกรกับพระองค์ ดังภาษิตที่ว่า “พระราชาที่
ประพฤติธรรม ย่อมปราศจากข้าศึกอาจต่อสู้ได้ในโลก”
เม่งจื๊อสนทนากับเจ้านครชี้
• เจ้านครชี้: บุคคลพึงมีคุณสมบัติประการใดบ้าง จึงจักเป็น
พระมหากษัตริย์ครอบครองรัฐได้?
• เม่งจื๊อ : “ต้องดำเนินกำรปกครองโดยธรรม ให้ควำมคุ้มครอง
ประชำชนอย่ำงแท้จริง...ขอให้ตั้งต้นด้วยกำรแผ่พระคุณขยำยปก
แผ่ออกไป พึงเริ่มจากเคารพเชื่อฟังบิดามารดาของตนเองก่อน แล้ว
ขยายออกไปเคารพเชื่อฟังบิดามารดาของผู้อื่นด้วย มีความเอ็นดูใน
บุตรหลานของตน แล้วขยายความเมตตาเอ็นดูนั้นให้ปกแผ่ไปถึง
ประชาชน คือมีความเมตตาเอ็นดูบุตรหลานของผู้อื่นด้วย ผู้ปกครอง
ดาเนินปฏิปทาดังนี้ ก็ชื่อว่ารัฐมณฑลอยู่ในหัตถ์ทีเดียว”
• เม่งจื๊อสอนให้เจ้านครชี้ปรับปรุงตนให้เรียบร้อยดีเสียก่อนที่จะคิดขยาย
อิทธิพล เขาสอนว่า
• “บัดนี้หากพระองค์จักสามารถสร้างระบบการปกครองโดยธรรมขึ้น
ได้ด้วยการแผ่พระคุณ...ผู้ปกครองที่ดีย่อมจัดการเศรษฐกิจของ
ประชาชนก่อน กาหนดให้ประชาชนมีทรัพย์สมบัติเพียงพอที่จะ
เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว สามารถที่จะใช้เลี้ยงดูบิดามารดาบุตร
ภริยาให้มีความสุข ในปีที่อุดมสมบูรณ์ก็มีอาหารรับอิ่มหมีพีมันตลอด
ทั้งปี ในปีที่แห้งแล้งก็อย่าให้มีคนอดอยากล้มตายลงได้ เมื่อจัดการ
กับเศรษฐกิจสาเร็จ จึงอบรมสั่งสอนประชาชนให้ตั้งอยู่ในอุดม
คติเบื้องสูงที่ดีงาม เมื่อทาได้อย่างนี้ประชาชนเขาก็จะอยู่ในบังคับ
บัญชาอย่างง่ายดาย
หน้าที่สาคัญของ
ผู้ปกครอง
• ๑. ทาให้ประชาชนมีความสุขอันเกิดจากกินดี อยู่ดี มีความ
ปลอดภัย ไม่กดขี่ รีดไถประชาชน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับประชาชน
• ๒. ทาให้ประชาชนได้รับการศึกษาวิทยาการต่างๆ ตลอดทั้งจารีต
ประเพณี มารยาทสังคม อีกทั้งให้การอบรมเพื่อให้เป็นพลเมืองดี
มีศีลธรรมประจาใจ
ทัศนะเม่งจื๊อ
ต่อสงคราม
• เม่งจื๊อกล่าวว่า “ผู้ใดที่ทาลายคุณสมบัติแห่งเมตตา ผู้นั้นเรียกว่าเป็น
มหาโจร ผู้ที่ทาลายคว่ามซื่อสัตย์สุจริต ชื่อว่าเป็นคนโหดร้าย ฉะนั้น
คนที่ไม่มีทั้งความเมตตา ปราศจากความซื่อสัตย์สุจริตอีกด้วย
เรียกว่าเป็นทรราชจอมเผด็จการ ข้าพเจ้าได้สดับแต่เรื่องพระเจ้า
จิวบูอ๊วง สาเร็จโทษทรราชจอมเผด็จการคนหนึ่ง มิได้เคยสดับว่า พระ
เจ้าจิวบูอ๊วงเป็นกบฏปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง”
• เม่งจื๊อมีทัศนะต่อต้านสงคราม เพราะสงครามย่อมนาความทุกข์
ยากอันใหญ่หลวงมาให้ประชาชน
• แต่เม่งจื๊อก็ยอมรับว่ามีสงครามที่เป็นธรรม ซึ่งก็คือสงครามที่ล้ม
ล้างผู้ปกครองที่ชั่วร้าย และต่อต้านการรุกราน
ปรัชญาด้านเศรษฐกิจของเม่งจื๊อ
• เม่งจื๊อได้วางแนวเศรษฐกิจสาหรับรัฐ ไว้ดังนี้
• ๑. ยกเลิกภาษีสินค้า
• ๒. กาหนดราคาสินค้า
• ๓. จัดสรรที่ดินให้ประชาชนทากิน
• ๔. ในสมัยเก็บเกี่ยวพืชผล ห้ามไม่ให้รัฐบาลเกณฑ์แรงราษฎร
• ๕. สงวนพันธุ์สัตว์น้า สัตว์บก และป่าไม้
• ๖. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนทาสวนครัว และทาอุตสาหกรรมใน
ครอบครัว
• ๗. สร้างโรงเรียน อบรมสั่งสอนจริยธรรม และวิชาความรู้แขนงต่างๆ
แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง
• *** เม่งจื๊อคัดค้านแนวคิดที่ให้ทุกคนต้องใช้แรงงานเหมือนกัน
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนTongsamut vorasan
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007Dream'Es W.c.
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒Evesu Goodevening
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์Padvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)Padvee Academy
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 

What's hot (20)

ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชนแนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
แนวคิดเรื่องกรรมและความจริงสูงสุดของศาสนาเชน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 00703ศาสนาเชน...ใหม่ 007
03ศาสนาเชน...ใหม่ 007
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒อริยสัจ ๔ ม.๒
อริยสัจ ๔ ม.๒
 
ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์ศาสนาคริสต์
ศาสนาคริสต์
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
ใบงาน2
ใบงาน2ใบงาน2
ใบงาน2
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
มงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถามงคลวิเสสกถา
มงคลวิเสสกถา
 

Similar to วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ

ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยAchara Sritavarit
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรniralai
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธniralai
 
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Phasuk Teerachat
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงSongsarid Ruecha
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddhaTongsamut vorasan
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมTongsamut vorasan
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนPanda Jing
 
9way2be richer
9way2be richer9way2be richer
9way2be richerisaramak
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาpentanino
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมniralai
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์Nattapong Manlee
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญาTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrailTongsamut vorasan
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรPanda Jing
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมKiat Chaloemkiat
 

Similar to วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ (20)

ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัยชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
ชวิตนี้มีแต่สุข_อ.เฉลิมชัย
 
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตรครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
ครูมิใช่ช่างปั้นอันวิจิตร
 
กลอน
กลอนกลอน
กลอน
 
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
ศึกษาวิถีธรรมวิถีพุทธ
 
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
Wateb หนังสือ เก้าสิบเจ็ดปีแล้ว...สักการแก้วอรหันต์
 
คำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวงคำอริยะถึงในหลวง
คำอริยะถึงในหลวง
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
7 ก้าวย่างอย่างพุทธะ walklikebuddha
 
5 laws for nida
5 laws for nida5 laws for nida
5 laws for nida
 
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรมหลวงปู่มั่น ภูริทัตโต    ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต ขันธะวิมุติสะมังคีธรรม
 
ตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหนตายแล้วไปไหน
ตายแล้วไปไหน
 
9way2be richer
9way2be richer9way2be richer
9way2be richer
 
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนาศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
ศึกษาเรื่องหนี้ตามทัศนะทางพระพุทธศาสนา
 
กลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคมกลอนครูและคำคม
กลอนครูและคำคม
 
สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์สาส์นนิเทศศาสตร์
สาส์นนิเทศศาสตร์
 
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญาสุภีร์ ทุมทอง   สติปัญญา
สุภีร์ ทุมทอง สติปัญญา
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 
กัยลาณธรรม
กัยลาณธรรมกัยลาณธรรม
กัยลาณธรรม
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ

  • 2. • “...สำหรับบรรดำเจ้ำผู้ครองแคว้นทั้งหลำยแล้ว คำพูดของเม่งจื๊อ เป็นเหมือนคำสวดมนต์ของพวกหมอผี ไม่มีพื้นฐำนของควำม เป็นจริงรองรับแต่อย่ำงใด...” (สุมาเฉี๋ยน) • ทาไมเป็นเช่นนี้หล่ะ ?? *____*
  • 3. • “นับตั้งแต่มนุษย์เกิดมำในโลก เรื่อยมำจนถึงปัจจุบัน ยังไม่มีบุคคล ใดที่พอจะถือได้ว่ำ เป็นขงจื๊อคนที่ ๒ ได้เลย...ควำมปรำรถนำของข้ำพเจ้ำ ก็คือเรียนให้มำก เพื่อจะได้เป็นอย่ำง ขงจื๊อ...ถึงแม้ข้ำพเจ้ำจะไม่สำมำรถ เป็นศิษย์ของขงจื๊อได้ทัน แต่ข้ำพเจ้ำ ก็จะพยำยำมศึกษำและเจริญ คุณธรรมของขงจื๊อเอำจำกบุคคลผู้ เคยเป็นสำนุศิษย์ของท่ำนมำ” • “สิ่งที่ข้ำพเจ้ำสอนไม่มีอะไรใหม่ ขงจื๊อผู้เป็นใหญ่ได้สอนไว้ก่อนหน้ำ ข้ำพเจ้ำแล้ว”
  • 4. เม่งจื๊อ คือ ใคร? • ลัทธิปรัชญาของขงจื๊อได้รับการขยายความ และรุ่งเรืองยิ่งขึ้นโดยเม่งจื๊อ • เม่งจื๊อชื่อเดิมว่า “คอ” เป็นชาวเมืองโซว่ (Tsou) ปัจจุบันเป็นอาเภอโซ่วเซียน (Tsou Hsien) ในแคว้นลู้ หรือมณฑลชาน ตุงในปัจจุบัน • เกิดประมาณร้อยปีเศษหลังจากขงจื๊อ เสียชีวิต คือ ประมาณ พ.ศ. ๑๗๑-๑๗๒ และ สิ้นชีพ พ.ศ. ๒๕๔ รวมอายุ ๘๒ ปี (อ.เสถียร โพธินันทะ- เม่งจื๊อเกิด พ.ศ. ๑๕๔ เสียชีวิต พ.ศ. ๒๒๘ รวมอายุ ๘๔ ปี)
  • 5. เม่งจื๊อ คือ ใคร? • สมัยเม่งจื๊อเป็นเด็กได้รับความยากลาบาก เพราะบิดาตายจากไปเมื่อ เม่งจื๊ออายุได้ ๓ ขวบ ปล่อยให้นางเจียงสี มารดาต้อง เลี้ยงดูลูกตามลาพัง • เม่งจื๊อสมัยที่ยังเป็นเด็กมีนิสัยชอบเลียนแบบ เอาอย่างสิ่งที่ตนพบเห็น จึงเป็นเหตุให้นาง เจียงสีต้องอพยพย้ายบ้านถึง ๓ ครั้ง เพื่อหา สิ่งแวดล้อมที่ดีงามให้แก่เด็กน้อยเม่งจื๊อ เพื่อให้ลูกน้อยของนางได้เป็นผู้ดีมีศักดิ์สูงตาม บรรพบุรุษซึ่งเป็นตระกูลผู้ดีเม่งซุน สุดท้ายได้ ย้ายมาอยู่ใกล้กับโรงเรียน แวดล้อมด้วย คนมีการศึกษาและมีมารยาทสัมมาคารวะ
  • 6. • เด็กน้อยเม่งจื๊อ : ข้างบ้านฆ่าหมู ไม่รู้ว่าจะเอาไปทาอะไร? • มารดา : คงจะเอามาให้ลูกกิน
  • 7. • “แม่ทนลาบากทุกอย่างเพื่อหารายได้มาส่งให้ลูกเรียน แต่ลูก เรียนหนังสือไม่แสวงหาความก้าวหน้า มันก็เหมือนกับแม่ตัดผ้าที่ทอ ขาด การเรียนทอดทิ้งครึ่งๆกลางๆ แล้วจะหวังให้ได้รับความสาเร็จ ในวันข้างหน้าได้อย่างไร?
  • 8. • เมื่อเจริญวัย เม่งจื๊อได้เข้าศึกษาในสานัก เรียนขงจื๊อ โดยเป็นศิษย์ของ “จื้อซือ” ศิษย์ผู้สืบลัทธิขงจื๊อชั้นที่ ๓ เม่งจื๊อเป็น ศิษย์ก้นกุฏิของจื้อซือ และเป็นศิษย์ชั้นที่ ๔ ของขงจื๊อ • เมื่อจบการศึกษา เม่งจื๊อได้เดินทางไปรับ ราชการในราชสานักพระเจ้าชี้ซวนอ๊วง แห่งรัฐชี้ต่อมาเห็นทางบ้านเมืองไม่ ดาเนินตามปรัชญาของตน จึงลาออกไป รับราชการในแคว้นเนี้ย ก็ประสบความ ผิดหวังอีก • คิดว่าทาไม เม่งจื๊อถึงผิดหวัง??
  • 9. • เม่งจื๊อได้เที่ยวไปตามนครน้อยใหญ่เพื่อเสนอปรัชญาของตน แต่ก็ไม่มี ใครยอมทาตามอุดมคติทางการเมืองของเขา มีแต่สดุดีว่าทัศนะของ เม่งจื๊อดีจริง ทั้งนี้เพราะเจ้าเมืองรัฐต่างๆ ในสมัยนั้น คิดแต่จะรุกรานรัฐ อื่น แย่งชิงอานาจ ไม่ได้ด้วยเล่ห์ก็เอาด้วยกล แต่ปรัชญาของเม่งจื๊อกลับสอนตรงกัน ข้าม คือให้มีความเห็นอกเห็นใจกัน และ สอนให้นักปกครองปรับปรุงตนให้ได้ เสียก่อน แล้วจึงค่อยไปปกครองผู้อื่น เม่งจื๊อเห็นไม่เป็นผลสาเร็จในงานราชการ แล้ว จึงกลับมาใช้ชีวิตในมาตุภูมิ อบรมสั่ง สอนศิลปะวิทยาการแก่นักศึกษาจวบจน วาระสุดท้ายของชีวิต
  • 10. • เม่งจื๊อได้รวบรวมคาสอนของขงจื๊อ เรียกว่า “หนังสือประมวลคาสั่งสอนของขงจื๊อ” (ลุนยู) • เม่งจื๊อเป็นบุคคลที่มีความสามารถในการพูดที่จับ ใจ มีความกล้าหาญทางจริยธรรม และมี สติปัญญาอันลึกซึ้ง เป็นบุคคลที่เผยแพร่คา สอนของขงจื๊อออกไปอย่างกว้างขวาง และ โจมตีคาสอนที่บิดเบือนไปจากปรัชญาของ ขงจื๊อด้วย เช่น.... • ได้รับยกย่องว่า เป็นนักปรัชญาจีนคนที่สาคัญ ที่สุดรองลงไปจากขงจื๊อ >> ปรมาจารย์คนที่ สอง
  • 11. ปรัชญาของเม่งจื๊อ - ทรรศนะเกี่ยวกับธรรมชาติของมนุษย์ • ธรรมชาติของจิตใจมนุษย์มีสภาพเป็นความดีงามโดยกาเนิด มี สภาพเป็นกุศล ประกอบไปด้วยคุณธรรม เรียกว่า “แซ่เสียง” >> มนุษย์ทุกคนไม่ปรารถนาเป็นคนเลว แต่ที่ต้องกลายเป็นคนชั่ว ช้าไป ก็เพราะสิ่งแวดล้อมและการอบรมทาให้เป็นเช่นนั้น • เม่งจื๊อยอมรับว่ามีธรรมชาติส่วนหนึ่งที่ไม่ดีไม่เลวในตัวของมันเอง เช่น ความต้องการ สัญชาตญาณต่างๆ ขึ้นอยู่กับการอบรมและพัฒนา คุณธรรมที่มีอยู่
  • 12. • “ธรรมชำติจิตสันดำนอันดีงำมของคนนั้น อุปมำดังน้ำที่มี ธรรมชำติไหลไปสู่ที่ต่ำเสมอ ส่วนกำรที่น้ำต้องไหลไปสู่ที่สูงนั้น ผิดธรรมชำติ เกิดจำกเหตุอื่นมำผลักดันให้น้ำต้องไหลฝืน ธรรมชำติ คนที่ทำควำมชั่วก็เช่นกัน ไม่ใช่ธรรมชำติดั้งเดิมของ เขำ แต่ถูกอำนำจอื่นมำผลักดันให้ทำ อย่างเช่น ปีใดพืชพันธุ์ ธัญญาหารสมบูรณ์ ผู้คนก็ประพฤติตัวดีมีศีลธรรม แต่ปีใดการเก็บเกี่ยว ไม่ได้ผล โจรผู้ร้ายก็เกิดมีขึ้น...นี้มิใช่หมายความว่าธรรมชาติจิตสันดาน ของคนเหล่านี้แตกต่างกันเลย สาเหตุทาให้ผิดแปลกออกไปก็ เนื่องมาจากสถานการณ์แวดล้อม ทาให้หิวโหยลาบาก ถึงได้ลุแก่ความ ชั่วไปได้”
  • 15. • เฉลย ***บัณฑิตรู้จักนาธรรมชาติอันดีของตนออกมาใช้ให้เป็น ประโยชน์ทั้งแก่ตนเองและผู้อื่น ***ส่วนสามัญชน (หรือ พาล ชน)กลับหลงลืมธรรมชาติอันดีงามนั้น พอลืมไปนานๆ ก็คิดว่า คุณธรรมต่างๆ ไม่มีในตน หรือพลัดพรากจากตนไปหมดแล้ว “....อันว่าธรรมชาติสันดานแห่ง ปวงมนุษย์ก็ฉันนั้น ไฉนเลยจักไม่มี ความเมตตา สุจริตธรรมอันดีงาม เป็นพื้นเพอยู่ เท่าที่เขาทอดทิ้ง คุณสมบัติเหล่านั้นไปเสีย ก็ เช่นเดียวกับต้นไม้บนภูเขา ถูกขุด โค่นทาลายลงทุกวัน เมื่อเป็นเช่นนี้ จักให้เขาเป็นคนดีได้อย่างไรเล่า ?
  • 16. คุณสมบัติในธรรมชาติแห่งมนุษย์ • ในธรรมชาติของมนุษย์นั้น มี คุณสมบัติหรือเมล็ดพันธุ์แห่ง ความดีงามอยู่แล้ว และ สามารถพัฒนาให้เจริญงอก งามขึ้นได้ตามลาดับ • คุณธรรม หรือเมล็ดพันธุ์แห่ง ความดีงามในจิตใจอันเป็น ธรรมชาติของมนุษย์นั้น ได้แก่ คุณสมบัติ ๔ ประการ คือ
  • 17. • ๑. ความรู้สึกเห็นอกเห็นใจผู้อื่น หรือ “ความเมตตา” (ยิ้น หรือ เหริน) • คือ ไม่มีดวงจิตใดโดยสภาพปกติจะเฉยเมยต่อความทุกข์ทรมานของชีวิต อื่นๆ ได้ โดยไม่เกิดความรู้สึกเวทนาสงสาร
  • 18. • ๒. ความรู้สึกละอายใจและรังเกียจต่อความชั่ว หรือ “คุณธรรม ซื่อสัตย์” (หงี) >> จิตทุกดวงโดยสภาพปกติมีความรู้สึกละอายใจและ รังเกียจต่อความชั่ว เป็นจุดเริ่มต้นของการยึดมั่นในศีลธรรม และพัฒนา มาเป็นความซื่อสัตย์ Don't Tell Secrets to a Parrot "If anyone comes, tell them that I am not here"
  • 19. • ๓. ความรู้สึกในความมีสัมมา คาระ อ่อนน้อมหรือ นิติธรรม เนียม (โล้ย) >> ความสุภาพเป็น บ่อเกิดหรือจุดเริ่มต้นของการปฏิบัติ อันงดงาม เหมาะสม หรือ นิติธรรม เนียม
  • 20. • ๔. ความรู้สึกในเหตุผล รู้ผิดชอบชั่วดี หรือ สติปัญญา (ตี่) • ความสามารถทางพุทธิปัญญา อันเป็นจุดเริ่มต้นของปัญญา Three Men Share Wisdom & Knowledge
  • 21. • เม่งจื๊อเชื่อว่า จุดมุ่งหมายของการศึกษาวิทยาการต่างๆ ก็เพื่อ แสวงหาคุณธรรมที่หายไป ดังที่เม่งจื๊อกล่าวว่า • “...อันกำรศึกษำวิทยำกำรนั้น ไม่มีอะไรอื่นนอกจำกเพื่อติดตำม ค้นหำคุณสมบัติที่พรำกหำยจำกจิตสันดำนให้กลับคืนมำเท่ำนั้น” (ควำมเมตตำ หิริโอตตัปปะ นิติธรรมเนียม สติปัญญำ)*** • คุณสมบัติทั้ง ๔ ย่อได้เป็นคาพูด ๔ คา >> • “ความรู้ถูกต้องที่สุจริต เรียกว่า เลี้ยงใจ” • “ความสามารถที่ถูกต้องที่สุจริตในการปฏิบัติตามความรู้นั้น เรียกว่า เลี้ยงเล้ง” • ผู้ขาดคุณธรรมทั้ง ๔ ย่อมไม่ใช่มนุษย์
  • 22. • เมื่อทุกคนมีความรู้ที่ดี ความสามารถที่ดี (มีคุณสมบัติทั้ง ๔ ประการ) ทุกคนก็อาจมีฐานะทัดเทียมกันได้ด้วยความรู้สึกและความสามารถ • เม่งจื๊อสอนว่า ทุกคนสามารถเป็นพระเจ้าเงี้ยว พระเจ้าซุ่นได้ ถ้าทุกคนใช้ ความรู้ ความสามารถที่มีอยู่เป็นทุนในตนให้ขยายออกมา เท่าเทียมกับ กษัตริย์ทั้ง ๒ พระองค์
  • 23. • “จงอย่ำทำสิ่งที่ควำมรู้สึกของตนบอกว่ำไม่ ควรทำ จงอย่ำปรำรถนำในสิ่งที่ควำมรู้สึกของ ตนบอกว่ำไม่ควรปรำรถนำ เรื่องของ มนุษยธรรมมีเพียงเท่ำนี้” • บัณฑิตมีความสุขอยู่ ๓ ประการ • ๑. บิดา มารดาท่านอยู่บริบูรณ์ ญาติพี่น้องมี ความสามัคคี รักกัน • ๒. เมื่อสารวมตนเองแล้ว ก็ไม่มีข้อเสียหาย บกพร่องในสายตาของเทพยดาฟ้ าดินและใน สายตาของมนุษย์ • ๓. ได้คนดีมีความสามารถมาเลี้ยงดู คติชีวิตของเม่งจื๊อ
  • 24. คติชีวิตของเม่งจื๊อ - ยึดมั่นในคุณธรรม • “บัณฑิตในยำมตกอับ ก็ไม่ละทิ้งควำมซื่อสัตย์สุจริต ในยำม รุ่งเรืองก็ไม่เหินห่ำงอุดมคติอันดีงำม เมื่อไม่ละทิ้งควำมซื่อสัตย์ ชื่อว่ำเป็นผู้คุ้มครองชื่อเสียงของตนเองไว้ เมื่อไม่เหินห่ำงอุดม คติอันดีงำม ประชำชนเขำก็ไม่ผิดหวังในตัวเรำ ในยำมตกอับ พยำยำมรักษำตน สร้ำงเกียรติยศชื่อเสียงไว้แก่ชนเบื้องหลัง ใน ยำมรุ่งเรืองก็จงทำให้สังคมพลอยมีควำมสุข ควำมเจริญด้วย” “ในสมัยที่คนทั้งหลำยถือธรรมเป็นใหญ่ เรำต้องยึดมั่นในธรรม บำเพ็ญ ประโยชน์ต่อประเทศชำติ ในสมัยที่คนทั้งหลำยถืออธรรมเป็นใหญ่ เรำก็ จงสละชีวิตเสียได้เพื่อรักษำธรรมไว้”
  • 25. ปรัชญาการเมืองของเม่งจื๊อ • เม่งจื๊อได้แบ่งลักษณะการปกครองออกเป็น ๒ ประเภท • ๑. “ป้ าเจ่ง” การปกครองแบบเดชานุภาพ ใช้อิทธิพลทางอานาจ หรือทางการทหารที่เหนือกว่าปกครองประเทศ • ๒. “ยิ้นเจ่ง” การปกครองแบบธรรมานุภาพ ใช้คุณธรรม ความ เมตตา กรุณา ปกครองให้เกิดสันติสุข
  • 26. • “ผู้ที่ปกครองด้วยคุณธรรม ผู้นั้นจักสำมำรถตั้งตนเป็นจอม จักรพรรดิรำชได้สำเร็จ โดยไม่จำเป็นต้องมีอำณำเขตแดนดินก ว้ำงขวำงอะไรมำก มำเป็นขุมกำลัง จงดูพระเจ้าเซียงทึงเถิด พระองค์อาศัยที่ดินเพียงเจ็ดสิบลี้เท่านั้น พระองค์ก็สามารถสร้างรัฐของ พระองค์เองขึ้นมาได้...ฉะนั้น กำรใช้เดชำนุภำพทำให้ผู้อื่นเขำยอม แพ้ นั่นไม่ใช่กำรยอมแพ้จำกใจจริง แต่เป็นเพรำะกำลังของเขำ ไม่พอต่อสู้ เขำจึงจำต้องยอมแพ้ แต่ถ้ำใช้คุณำนุภำพ ทำให้ผู้แพ้ เขำยินยอม นั่นจึงจักเป็นกำรยอมแพ้ด้วยควำมยินดีจำกใจจริง ของเขำ”
  • 27. • การปกครองแบบธรรมานุภาพนั้น ต้องถือประโยชน์ของประชาชนเป็น สาคัญก่อนสิ่งอื่นใด >> “ประชำชนสำคัญที่สุด ประเทศชำติสำคัญ รองลงมำ ส่วนผู้ปกครองนั้นมีควำมสำคัญน้อยที่สุด” • ในทัศนะของเม่งจื๊อ >> การมีอานาจครอบครองอาณาจักรได้นาน นั้น ข้อสาคัญข้อเดียวคือ จะทาอย่างไรที่จะให้ประชาชนนิยมนับ ถืออย่างจริงใจจริงใจ ??
  • 28. • การทาให้ประชาชนนิยมนับถืออย่างจริงใจ >> ต้องทาให้ประชาชน เกิดความศรัทธาในตัวผู้นาก่อน โดยผู้นาจะต้องทาสิ่งที่ประชาชน ต้องการ งดเว้นสิ่งที่ประชาชนไม่ปรารถนา หากผู้นาทาได้ ดังกล่าวย่อมเป็นที่รักของประชาชน • บ้านเมืองใดมีผู้นาไม่ดี ความไม่ดีของผู้นาจะทาให้พลเมืองต้อง ผละหนีออกมาพึ่งประเทศที่มีผู้นามีคุณธรรม...ผู้นาที่ไม่ดีจึง กลายเป็นคนขับต้อนราษฎรของตนให้ออกมาสวามิภักดิ์เมืองอื่น โดยอัตโนมัติ • เพราะเหตุนี้แม้เจ้านครที่ทรงศีล ทรงธรรม ถึงแม้จะไม่ปรารถนา เป็นพระเจ้าจักรพรรดิ แต่ก็ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ เพราะคน ทั้งหลายทั่วแหล่งหล้าปรารถนาจะให้เป็น ^____^
  • 29. คุณสมบัติของผู้ปกครองโดยธรรม • ระบบการปกครองโดยธรรม เม่งจื๊อสอนให้ขยายจากจิตสันดาน ภายในของตนออกไปหาภายนอก โดยถือว่า ธรรมชาติของมนุษย์นั้น ย่อมมีความไม่ปรารถนาเบียดเบียนกันอยู่ในส่วนลึกของจิต • “ความกรุณาชื่อว่าเป็นปทัฏฐานแห่งความเมตตา, ความละอายเกรง กลัวต่อบาปเป็นปทัฏฐานแห่งความสุจริต, ความไม่ลาพองหยิ่งทะนง เป็นปทัฏฐานแห่งนิติธรรมเนียมมารยาท และความเข้าใจเหตุผลอัน สมควร ชื่อว่าเป็นปทัฏฐานแห่งปัญญา >> บุคคลซึ่งขยำยคุณสมบัติ ทั้ง ๔ ให้ไพศำลแผ่ไปทั่วได้เช่นนี้ จึงจะรักษำรัฐสีมำมณฑลเอำไว้ได้ ตรงกันข้ามกับบุคคลที่มิอาจยังคุณสมบัติทั้ง ๔ ให้แผ่ออกไปได้ บุคคลนั้น แม้แต่บิดามารดา เขาก็ยังไม่สามารถจักปฏิบัติเลี้ยงดูได้อย่างสมบูรณ์ ไม่ บกพร่องได้”
  • 30. เม่งจื๊อสนทนากับพระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วง • พระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วง : ท่านอาจารย์อุตส่าห์จาริกมาแต่ไกลถึงที่นี่ คงจะมี วิธีการอันวิเศษที่จะอานวยประโยชน์ให้แก่รัฐงุ่ยเป็นแน่แท้ • เม่งจื๊อ : “...เมื่อทุกคนต่างพากันคานึงปรารถนาแต่จะได้มาซึ่ง ประโยชน์ของตน ย่อมเกิดการแก่งแย่งผลประโยชน์ขึ้น รัฐใดเป็น เช่นนี้ถือว่ารัฐนั้นตกอยู่ในภาวะอันตราย...พระองค์ได้เคยสดับอยู่ แลหรือว่า ผู้มีคุณสมบัติ เช่น เมตตา (ยิ้น,เหริน) และ ความ ซื่อสัตย์สุจริต (หงี) ประจาใจ จักเป็นคนที่ทอดทิ้งไม่เหลียวแล บิดา มารดา หรือว่าคิดทรยศ กบฏต่อพระมหากษัตริย์ ด้วยเหตุ นี้ ข้าพเจ้าจึงขอให้พระองค์ตรัสถึงเรื่องเมตตาและซื่อสัตย์สุจริต ก็พอแล้ว ไม่จาเป็นต้องตรัสถึงเรื่องผลประโยชน์”
  • 31. • พระเจ้าเนี้ยฮุ้ยอ๊วงปรับทุกข์ว่า : “เดี๋ยวนี้นครงุ่ยถูกศัตรูเล่นงานรอบ ด้าน ด้านตะวันออกก็รบแพ้นครชี้...ด้านใต้ก็ถูกดูหมิ่นเหยียดหยามจาก นครฌ้อ ฉันสุดที่จะอดทนต่อความอัปยศนี้ ตั้งใจจักล้างความอัปยศให้ หมด จะมีวิธีอย่างไรจึงจะบรรลุผลสาเร็จ?”
  • 32. • เม่งจื๊อตอบว่า : ถึงมาตรว่าจะมีอาณาเขตเพียงสักหนึ่งร้อยลี้เท่านั้น พระองค์ก็สามารถที่จะเป็นพระเจ้าจักรพรรดิครอบครองมหาปฐพีดลได้ โดยไม่ยากเลย ขอเพียงให้พระองค์จัดการปกครองรัฐโดยธรรม ลดหย่อนการลงทัณฑกรรมที่รุนแรง อย่ารีดภาษีอากรจน เหลือเกิน อบรมสั่งสอนให้ประชาชนรู้จักทาไร่ไถนา มีอาชีพเป็น หลักฐานมั่นคง ให้ชนทั้งหลายซาบซึ้งในนิติธรรมเนียม ศีลธรรม มีความกตัญญูกตเวทิตา และซื่อสัตย์สุจริต เมื่ออยู่ภายในบ้านก็ รู้จักเคารพนบนอบในบุพการีของตน ครั้นอยู่ภายนอกก็รู้จักเชื่อ ฟังอ่อนน้อมต่อผู้บังคับบัญชา...ถ้าพระองค์ปกครองราษฎรได้ถึง มาตรฐานเช่นนี้...เมื่อพระองค์กรีฑาทัพไปรบกับเจ้านครที่ฉ้อฉลต่อ ประชาชน ก็จะไม่มีผู้ใดต่อกรกับพระองค์ ดังภาษิตที่ว่า “พระราชาที่ ประพฤติธรรม ย่อมปราศจากข้าศึกอาจต่อสู้ได้ในโลก”
  • 33. เม่งจื๊อสนทนากับเจ้านครชี้ • เจ้านครชี้: บุคคลพึงมีคุณสมบัติประการใดบ้าง จึงจักเป็น พระมหากษัตริย์ครอบครองรัฐได้? • เม่งจื๊อ : “ต้องดำเนินกำรปกครองโดยธรรม ให้ควำมคุ้มครอง ประชำชนอย่ำงแท้จริง...ขอให้ตั้งต้นด้วยกำรแผ่พระคุณขยำยปก แผ่ออกไป พึงเริ่มจากเคารพเชื่อฟังบิดามารดาของตนเองก่อน แล้ว ขยายออกไปเคารพเชื่อฟังบิดามารดาของผู้อื่นด้วย มีความเอ็นดูใน บุตรหลานของตน แล้วขยายความเมตตาเอ็นดูนั้นให้ปกแผ่ไปถึง ประชาชน คือมีความเมตตาเอ็นดูบุตรหลานของผู้อื่นด้วย ผู้ปกครอง ดาเนินปฏิปทาดังนี้ ก็ชื่อว่ารัฐมณฑลอยู่ในหัตถ์ทีเดียว”
  • 34. • เม่งจื๊อสอนให้เจ้านครชี้ปรับปรุงตนให้เรียบร้อยดีเสียก่อนที่จะคิดขยาย อิทธิพล เขาสอนว่า • “บัดนี้หากพระองค์จักสามารถสร้างระบบการปกครองโดยธรรมขึ้น ได้ด้วยการแผ่พระคุณ...ผู้ปกครองที่ดีย่อมจัดการเศรษฐกิจของ ประชาชนก่อน กาหนดให้ประชาชนมีทรัพย์สมบัติเพียงพอที่จะ เลี้ยงดูตนเองและครอบครัว สามารถที่จะใช้เลี้ยงดูบิดามารดาบุตร ภริยาให้มีความสุข ในปีที่อุดมสมบูรณ์ก็มีอาหารรับอิ่มหมีพีมันตลอด ทั้งปี ในปีที่แห้งแล้งก็อย่าให้มีคนอดอยากล้มตายลงได้ เมื่อจัดการ กับเศรษฐกิจสาเร็จ จึงอบรมสั่งสอนประชาชนให้ตั้งอยู่ในอุดม คติเบื้องสูงที่ดีงาม เมื่อทาได้อย่างนี้ประชาชนเขาก็จะอยู่ในบังคับ บัญชาอย่างง่ายดาย
  • 35. หน้าที่สาคัญของ ผู้ปกครอง • ๑. ทาให้ประชาชนมีความสุขอันเกิดจากกินดี อยู่ดี มีความ ปลอดภัย ไม่กดขี่ รีดไถประชาชน ร่วมทุกข์ร่วมสุขกับประชาชน • ๒. ทาให้ประชาชนได้รับการศึกษาวิทยาการต่างๆ ตลอดทั้งจารีต ประเพณี มารยาทสังคม อีกทั้งให้การอบรมเพื่อให้เป็นพลเมืองดี มีศีลธรรมประจาใจ
  • 36. ทัศนะเม่งจื๊อ ต่อสงคราม • เม่งจื๊อกล่าวว่า “ผู้ใดที่ทาลายคุณสมบัติแห่งเมตตา ผู้นั้นเรียกว่าเป็น มหาโจร ผู้ที่ทาลายคว่ามซื่อสัตย์สุจริต ชื่อว่าเป็นคนโหดร้าย ฉะนั้น คนที่ไม่มีทั้งความเมตตา ปราศจากความซื่อสัตย์สุจริตอีกด้วย เรียกว่าเป็นทรราชจอมเผด็จการ ข้าพเจ้าได้สดับแต่เรื่องพระเจ้า จิวบูอ๊วง สาเร็จโทษทรราชจอมเผด็จการคนหนึ่ง มิได้เคยสดับว่า พระ เจ้าจิวบูอ๊วงเป็นกบฏปลงพระชนม์พระมหากษัตริย์พระองค์หนึ่ง”
  • 37. • เม่งจื๊อมีทัศนะต่อต้านสงคราม เพราะสงครามย่อมนาความทุกข์ ยากอันใหญ่หลวงมาให้ประชาชน • แต่เม่งจื๊อก็ยอมรับว่ามีสงครามที่เป็นธรรม ซึ่งก็คือสงครามที่ล้ม ล้างผู้ปกครองที่ชั่วร้าย และต่อต้านการรุกราน
  • 38. ปรัชญาด้านเศรษฐกิจของเม่งจื๊อ • เม่งจื๊อได้วางแนวเศรษฐกิจสาหรับรัฐ ไว้ดังนี้ • ๑. ยกเลิกภาษีสินค้า • ๒. กาหนดราคาสินค้า • ๓. จัดสรรที่ดินให้ประชาชนทากิน • ๔. ในสมัยเก็บเกี่ยวพืชผล ห้ามไม่ให้รัฐบาลเกณฑ์แรงราษฎร • ๕. สงวนพันธุ์สัตว์น้า สัตว์บก และป่าไม้ • ๖. ส่งเสริมให้ทุกครัวเรือนทาสวนครัว และทาอุตสาหกรรมใน ครอบครัว • ๗. สร้างโรงเรียน อบรมสั่งสอนจริยธรรม และวิชาความรู้แขนงต่างๆ แก่ประชาชนอย่างทั่วถึง • *** เม่งจื๊อคัดค้านแนวคิดที่ให้ทุกคนต้องใช้แรงงานเหมือนกัน
  • 39.