SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
หัวข้อในการนาเสนอ
• ความรู้เบื้องต้นเรื่องจักรวาลวิทยา
• จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
• โลกในพุทธปรัชญาเถรวาท
• การกาเนิดและความเสื่อมของจักรวาล โลกและมนุษย์
ความรู้เบื้องต้นเรื่องจักรวาลวิทยา
• “จักรวาล” หมายถึง
▫ ปริมณฑล ประชุม หมู่ บริเวณโดยรอบของโลก
(พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน)
• “จักรวาลวิทยา” หมายถึง
▫ ความรู้ที่ว่าด้วยเรื่องโลกและบริเวณโดยรอบของโลก หรือความรู้
เกี่ยวกับโลกและสรรพสิ่ง
ความรู้เบื้องต้นเรื่องจักรวาลวิทยา
๑๑
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
• จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท คือ
• การศึกษาเรื่องความเป็นไปของโลก จักรวาล และสิ่งมีชีวิต
ตั้งแต่การเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และการเสื่อมสลายไป โดยการศึกษา
จากคาสอนที่ปรากฏในพระไตรปิ ฎกและคัมภีร์สาคัญทางพุทธ
ศาสนาฝ่ายเถรวาท เพื่อเตือนสติให้ผู้ศึกษาเข้าใจชีวิตได้อย่าง
ถูกต้อง
๒
จักรวาล
ทางพุทธปรัชญา
จักรวาล
ทางวิทยาศาสตร์
๒
• “จักรวาล” ตามรูปศัพท์ในภาษาบาลีท่านใช้คาว่า “จกฺกวาฬ”
• ซึ่งวิเคราะห์ตามศัพท์ว่า ย่อมผันไปราวกะจักร อธิบายว่า
เคลื่อนไป คือ หมุนไป ราวกะล้อของรถ คือ ย่อมเป็นวงกลม
ราวกะล้อรถ
ลักษณะของ “จักรวาล”
พระสิริมังคลาจารย์, จักรวาฬทีปนี, หน้า ๑.
ขอบเขตและจานวนของจักรวาล
• ในโรหิตัสสสูตร ที่ ๑ ขยายนัยของประเด็นนี้เอาไว้ว่า
• “ฤาษีตนหนึ่งชื่อ “โรหิตัสสะ” มีฤทธิ์เหาะไปในอากาศได้ มีความ
ปรารถนาที่จะค้นพบเส้นขอบแห่งจักรวาลที่สุดแห่งโลก ท่านงด
เว้นการกิน การดื่ม การขับถ่าย การนอนหลับพักผ่อน แล้วเหาะ
ไปหาที่สุดแห่งจักรวาล ก็ไม่พบเส้นขอบของโลกและจักรวาลสัก
ที พบแต่ความกว้างไกลหาที่สุดมิได้”
ดูรายละเอียดใน องฺ. จตุกฺก (ไทย) ๒๑/๔๕/๗๓-๗๕.
๓
ขอบเขตและจานวนของจักรวาล
• ในจูฬนิกาสูตรได้แสดงให้เห็นว่าพระพุทธเจ้าทรงหยั่งรู้ว่ามี
โลกธาตุอื่นๆ อีกจานวนมากมายนับไม่ถ้วน
ดูรายละเอียดใน องฺ. ติก. (ไทย) ๒๐/๘๑/๓๐๖.
“อานนท์ (โลก) นี้เรียกว่าโลกธาตุ ขนาดเล็ก ซึ่งมีจานวน ๑,๐๐๐
จักรวาล โลกคูณด้วยส่วนพันแห่งโลกธาตุขนาดอย่างเล็ก ซึ่งมี ๑,๐๐๐
จักรวาลนั้น เรียกว่า โลกธาตุขนาดกลาง ซึ่งมีจานวน ๑,๐๐๐,๐๐๐
จักรวาล โลกคูณด้วยส่วนพันแห่งโลกธาตุขนาดกลางมีล้านจักรวาล
นั้น เรียกว่าโลกธาตุขนาดใหญ่ ซึ่งมีจานวน ๑๐๐,๐๐๐ โกฏิจักรวาล”
๔
ขอบเขตและจานวนของจักรวาล
• ในทัศนะของอรรถกถาจารย์
• “จักรวาลหนึ่งมีความยาว ๑,๒๐๓,๔๕๐ โยชน์ วัดโดยรอบได้
๓,๖๑๐,๓๕๐ โยชน์ แผ่นดินนั้นมีความหนา ๒๔๐,๐๐๐ โยชน์ น้า
สาหรับรองแผ่นดินนั้น มีความหนาประมาณ ๔๘,๐๐๐ โยชน์
และมีลมสาหรับรองรับน้านั้น ขยายอาณาเขตไปจนถึงท้องฟ้ า
ประมาณ ๙๖,๐๐๐ โยชน์”
วิ.อ. (บาลี) ๑/๑/๑๑๐. อ้างใน พระมหาหรรษา, พุทธจักรวาลวิทยา, หน้า ๑๘
๕
อนนฺตานิ จกฺกวาฬานิ
จักรวาลนี้ ไม่มีที่สิ้นสุด
วิสุทฺธิ. (บาลี) ๑/๑๓๗/๒๒๖.
นักดาราศาสตร์เหล่านี้ก็เชื่อว่า จักรวาลมีความกว้างใหญ่
ไพศาลหาขอบเขต หรือที่สิ้นสุดมิได้
องค์ประกอบของจักรวาล
๓
• “ในสหัสสีโลกธาตุนั้น มีดวงจันทร์ ๑,๐๐๐ ดวง มีดวงอาทิตย์ ๑,๐๐๐
ดวง มีขุนเขาสิเนรุ ๑,๐๐๐ ลูก มีชมพูทวีป ๑,๐๐๐ มีอปรโคยานทวีป
๑,๐๐๐ มีอุตตรกุรุทวีป ๑,๐๐๐ มีปุพพวิเทหทวีป ๑,๐๐๐ มีมหาสมุทร
๔,๐๐๐ มีท้าวมหาราช ๔,๐๐๐ มีเทวโลกชั้นจาตุมหาราช ๑,๐๐๐ มี
เทวโลกชั้นดาวดึงส์ ๑,๐๐๐ มีเทวโลกชั้นยามา ๑,๐๐๐ มีเทวโลกชั้นดุสิต
๑,๐๐๐ มีเทวโลกชั้นนิมมานรดี ๑,๐๐๐ มีเทวโลกชั้นปรนิมมิตวสวัตดี
๑,๐๐๐ มีพรหมโลก ๑,๐๐๐ นี้เรียกว่าสหัสสีโลกธาตุขนาดเล็ก”
ในจูฬนิกาสูตร
ดูรายละเอียดใน องฺ. ติก. (ไทย) ๒๐/๘๑/๓๐๖-๓๐๗.
องค์ประกอบของจักรวาล
๓
• “พระจันทร์ พระอาทิตย์ย่อมหมุนเวียนรอบเขาสิเนรุราช
ส่องรัศมีสว่างไสวไปทั่วทิศโดยกาหนดที่เท่าใด”
• มีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลาง ส่วนดวงอาทิตย์ดวงจันทร์
และดาวเคราะห์ทั้งหลาย คือ เทหวัตถุหมุนเวียนรอบเขาพระสุเมรุ
ดังที่พรรณนาไว้ใน มันธาตุราชชาดก ว่า :
ขุ.ชา.ติก (ไทย) ๒๗/๒๒/๑๒๔.
องค์ประกอบของจักรวาล
๓
๖
องค์ประกอบของจักรวาล
โลกในพุทธปรัชญาเถรวาท
โลกคืออะไร ???
• ความหมายในเชิงมนุษย์ศาสตร์
▫ “โลก” หมายถึง หมู่มนุษย์
“ภิกษุทั้งหลาย พวกเธอทั้งหลายจงเที่ยวไป
เพื่อเกื้อกูล เพื่อความสุข และเพื่ออนุเคราะห์ชาวโลก”
 คาว่าโลก มาจากคาว่า “โลกานุกัมปายะ”
วิ.ม. (ไทย) ๔/๓๒/๔๐
๔๗
โลกคืออะไร ???
• ความหมายในเชิงภูมิศาสตร์
▫ “โลก” หมายถึง แผ่นดินอันเป็นที่อยู่อาศัยของหมู่สัตว์
“เพราะเหตุนั้นแล ผู้รู้แจ้งโลก มีปัญญาดี ถึงที่สุดของโลก
อยู่จบพรหมจรรย์แล้ว เป็นผู้สงบ รู้ที่สุดแห่งโลกแล้ว
ย่อมไม่ปรารถนาโลกนี้ และโลกอื่น”
ส.ส. (ไทย) ๑๕/๑๐๗/๑๑๙
โลกคืออะไร ???
• ความหมายในเชิงจริยศาสตร์
▫ “โลก” คือ สังขาร
“นี่แนะอาวุโส เราบัญญัติโลก
ความเกิดแห่งโลก ความดับแห่งโลก
ความดับโลก และข้อปฏิบัติให้ถึงความดับโลก
ในร่างกายอันยาวประมาณ ๑ วา มีสัญญาและใจ”
ส.ส. (ไทย) ๑๕/๑๐๗/๑๑๙
โลกคืออะไร ???
• ความหมายในเชิงจิตวิทยา
▫ “โลก” ได้แก่ ความแตกสลาย
“อานนท์ สิ่งใดมีความแตกสลายเป็นธรรมดา
สิ่งนั้นเราเรียกว่า “โลก” ก็อะไรเล่าชื่อว่า
มีความแตกสลายเป็นธรรมดาสลาย คือ จักขุ....รูป...
จักขุวิญญาณ...จักขุสัมผัสมีความแตกสลายเป็นธรรมดา
แม้ความเสวยอารมณ์ที่เป็นสุข หรือทุกข์ หรือมิใช่สุข
มิใช่ทุกข์ ที่เกิดขึ้นเพราะจักขุสัมผัส เป็นปัจจัย
ก็มีความแตกสลายเป็นธรรมดา”
ดูรายละเอียดใน ส.สฬา. (ไทย) ๑๘/๘๔/๗๗.
กล่าวโดยสรุปโลกคือ.....
• คาว่า “โลก” จากความหมายโดยภาพรวมของพระพุทธเจ้านั้น
ครอบคลุมถึงสิ่งที่เป็นรูปธรรม และนามธรรม สิ่งที่มีชีวิต และไม่
มีชีวิต นั่นเอง
โลกมีกี่ประเภท ????
แบ่งประเภทของโลกในเชิง ภูมิศาสตร์
(๑) มนุษยโลก หมายถึง หรือโลกที่มนุษย์อาศัยอยู่
(๒) เทวโลก หมายถึง โลกที่เทวดาอาศัยอยู่
(๓) พหรมโลก หมายถึง โลกที่พรหมอาศัยอยู่
แบ่งประเภทของโลกในเชิง จริยศาสตร์
(๑) กามโลก หมายถึง โลกของหมู่สัตว์ผู้เกี่ยวข้องอยู่ในกาม
ได้แก่ อบายภูมิ ๔ มนุษยโลก และสวรรค์ ๖ ชั้น
(๒) รูปโลก หมายถึง โลกของหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงรูปฌาน
ได้แก่ รูปพรหม ๑๖ ชั้น
(๓) อรูปโลก หมายถึง โลกของหมู่สัตว์ผู้เข้าถึงอรูปฌาน
ได้แก่ อรูปพรหม ๔ ชั้น
แบ่งโลกตามทัศนะของพระพุทธโฆษาจารย์
(๑) โอกาสโลก หมายถึง โลกคือแผ่นดิน
ซึ่งเป็นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต
(๒) สังขารโลก หมายถึง โลกคือสังขาร ของสิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิต
รวมไปถึงการปรุงแต่งทางอารมณ์ด้วย
(๓) สัตวโลก หมายถึง โลกคือหมู่สัตว์ ซึ่งได้แก่สัตว์ในภูมิต่างๆ
•เมื่อกล่าวโดยรวมแท้จริงแล้วโลกมี ๒ ประเภท
เท่านั้น คือ
๑. โลกภายใน ๒. โลกภายนอก
๘
โลกเกิดขึ้นได้อย่างไร ???
มูลเหตุของการเกิดขึ้นของโลก
- พระเจ้าเป็นผู้สร้าง
- เกิดขึ้นจากพัฒนาการของธรรมชาติ
และสรรพสิ่งที่มีอยู่ในธรรมชาติ
๕๙
- ทฤษฎีบิ๊กแบง
ในทัศนะของพุทธปรัชญาโลกเกิดจาก ???
เมื่อสิ่งนี้มี สิ่งนี้จึงมี
เพราะสิ่งนี้เกิดขึ้น สิ่งนี้จึงเกิดขึ้น
ส.นิ. (ไทย) ๑๖/๓๗/๗๙.
๑๐
วิเคราะห์อัคคัญญสูตร
• แรกเริ่มนั้นโลกถูกห้อหุ้มด้วยน้าและปกคลุมด้วยความมืดมิด
ไม่มีดวงจันทร์ และดวงอาทิตย์ส่องแสง
• เมื่อง้วนดินปรากฏขึ้น เพราะความหอมของง้วนดิน จึงทาให้
เทวดาที่ลงมาจุติเป็นมนุษย์พากันชิมง้วนดิน
• เป็นเหตุทาให้มนุษย์ติดใจในรสชาติของง้วนดิน
• หลังจากนั้น เมื่อดวงอาทิตย์ ดวงจันทร์ปรากฏ กลางวัน
กลางคืนก็ปรากฏขึ้น
ดูรายละเอียดใน ที.ปา. ๑๑/๑๑๑-๑๔๐/๘๔-๑๐๒
๗๑๑
โลกจะสิ้นสุดอย่างไร ???
• “มีบางสมัยบางคราว โดยล่วงไปแห่งกาลอันยืดยาว
โลกนี้จะพินาศไป”
 “โลกนี้จะถูกทาลายด้วยไฟ””
ที.ปา. (ไทย) ๑๑/๓๘/๒๘.
องฺ.สตฺตก. (ไทย) ๒๓/๖๖/๑๓๒-๑๓๖
๘๑๒
บทสรุป
• จักรวาลและโลกเกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ เป็นไปตามเหตุและ
ปัจจัย มิได้มีผู้สร้างหรือบันดาลให้เกิดขึ้น
• การแสวงหาจุดกาเนิดโลกและจักรวาลนั้นเป็น “อจินไตย”
• แต่จุดมุ่งหมายหลักในการนาเสนอเกี่ยวกับโลกและจักรวาลของ
พระพุทธเจ้านั้น มีเป้ าหมายเพียงเพื่อแง่มุมทาง จริยศาสตร์เพื่อ
นาไปสู่การพัฒนาตนเองไปสู่ความจริงสูงสุดของ
พระพุทธศาสนา คือ “นิพพาน” นั่นเอง.....
๙
๑๓
หากผิดพลาดประการใดขออภัยไว้ ณ ที่นี้
สวัสดีครับ......
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
Onpa Akaradech
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
Anchalee BuddhaBucha
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
pentanino
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
CUPress
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
kwanboonpaitoon
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
primpatcha
 

What's hot (20)

วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐานบทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
บทที่ 7 สมถกัมมัฏฐาน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท ปฏิจจสมุปบาท
ปฏิจจสมุปบาท
 
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏพุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
พุทธอภิปรัชญา ความจริงเกี่ยวกับจักรวาล โลก มนุษย์และสังสารวัฏ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๔ ญาณวิทยา
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
กรรมฐาน (เอกสาร ๑)
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์วิเคราะห์คำประพันธ์
วิเคราะห์คำประพันธ์
 
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายานแนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
แนวคิดและอุดมคติพระโพธิสัตว์ในพุทธศาสนามหายาน
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย  ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
ศาสนาเปรียบเทียบ (Comparative Religion) สังคมศึกษา ม.ปลาย
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 

Viewers also liked

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 

Viewers also liked (9)

ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาของจวงจื๊อ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 

Similar to จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
Yota Bhikkhu
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
Tongsamut vorasan
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
Tongsamut vorasan
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
Tongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
Tongsamut vorasan
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
mocxx
 
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Nantawat Wangsan
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
Panda Jing
 

Similar to จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท (20)

ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
02life
02life02life
02life
 
What is life
What is lifeWhat is life
What is life
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
9 อินทรีย์สังวร ( ตามดู ไม่ตามไป )keepcool
 
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
5 มรรควิธีที่ง่าย easypractice
 
11-bhava.pdf
11-bhava.pdf11-bhava.pdf
11-bhava.pdf
 
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
6 คุณสมบัติโสดาบัน sotapana
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail3 ตามรอยธรรม dhamatrail
3 ตามรอยธรรม dhamatrail
 
สังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลายสังคมศึกษา ปลาย
สังคมศึกษา ปลาย
 
อังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลายอังกฤษ ปลาย
อังกฤษ ปลาย
 
9789740335863
97897403358639789740335863
9789740335863
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
2 แก้กรรม แนวพุทธ cancelkarma
 
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนาไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
ไอน์สไตน์ได้กล่าวถึงพระพุทธศาสนา
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 437 September 2011
 
สัมมาทิฏฐิในวงการศึกษา
สัมมาทิฏฐิในวงการศึกษาสัมมาทิฏฐิในวงการศึกษา
สัมมาทิฏฐิในวงการศึกษา
 
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thaiDr yong 130331-cheon il guk era-thai
Dr yong 130331-cheon il guk era-thai
 
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทรหยั่งลงก้นมหาสมุทร
หยั่งลงก้นมหาสมุทร
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท

Editor's Notes

  1. ดาวเคราะห์ (ในภาษากรีก ใช้คำว่า planetes หรือ "ผู้พเนจร") คือ วัตถุขนาดใหญ่ที่โคจรรอบดาวฤกษ์ ก่อนทศวรรษ 1990 มีดาวเคราะห์ที่เรารู้จักเพียง 9 ดวง  (ปัจจุบัน 8 ดวง) ทั้งหมดอยู่ในระบบสุริยะ ปัจจุบันเรารู้จักดาวเคราะห์ใหม่อีกมากกว่า 100 ดวง ซึ่งเป็นดาวเคราะห์นอกระบบ หมายถึง โคจรรอบดาวฤกษ์ดวงอื่นที่ไม่ใช่ดวงอาทิตย์
  2. จักรวาล ในทางพุทธศาสนา หมายถึง อาณาเขตอันประกอบด้วยสรรพสิ่งต่างอันมีเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางจักรวาล เขาสัตตบริภัณฑ์ ทวีปใหญ่ ๔ ทวีป ทวีปน้อยสองพันทวีป และมหาสมุทร โดยมีเขาจักรวาลล้อมรอบ เรียกว่า จักรวาลหนึ่ง หรือโลกธาตุหนึ่ง และหมายรวมถึง สวรรคภูมิ นรกภูมิ พระจันทร์และพระอาทิตย์ รูปลักษณ์โครงสร้างและธรรมชาติ จักรวาลตามทัศนะของคัมภีร์พระพุทธศาสนาตามที่พรรณนาไว้ไม่สอดคล้องกับความรู้ทางดาราศาสตร์และจักรวาลวิทยาในปัจจุบัน”
  3. พุทธปรัชญายอมรับว่าจักรวาลที่สิ้นสุดไม่ได้ จากนัยดังที่กล่าวแล้ว ทำให้เราได้มองเห็นภาพรวมของจักรวาลได้อย่างชัดเจนว่า ไม่มีที่สิ้นสุด
  4. โกฏิ คือ มาตรานับเท่ากับสิบล้าน พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน
  5. จะอย่างไรก็ตามขนาดของจักรวาลเชิงภูมิศาสตร์ในทัศนะของพระอรรถกถาจารย์นั้น เป็นเพียงการกล่าวถึงจักรวาลหนึ่งๆ เท่านั้น มิได้หมายถึงขนาดของจักรวาลทั้งหมดในเอกภพ นั่นก็หมายความว่า เมื่อกล่าวถึงจักรวาลใดจักรวาลหนึ่งแล้ว มีขอบเขตที่สมารถกำหนดได้ แต่หากพูดถึงภาพรวมของจักรวาลทั้งหมดแล้ว ย่อมมีขอบเขตที่ไม่สามารถจะกำหนดวัดได้ เนื่องจากว่าจักรวาลนี้ ไม่มีที่สิ้นสุด (อนันตานิ จักกวาฬานิ)
  6. แต่ในปัจจุบันนี้เรายังไม่สามารถบอกได้แน่นอนว่าโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร เพราะเหตุใด เพราะความก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีทำให้ได้หลักฐานและข้อมูลใหม่เพิ่มขึ้นเรื่อย ๆค่ะ
  7. พุทธเจ้าไม่ได้บอกว่าโลกเกิดจากอะไรอย่างชัดเจน พุทธปรัชญาได้นำเสนอว่าโลกนี้ไม่ได้มีผู้สร้าง หากแต่เกิดขึ้นเองตามกฎของอิทัปปัจจยตา กล่าวคือ โลกเกิดเป็นขึ้นเองโดยธรรมชาติ คือ ธรรมชาติเป็นผู้ปรุงแต่งให้บังเกิดขึ้นเป็นโลกขึ้น และเกิดขึ้นด้วยการเข้ามาประกอบกันของสิ่งต่าง ๆ 
  8. เมื่อวิเคราะห์จากรพระสูตรนี้ ทำให้เราพบคำตอบได้อย่างชัดเจนว่า พระองค์ให้คำตอบเฉพาะในประเด็นที่เกี่ยวกับวิวัฒนการภัยหลังที่มีโลกคือแผ่นดินอยู่แล้ว แต่พระองค์มิได้ตอบอย่างชัดเจนว่า โลกคือแผ่นดินเกิดขึ้นมาได้อย่างไร แต่เมื่อเราวิเคราะห์จากบริบทของปฏิจจสมุปบาทหรืออิทัปปัจยตา เราก็คงจะได้รับคำอธิบายว่า โลกเป็นไปตามกฎของธรรมชาติเป็นไปตามเหตุปัจจัย โลกและสรรพสิ่งเป็นวัฏจักร มีการเกิดขึ้นตั้งอยู่ แล้วดับไป หมุนเวียนเช่นนี้ หาเบื้องต้น และเบื้องปลายไม่ได้
  9. พระองค์มองว่าไฟเกิดจากพระอาทิตย์ ๗ ดวง ซึ่งทำหน้าที่ในการเผาผลาญสิ่งในโลกนี้ให้คงเหลือแต่ความว่างเปล่า บทสรุปที่ได้จากประเด็นนี้ก็คือ โลกนั้นก็พบจุดจบเช่นเดียวกับมนุษย์ ที่ไม่สามารถฝืนกระแสของการเกิดขึ้น ตั้งอยู่ และดับไปได้
  10. อจินไตย คือ เป็นเรื่องที่ไม่ควรไปคิดคำนึงถึง และไม่สามารถไปถึงได้ด้วยการคิด ฉะนั้นเมื่อใครเสียเวลาไปคิด จึงเป็นประดุจ “คนบ้า”