SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทฤษฎีความรู้
มนุษย์รู้ความจริงได้อย่างไร?
• มนุษย์รู้อะไร??
• มนุษย์รู้ได้อย่างไร??
• นักปรัชญาต้องการความเข้าใจที่
ชัดเจนของคาว่า “รู้” (To Know)
ว่าเรารู้อะไรบางอย่างนั้น >>
เรารู้อย่างไร >>
วิธีการแสวงหาความรู้แบบใดที่จะให้
ความรู้ที่แท้จริงกับเราได้??
....มนุษย์รู้ความจริงเกี่ยวกับสิ่ง
ต่างๆ ได้อย่างไร?
•โลกของนักปราชญ์
•โลกของนักวิทยาศาสตร์
•โลกของนักบุญและศิลปิน
• 1.เหตุผลนิยม(Rationalism)
• 2.ประสบการณ์นิยม
(Empiricism)
• 3.ความรู้สึก
ตอนนี้เรากาลังฝันอยู่หรือไม่??
ARE YOU DREAMING
OR WAKING ??
โลกกับความคิดมนุษย์: “เหตุผลนิยม”
(Rationalism)
• มีแนวคิดว่า เหตุผลเป็นที่มาของความรู้/....ความ
จริงที่แท้ (Reality)จะสามารถรู้ได้โดยการใช้เหตุผล
เท่านั้น......ซึ่งความรู้ หรือ ความจริงที่รู้ได้ด้วย
เหตุผลนั้น ย่อมจะต้องแน่นอน ไม่เปลี่ยนแปลง
และเชื่อว่าความจริงนั้น รวมทั้งสมรรถภาพในการ
ใช้เหตุผลเป็นสิ่งติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่เกิด
ชาวเหตุผลนิยมที่สาคัญ คือ
เพลโต ในสมัยโบราณ
เดส์การ์ต (Descartes 1595-1650)
, สปิโนซ่า (Spinoza 1632-1677) และ
ไลป์ นิซ (Leibniz) ในสมัยใหม่
1.1 ความตายตัวแน่นอนของความรู้
• อะไรก็ตามที่เรารู้ ถ้าเราไม่แน่ใจว่ามันเป็นจริง
แน่นอนตายตัวแล้วก็ไม่น่าถือว่าเป็นความรู้....
ความรู้หรือความจริงที่แท้ มีความสาคัญ เพื่อ
เป็นหลักรองรับความรู้อื่นๆ
- ความจริงง่อนแง่น
- ความจริงที่จาต้องเป็น
1.2 ความรู้กับความคิด
• - ชาวเหตุผลนิยม ไม่ค่อยศรัทธาในประสาทสัมผัส
เพราะมันไม่สามารถให้ความจริงที่แน่นอน ถูกต้อง
ตายตัวได้ และหลายครั้งที่ประสาทสัมผัส หลอกลวง
เรา เช่น......
• - ความรู้ที่แท้จริงเกิดจากเหตุผลมากกว่า
ประสบการณ์...ประสบการณ์อาจให้ข้อมูล แต่
เหตุผลเป็นผู้ตัดสิน และจัดระเบียบ เช่น......
ภาพที่คุณเห็นคือภาพอะไร??
• - กิจกรรมทางปัญญา คือ การคิดตามเหตุผล
เป็นเครื่องมือที่สามารถนามนุษย์ไปสู่ความรู้ที่
แน่นอนได้
• - เราทุกคนเกิดมาพร้อมความรู้และความจริง
บางอย่างที่แฝงอยู่ในจิตของเรา(Innate Idea)
ถ้าเราใช้ปัญญา คิดตามหลักเหตุผล
ความรู้นี้ก็จะปรากฏเป็นจริงออกมา
- ยกตัวอย่าง Innate Idea ......
• ชาวเหตุผลนิยมเชื่อว่าความรู้ที่ตายตัวเกิดจากเหตุผล หรือ การ
ใช้ความคิด
• ไลป์ นิซ (ค.ศ. ๑๖๔๖-๑๗๑๖)
• “ก็เพราะประทีปธรรมชาตินี้เอง ที่ทาให้เราเห็นความจริงของมูล
บทของคณิตศาสตร์ เช่น สิ่งที่เท่ากัน เมื่อเอาส่วนที่เท่ากันออก
ส่วนที่เหลือย่อมเท่ากัน...นี่เป็นความจริงที่เรารู้ได้โดยไม่ต้อง
อาศัยประสบการณ์ ด้วยพื้นฐานนี้เองที่เราสร้างเลขคณิต
เรขาคณิต เมคานิคส์...ซึ่งในวิชาเหล่านี้ ประสาทสัมผัสก็เป็น
ของจาเป็น...แต่พลังของการพิสูจน์ขึ้นอยู่กับความคิดอันเป็นสิ่ง
เดียวที่ทาให้เราเข้าใจถึงความจริงที่ตายตัว”
1.2 เพลโตกับทฤษฎีระลึกได้
• เพลโต เชื่อว่า ความรู้ คือ การระลึกได้ ....วิญญาณ
ของมนุษย์เป็นอมตะ ความจริงทั้งมวลมีแฝงอยู่แล้ว
ในวิญญาณของเรา แต่มันถูกหลงลืมไป เนื่องจาก
มนุษย์มีร่างกาย และร่างกายของเราทาให้เราลืม
ความจริงที่แฝงอยู่ในตัวตั้งแต่เกิด....ความรู้เป็น
เพียงการรื้อฟื้นความจา
• ชาวเหตุผลนิยมเชื่อว่าความรู้ที่แท้จริงของมนุษย์นั้นเป็น
อิสระจากประสบการณ์ (ได้มาโดยไม่อาศัยประสบการณ์)
• เรียกว่า >> A PRIORI KNOWLEDGE หรือ “ความรู้ที่มีอยู่
ก่อนประสบการณ์”
• ชาวเหตุผลนิยมปฏิเสธว่าความรู้จากประสบการณ์ หรือ
ประสาทสัมผัส ไม่ใช่ความรู้ แต่เป็นเพียง “ข้อมูล” ที่ต้อง
อาศัยเหตุผลหรือความคิดมาจัดระเบียบ
• เหตุผลนิยม จะใช้ วิธีการนิรนัย (Deduction) ในการ
แสวงหาความรู้ / เป็นวิธีการที่ดีที่สุดที่จะให้ความจริง
กระบวนการใช้เหตุผล (ตรรกวิทยา)
• ตรรกวิทยา คือ ปรัชญาสาขาหนึ่ง ที่ศึกษาเกี่ยวกับ
กฎเกณฑ์การใช้เหตุผลที่ถูกต้อง เป็นเครื่องมือหรือวิธีการ
ที่สาคัญในการหาความจริงหรือความรู้
• *** วิธีการหาความรู้โดยการอ้างเหตุผลนี้ แบ่งเป็น ๒ วิธี
ด้วยกัน คือ วิธีการอ้างเหตุผลแบบนิรนัย และวิธีอุปนัย
กระบวนการใช้เหตุผล
นิรนัย(Deduction) คือ การอ้างเหตุผล
ที่มีการนาข้ออ้างที่ถือว่าเป็ นความจริง
อย่างแน่นอน(ความจริงทั่วไป)มา
สนับสนุนหรือยืนยันข้อสรุปที่มีลักษณะ
เป็นความจริงเฉพาะ
Ex.1. คนทุกคนเป็นสิ่งต้องตาย
โสกราตีสเป็นคน
ดังนั้น โสกราตีสจึงเป็นสิ่งที่ต้องตาย
Ex.2. ถ้าฝนตกถนนจะเปียก
วันนี้ฝนตก
ดังนั้น วันนี้ถนนจะเปียก
-เนื้อความของข้อสรุป(conclusion)เป็นสิ่ง
ที่มีอยู่แล้วในข้ออ้าง(premise)
-ถ้าข้ออ้างจริงข้อสรุปก็ต้องจริงอย่าง
แน่นอน
-ตัวอย่างวิชาที่มีรากฐานอยู่บนวิธีนิรนัย
คือ คณิตศาสตร์
อุปนัย(Induction) คือการ
อ้ างเหตุ ผลที่ ข้ ออ้ างไ ด้
หลักฐานมาจากข้อเท็จจริงที่
ถือว่าเป็ นความจริงเฉพาะที่
ได้ มาจากประสบการณ์
บางส่วนแล้วนาไปยืนยัน
ข้อสรุปที่ถือว่าเป็ นความจริง
ทั่วไป
Ex. กาตัวที่ 1 สีดา , กาตัวที่ 2 สีดา,
กาตัวที่ 3 สีดา ...
ดังนั้น กาทุกตัวสีดา
-เนื้อความของข้อสรุป(conclusion) เป็ น
สิ่งที่มีเกินกว่าเนื้อความในข้ออ้าง
(premise)
-ถ้าข้ออ้างจริง ข้อสรุปมีความน่าจะ
เป็ นไปได้สูงที่จะจริง (อาจจะจริง
หรือไม่จริงก็ได้)
-ตัวอย่างวิชาที่มีรากฐานอยู่บนวิธี
อุปนัย คือ วิทยาศาสตร์
ข้อแตกต่างของวิธีนิรนัยและอุปนัย
• 1. นิรนัย อาศัยหลักฐานจากความจริงทั่วไป หรือความรู้
เดิม แต่อุปนัยอาศัยหลักฐานจากประสบการณ์หรือ ความจริง
เฉพาะ
2. นิรนัย เริ่มต้นจากหลักฐาน ซึ่งเป็นลักษณะทั่วไป ไปสู่
ข้อสรุปซึ่งมีลักษณะเฉพาะ /ส่วนอุปนัยเริ่มต้นจากข้อมูลที่มี
ลักษณะเฉพาะไปสู่ข้อสรุปซึ่งเป็นลักษณะทั่วไป
• 3. ความน่าเชื่อถือของข้อสรุปด้วยวิธีนิรนัยอยู่ในขั้น
แน่นอนตายตัว แต่ของวิธีอุปนัยอยู่ในระดับ ความน่าจะเป็น
• 4. วิธีการนิรนัยไม่ให้ความรู้ใหม่ แต่วิธีการอุปนัยมี
ความรู้ใหม่เกิดขึ้น
1.4 แนวคิดแบบ “เหตุผลนิยม” ของเดส์การ์ต
(Descartes 1595-1650)
• เขาเป็นบิดาของปรัชญาสมัยใหม่
• เขาอาศัยวิธีการทางคณิตศาสตร์ คือ สหัช
ญาณ หรือ การเห็นเองทันที
(intuition)และ การนิรนัยมาเป็นรากฐาน
การคิดปรัชญา
• โดยสหัชญาณ หรือ ปัญญา เราจะได้
ความจริงที่แน่นอนตายตัวเป็น
จุดเริ่มต้น หลังจากนั้นก็จะใช้วิธีนิรนัย
สรุปความจริงใหม่ออกมาทีละขั้น
• เขามุ่งมั่นที่จะแสวงหาความจริงที่แน่นอนตายตัว โดยเริ่ม
ด้วยการสงสัยทุกสิ่งทุกอย่างเท่าที่จะสงสัยได้
• ทุกอย่างที่เราเห็นอยู่ในขณะนี้อาจเป็นเพียงความฝัน และ
อาจมีปีศาจมาเล่นมายากลอยู่กับเราตลอดเวลาก็ได้
• แต่ถึงเราจะสงสัยอะไรก็ตาม เราจะสงสัยความสงสัยที่
กาลังเกิดขึ้นอยู่ไม่ได้...นั่นคือ สิ่งที่เราแน่ใจว่ามีอยู่จริง ก็
คือ เจ้าตัวความสงสัย ที่กาลังเกิดขึ้นกับเราเดี๋ยวนี้
• การที่เรามีความสงสัยต่อสิ่งต่างๆ เกิดขึ้น แสดงว่า
เรากาลังคิดอยู่ ( I Doubt therefore I think )
• - เมื่อมีความคิดสงสัย ก็แสดงว่าย่อมจะต้องมีผู้ที่กาลังคิดสงสัย
อยู่ ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า
• “ฉันคิด ฉันจึงมีอยู่”(I think therefore I am ).....นี่คือความจริง
แน่นอนพื้นฐานที่ไม่มีใครปฏิเสธได้
• -จากความจริงที่ว่าตัวเราเองมีอยู่ได้นาไปสู่ความจริงที่ว่าพระ
เจ้ามีอยู่
• -จากความจริงที่ว่าพระเจ้ามีอยู่ได้นาไปสู่ความจริงที่ว่า
สรรพสิ่งทั้งหลายในโลกมีอยู่
โลกเป็นแหล่งสัจธรรม
• ชาวเหตุผลนิยม เชื่อในอานาจของ
ปัญญา ว่าถ้าเราคิดอย่างมีเหตุผล เรา
จะเข้าสู่โลกของสัจธรรมอันเที่ยงแท้ได้
• จุดหมายแท้จริงของชีวิต คือ “สัจธรรม”
มิใช่ความสุขสบายจากโลกแห่งวัตถุ
• ความรู้ในสัจธรรมเป็นสิ่งมีค่าในตัวเอง
เป็นสิ่งประเสริฐของมนุษย์ที่มนุษย์ควร
แสวงหา
ประสบการณ์นิยม(Empiricism)
คือทัศนะที่ถือว่าแหล่งความรู้ที่เชื่อถือได้มีอยู่
อย่างเดียว กล่าวคือประสบการณ์ (Experience) ซึ่ง
หมายถึงความรู้ผ่านประสาทสัมผัสทั้ง 5 (ตา หู จมูก
ลิ้น กาย)
-ไม่เชื่อว่ามีความรู้ก่อนประสบการณ์ ( a priori
knowledge ) หรือความรู้ที่มีติดตัวมนุษย์มาตั้งแต่
เกิด (innate idea)
จอห์น ล็อก (John Locke)
- ไม่เชื่อเรื่องความรู้ก่อนประสบการณ์ โดย
เขาได้กล่าวไว้ว่า “ จิตเหมือนกระดาษเปล่าที่
ปราศจากคุณสมบัติใดๆ และปราศจาก
ความรู้ใดๆ ”
- ความรู้เกิดจากประสบการณ์
และการเรียน
-ความรู้ที่ได้จากการคิดโดยไม่อาศัย
ประสบการณ์เป็นความรู้ที่ว่างเปล่า เพราะ
ความรู้ประเภทนี่จะอยู่ในรูปประโยค
วิเคราะห์
ประโยควิเคราะห์(analytic) คือ ประโยคที่ภาค
แสดงของมันเป็นส่วนหนึ่งของภาคประธาน
Ex. ลุงแดงเป็นผู้ชาย
ประโยคสังเคราะห์(synthetic) คือ ประโยคที่
ภาคแสดงมิได้เป็นส่วนหนึ่งของภาคประธาน
แต่เป็นของใหม่
Ex. ลุงแดงผิวคล้า
ผลทุกผลย่อมมีสาเหตุ
สิ่งทุกสิ่งย่อมมีสาเหตุ
ลูกทุกคนมีแม่
คนทุกคนมีแม่
-นิรนัยเป็ นวิธีการแสวงหาความรู้ที่ว่างเปล่าคือ
ไม่ได้ให้อะไรใหม่
-ความรู้ที่แท้จริง คือ ความรู้เชิงประจักษ์หรือ
ความรู้ ที่ได้จากประสบการณ์ (Empirical
knowledge)
-ยอมรับวิธีการอุปนัย (induction)
-ถือว่าวิทยาศาสตร์เป็นขุม
ความรู้ที่แท้จริงของมนุษย์
ลักษณะของวิทยาศาสตร์
1.วิทยาศาสตร์ได้จากประสบการณ์และ
ทดสอบด้วยประสบการณ์
2.วิทยาศาสตร์ต้องเป็นสาธารณะ
3.วิทยาศาสตร์มีลักษณะสากล
4.วิทยาศาสตร์ต้องช่วยในการคาดเดา
อนาคต
-เดวิด ฮูม (Devid Hume)กับวิธีอุปนัย
-แนวคิดแบบปฏิบัตินิยม (Pragmatism)
“อะไรที่สามารถนามาปฏิบัติให้เป็ น
ประโยชน์ได้ มันก็จริง แต่ถ้าไม่สามารถนามา
ปฏิบัติให้เป็นประโยชน์ มันก็ไม่จริง”
-ความรู้ไม่ใช่สิ่งที่มีค่าในตัวของมันเอง
อิมมานูเอล ค้านท์
(Immanuel Kant 1724 – 1804)
• ต้องการประนีประนอมความคิดของฝ่าย
เหตุผลนิยมและประจักษ์นิยม
• ผัสสะให้เนื้อหาความรู้แก่เรา ต่อจากนั้น
จิตก็จะนาเนื้อหาเหล่านี้มาจัดระเบียบทา
ให้เป็นความรู้ที่แน่นอนและเป็นสากล
• แต่ไม่ได้หมายความว่าเรามีความรู้ในสิ่งที่
แท้จริง ในธรรมชาติสิ่งที่แท้จริงนั้นมีอยู่ แต่
เราไม่รู้จัก (noumena)
อิมมานูเอล ค้านท์
• สิ่งต่างๆที่เรารู้ เป็นสิ่งที่ล้วนต้องผ่านโครงสร้างของสมอง
กลั่นกรองมาก่อนทั้งนั้น
• ความรู้นั้นมีส่วนประกอบ ๒ ส่วน คือ “ผัสสะ” กับ “ความคิด”
(percepts and concepts) เพราะ ผัสสะที่ปราศจากความคิด
นั้นมืดบอด สาหรับความคิดที่ปราศจากผัสสะก็ว่างเปล่า
• กระบวนการของความรู้ มี ๒ ระยะ
• ๑. ระยะที่มีผัสสะเกิดขึ้น (sensibility)
• ๒. ระยะที่เกิดความเข้าใจ (understanding)
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทPadvee Academy
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นParn Parai
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์PdfMind Candle Ka
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfssuser6a0d4f
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นsumanan vanict
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์0636830815
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์บรรพต แคไธสง
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์Padvee Academy
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายkrunoree.wordpress.com
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 

What's hot (20)

จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาทจักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
จักรวาลในพุทธปรัชญาเถรวาท
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญาการบริหารจิตและเจริญปัญญา
การบริหารจิตและเจริญปัญญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นวรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
วรรณคดีสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdfสามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
สามัคคีเภทคำฉันท์Pdf
 
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdfแผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
แผนGPAS 5 STEPส่งโรงเรียน มารยาทชาวพุทธพระพุทธม. 5 เทอม1 ปี65.pdf
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
หน้าปก
หน้าปกหน้าปก
หน้าปก
 
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
พุทธปรัชญากับวิทยาศาสตร์
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนาหน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
หน่วยที่ 11 บทละครในเรื่องอิเหนา
 
ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์ศาสนาซิกข์
ศาสนาซิกข์
 
ขันธ์ 5
ขันธ์ 5ขันธ์ 5
ขันธ์ 5
 
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่ายใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
ใบงานที่1เรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปรายหน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
หน่วยที่ 4 การพูดอภิปราย
 

Viewers also liked

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)Padvee Academy
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานPadvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)Padvee Academy
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะPadvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)Padvee Academy
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจPadvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโลPadvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงPadvee Academy
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองPadvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกPadvee Academy
 

Viewers also liked (20)

อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
อภิปรัชญา ความจริงของโลก และ มนุษย์
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพานจิตวิทยาแห่งนิพพาน
จิตวิทยาแห่งนิพพาน
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๑)
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
อริยสัจ ๔ (ตอน ๒)
 
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจหลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
หลักพุทธธรรมในทางเศรษฐกิจ
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
พระไพศาล วิสาโล
พระไพศาล   วิสาโลพระไพศาล   วิสาโล
พระไพศาล วิสาโล
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
พระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมืองพระสงฆ์กับการเมือง
พระสงฆ์กับการเมือง
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 

Similar to ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)

ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 Padvee Academy
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดNote Na-ngam
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม ExistentialismPadvee Academy
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146CUPress
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตfreelance
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral educationetcenterrbru
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Borwornsom Leerapan
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์Surapon Boonlue
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรsupreechafkk
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตchonlataz
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52juriporn chuchanakij
 

Similar to ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา) (20)

เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐานเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร พื้นฐาน
 
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1 ปรัชญาทั่วไป บทที่1
ปรัชญาทั่วไป บทที่1
 
Original psychoanalysis
Original psychoanalysisOriginal psychoanalysis
Original psychoanalysis
 
Original psychoanalysis
Original psychoanalysisOriginal psychoanalysis
Original psychoanalysis
 
Intro sciproject
Intro sciprojectIntro sciproject
Intro sciproject
 
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิดทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
ทฤษฎีหลักการแนวคิดเกี่ยวกับการคิดและพัฒนาการคิด
 
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialismความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
ความรู้ทั่วไปของปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism
 
Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
9789740335146
97897403351469789740335146
9789740335146
 
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิตกลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
กลุ่มน้องเต่าชิกูเมะ --มนุษยกับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต
 
09 moral education
09 moral education09 moral education
09 moral education
 
Strategic planning
Strategic planningStrategic planning
Strategic planning
 
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 11051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
1051202 จิตวิทยาการเรียนรู้ ชุด 1
 
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR) Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
Introduction to Mixed-Methods Research (MMR)
 
ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์ความคิดสร้างสรรค์
ความคิดสร้างสรรค์
 
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไรเราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
เราจะศึกษาวิทยาศาสตร์กันอย่างไร
 
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขตจริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
จริยศาสตร์ ความหมายและขอบเขต
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
ปรัชญาและปรัชญาการศึกษา 29 ต.ค.52
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 

ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)