SlideShare a Scribd company logo
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน
ในอุทยานแห่งชาติ
โดย
คมเชษฐา จรุงพันธ์
ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดพิษณุโลก
บทนา
1. เป็นภัยคุกคามต่อความหลากหลายทางชีวภาพ และระบบนิเวศที่ร้ายแรงที่สุด
รองจาก การทาลายแหล่งที่อยู่อาศัย (habitat destruction)
2. มีการแพร่ระบาดเข้าสู่พื้นที่ปุาอนุรักษ์ มาเป็นเวลานานแล้ว
3. ส่งผลกระทบต่อระบบนิเวศของท้องถิ่นเดิม บางครั้งอาจถึงขั้นทาให้ชนิดพันธุ์ในท้องถิ่นเดิมสูญพันธุ์ได้
4. มาตรา 8 (h) ของอนุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ (Convention on Biodiversity)
5. ตามมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 เรื่อง มาตรการปูองกัน ควบคุม และกาจัด
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น มี มาตรการ 4 ด้าน / แนวทางปฏิบัติ จานวน 15 เรื่อง
อส. เป็นหนึ่งในหน่วยงานหลัก / 10 เรื่อง และเป็นหน่วยงานสนับสนุน 2 เรื่อง
วนอุทยานทุ่งบัวตอง
ตั้งอยู่ในท้องที่ บ้านแม่อูคอ
หมู่ที่ 6 ต.แม่อูคอ อ.ขุนยวม
จ.แม่ฮ่องสอน
อยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติป่าแม่สุรินทร์
มีเนื้อที่ประมาณ 4,437 ไร่
ผักตบชวา
ในแม่น้้าล้าคลองต่างๆ เช่น แม่น้้าท่าจีน
แม่น้้าเจ้าพระยา แม่น้้าปราจีนบุรี ฯ
กระถินยักษ์
ซึ่งเป็นไม้เบิกน้าในการปลูกฟื้นฟูสภาพป่า
ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ และพื้นที่ต้นน้้า
กระดุมทองเลื้อย
ปลูกเป็นไม้ประดับ ในพื้นที่
อุทยานแห่งชาติ
พืชต่างถิ่นรุกรานชนิดอื่นๆ
เช่น ผกากรอง และอากาเว่
ที่นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
(ยังไม่มีหลักฐานว่ารุกราน)
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
(มีหลักฐานว่ารุกราน)
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควรปูองกัน ควบคุม
กาจัด ของประเทศไทย
เข้ามาแล้ว
(1) รุกรานแล้ว
(2) มีแนวโน้มเคยรุกราน
แต่ควบคุมได้
(3) ยังไม่รุกรานมีหลักฐาน
พบว่ารุกรานที่อื่น
(4) ยังไม่ได้เข้ามา
- มีในทะเบียน 100 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ที่รุกรานของโลก
- ชนิดพันธุ์ห้ามนาเข้าตามกฎหมาย
หลักเกณฑ์ในการพิจารณาจัดกลุ่ม
ทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควรปูองกัน ควบคุม กาจัด ของประเทศไทย
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
• ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เข้ามาในประเทศไทยแล้ว และสามารถตั้ง
ถิ่นฐานและมีการแพร่กระจายได้ในธรรมชาติ เป็น ชนิดพันธุ์
เด่นในสิ่งแวดล้อมใหม่ (Dominant Species)
รายการ 2 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน
• ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีหลักฐานว่ามีการรุกรานในถิ่นอื่นที่เข้ามา
ในประเทศไทยแล้ว
• ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่เคยรุกรานในอดีตซึ่งสามารถควบคุมได้แล้ว
กลุ่ม รายการ 1 รายการ 2 รายการ 3 รายการ 4
1. จุลินทรีย์ 7 3 6 9
2. พืช (Plants) 24 18 21 28
3. หวีวุ้น (Ctenophores) - - - 1
4. หนอนตัวกลม (Nematodes , Roundworms) 1 - - -
5. หนอนตัวแบน (Flatworms) - - - 1
6. ฟองน้า (Sponges) - 1 - -
7. กุ้ง ปู และ ไรน้า (Crustaceans) - 3 1 2
8. แมลง (Insects) 35 13 3 37
9. หอยและหมึก (Molluscs) 4 1 1 3
10. ดาวทะเล (Echinoderms) - - - 1
11. ปลา (Fish) 7 9 2 4
12. สัตว์เลื้อยคลาน (Reptiles) 2 - 7 1
13. สัตว์สะเทินน้าสะเทินบก (Amphibians) - 1 - 2
14. นก (Birds) 2 3 4 1
15. สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม (Mammals) - 1 4 1
รวมกลุ่ม/ชนิด (15 กลุ่ม / 275 ชนิด) 8/82 10/53 9/49 12/91
มาตรการ แนวทางปฏิบัติ หลัก สนับสนุน
1. บริการจัดการชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 1.1 กาหนดหน่วยประสานงานกลางด้านนโยบาย และการดาเนินงาน 
1.2 จัดทาแผนและดาเนินการควบคุม การแพร่ระบาดฯ ชนิดพันธุ์ รายการ 1 
2. ปูองกัน เผ้าระวัง และติดตาม 2.1 สารวจตรวจสอบและติดตามการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ รายการ 2 
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 2.2 เผ้าระวังและติดตามชนิดพันธุ์ รายการ 3 
2.3 ไม่ส่งเสริมการแพร่กระจายของชนิดพันธุ์ต่างถิ่นใน รายการ 1,2 และ3 
2.4 ไม่ให้นาเข้า มีไว้ในครอบครอง เพาะเลี้ยง ฯ ชนิดพันธุ์ รายการ 4 
2.5 ปูองกัน ควบคุม การแพร่ระบาด และกาจัด ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกราน
ในเขตพื้นที่อนุรักษ์

2.6 จัดทาแนวทางปฏิบัติและดาเนินการควบคุม ปูองกัน และติดตาม 
2.7 จัดทาทะเบียนการครอบครอง การนาเข้าชนิดพันธุ์ต่างถิ่นอื่น ที่ไม่อยู่ใน รายการ 1-4 
3. สนับสนุนการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
3.1 สนับสนุนการศึกษาวิจัย ปัจจัยในการแพร่ระบาด และผลกระทบต่อ
ความหลากหลายทางชีวภาพ

4. เผยแพร่ สร้างความตระหนักและ 4.1 สนับสนุนจัดทาและเผยแพร่ให้ความรู้ 
ให้ความรู้ ในเรื่องของชนิดพันธุ์ต่างถิ่น 4.2 เผยแพร่ความรู้ และจัดฝึกอบรม เจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง 
10 2
กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปุา และพันธุ์พืช เป็นหน่วยงานหลัก และหน่วยงานสนับสนุน มาตรการปูองกัน ควบคุม
และกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่น ตาม มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว (24 ชนิด) รายการ 2 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่มีแนวโน้มรุกราน (18 ชนิด)
Ageratina adenophora (Spreng.) R.M.King&H.Rob. สาบหมา
Bidens pilosa L. ปืนนกไส้
Celosia argentea L. หงอนไก่ฝรั่ง
Chromolaena odoratum (L.) R.M.King&H.Rob. สาบเสือ
Crassocephalum crepidioides (Benth.) S. Moore ผักเผ็ดแม้ว
Eichhornia crassipes (Mart.) Solms ผักตบชวา
Euphorbia heterophylla L. หญ้ายาง
Galinsoga parviflora Cav. ทหารกล้า
Hydrilla verticillata (L.f.) Royle สาหร่ายหางกระรอก
Hydrocotyle umbellata L. แว่นแก้ว
Hyptis suaveolens (L.) Poit. แมงลักคา
Imperata cylindrica (L.)P.Beauv. หญ้าคา
Lantana camara L. ผกากรอง
Leucaena leucocephala (Lam.) de Wit กระถินยักษ์
Mikania micrantha (L.) Kunth ขี้ไก่ย่าน
Mimosa diplotricha C. Wright ex Suavalle ไมยราบเลื้อย
Mimosa pigra L. ไมยราบยักษ์
Pennisetum pedicellatum Trin. หญ้าขจรจบดอกเล็ก
Pennisetum polystachion (L.) Schult หญ้าขจรจบดอกใหญ่
Pennisetum setosum (Sw.) L.C. Rich. หญ้าขจรจบดอกเหลือง
Pistia stratiotes L. จอก
Rottboellia cochinchinensis (Lour.) W.D. Clayton หญ้าโขย่ง
Salvinia molesta D.S. Miteh. จอกหูหนู
Tithonia diversifolia (Hemsl.) A.Gray บัวตอง
Alternanthera bettzickiana (Regel) G.Nicholson ผักเป็ดแดง
Alternanthera philoxeroides (Mart.) Griseb. ผักเป็ดน้้า
Amaranthus caudatus L. ผักขมใบแดง
Amaranthus spinosus L. ผักขมหนาม
Arachis pintoi Krapov. & W.C.Greg ถั่วพินตอย
Bidens alba DC. var. radiata ( Sch.Bip. ) R.Ballard ดาวกระจายไต้หวัน
Cabomba caroliniana Gray บัวสาหร่าย
Eryngium foetidum L. ผักชีฝรั่ง
Gomphrena globosa L.บานไม่รู้โรย
Gomphrena serrata L. บานไม่รู้โรยป่า
Muntingia calabura L. ตะขบฝรั่ง, ตะขบขี้นก
Myriophyllum aquaticum (Vellozo) Verdc. สาหร่ายญี่ปุ่น
Oxalis latifolia Kunth ผักแว่น
Panicum maximum Jacq. หญ้ากินี
Pennisetum purpureum Schumach. หญ้าเนเปียร์
Rivina humilis L. พริกฝรั่ง
Sphagneticola trilobata (L.C. Rich.) Pruski กระดุมทองเลื้อย
Verbena officinalis L. นังด้งล้าง, European verbena
รายการ 3 ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่มีประวัติว่ารุกรานแล้ว
ในประเทศอื่น แต่ยังไม่รุกรานในประเทศไทย (21 ชนิด)
รายการ 4 ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานที่ยัง
ไม่เข้ามาในประเทศไทย (28 ชนิด)
Agave L ป่านมะนิลา
Agave sisalana ex Engelm. ป่านศรนารายณ์
Anubias spp. อะนูเบียส
Baldelia ranunculoides Parl.
Citharexylum spinosum L. บุหงาสาหรี่
Damasonium alisma Mill. ดามาโซเดียม
Echinodorus spp. อเมซอน
Egeria densa Planch. สาหร่ายเดนซ่า
Gymnocoronis spilanthoides DC. Tea Plant
Grevillea robusta A. Cunningham ex R. Br. สนอินเดีย (Silk oak)
Hyparrhenia rufa (Nees) Stapf หญ้าแสงค้า
Lythrum salicaria L. ลิทรัม
Macfadyena unguis-cati ( L. ) A.H.Gentry เล็บวิฬา
Melinis minutiflora P.Beauv. หญ้ายาง
Myriophyllum spicatum L.
Psidium guajava L. ฝรั่ง
Pueraria montana ( Lour. ) Merr. ถั่วคุดสุ
Schefflera actinophylla (Endl.) H.A.T. Harms หนวดปลาหมึก
Spathodea campanulata P.Beauv. แคแสด
Thalia geniculata L. คล้าน้้า
Ulex europaeus L. ยูเลกซ์
Acacia mearnsii De Wild. (กระถินด้า)
Ageratina riparia ( Regel ) R.M.King & H.Rob.
Argemone ochroleuca Sweet
Arrhenatherum elatius ( L. ) J.Presl & C.Presl
Asphodelus fistulosus L.
Azolla filiculoides Lam.
Briza maxima L.
Carduus nutans L.
Cecropia schreberiana Miq. (ซีโครเปีย)
Cinchona pubescens Vahl (ควินิน)
Cyperus eragrostis Lam.
Cytisus scoparius (L.) Link
Datura stramonium L.
Echinochloa polystachya (Kunth) A.S. Hitchc.
Eragrostis curvula (Schrad.) Nees
Erodium cicutarium (L.) L'Hér. ex Ait.
Euphorbia esula L. (น้้านมราชสีห์)
Holcus lanatus L.
Marsilea macropoda Engelm. (ผักแว่นใบใหญ่)
Marsilea quadrifolia L. (ผักแว่นขน)
Miconia calvescens DC.
Morella faya (Ait.) Wilbur (พุ่มไฟ)
Oxalis pes-caprae L.
Polygonum cuspidatum Siebold & Zucc. (ผักไผ่ญี่ปุ่น)
Prosopis glandulosa Torr. (เมสคีท)
Spartina anglica C.E.Hubb. (หญ้าเจ้าชู้ทะเล)
Typha latifolia L. (ธูปฤาษี)
Undaria pinnatifida Suringar (Asia Kelp)
ปี2552
• การสารวจพันธุ์พืชต่างถิ่นในอุทยานแห่งชาติภาคเหนือตอนล่าง
ปี2553
• การสารวจและประเมิน สถานการณ์พืชต่างถิ่นรุกรานในแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ: กรณีศึกษา
น้าตกแก่งโสภา หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติที่ สล.2 อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง จังหวัดพิษณุโลก
ปี2554
• การสารวจและประเมินสถานการณ์พืชต่างถิ่นรุกราน ในแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ : กรณีศึกษา
อุทยานแห่งชาติน้าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์-ชัยภูมิ
ปี 2555
• สถานการณ์พืชต่างถิ่นรุกรานในแหล่งท่องเที่ยวและนันทนาการ : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติตาด
หมอก จังหวัดเพชรบูรณ์
ปี 2556
• การสารวจและประเมินสถานการณ์พืชต่างถิ่นรุกรานในแหล่งท่องเที่ยว และนันทนาการ : กรณีศึกษา
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า จังหวัดพิษณุโลก-เลย
ปี 2557
• ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในแหล่งนันทนาการกลางแจ้งของอุทยานแห่งชาติ
ผลงานช่วงปี พ.ศ. 2552 - 2557
ปี 2552 : การสารวจพันธุ์พืชต่างถิ่นในอุทยานแห่งชาติภาคเหนือตอนล่าง
ปี 2552 :
การสารวจพันธุ์พืชต่างถิ่น
ในอุทยานแห่งชาติ
ภาคเหนือตอนล่าง
อช.ภาคเหนือตอนล่าง
30 แห่ง
การเดินสารวจ และสังเกต
ด้วยสายตา
ตาม รายการ 1 รายการ 2
1) บริเวณเขตบริการ
2) สถานที่กางเต็นท์
รายการ 1
พบ ใน อช.ทั้ง 30 แห่ง 3 ชนิด
1) สาบเสือ
2) หญ้าคา
3) ไมยราบเลื้อย
อช. ที่พบมากชนิด 4 แห่ง คือ
1) ถ้าสะเกิน พบ 14 ชนิด
2) ศรีน่าน พบ 12 ชนิด
3) ทุ่งแสลงหลวง และลานสาง
พบ 11 ชนิด
ปี 2556 : ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในแหล่งนันทนาการกลางแจ้งของอุทยานแห่งชาติ
อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า อุทยานแห่งชาติน้าหนาว อุทยานแห่งชาติตาดหมอก
ชนิด พื้นที่ 33,125 ม2 (20.703 ไร่)/
ความสูง 1,129 ม./อุณหภูมิเฉลี่ย 21.9 ๐C
พื้นที่ 24,253 ม2 (15.158 ไร่) /
ความสูง 830 ม./อุณหภูมิเฉลี่ย 23.8 ๐C
พื้นที่ 5,877 ม2 (3.673 ไร่) /
ความสูง 380 ม./อุณหภูมิเฉลี่ย 27.8 ๐C
ชนิด %F ระดับ %C ระดับ ชนิด %F ระดับ %C ระดับ ชนิด %F ระดับ %C ระดับ
1.สาบเสือ  1.22 2 0.61 1  38.33 4 27.5 4  55.81 5 39.53 4
2.แว่นแก้ว  2.44 2 0.91 1  23.33 3 12.5 3  46.51 4 23.26 3
3.ปืนนกไส้  14.63 3 7.93 2  1.67 1 0.42 1 - - - -
4.ผักเผ็ดแม้ว  7.32 2 2.74 2  5.00 2 1.60 2 - - - -
5.กระถินยักษ์  6.10 2 3.96 2 - - - -  16.28 3 12.79 3
6.หญ้าคา - - - -  28.33 4 25.42 3  39.53 4 35.47 4
7.ไมยราบเลื้อย - - - -  28.33 4 22.5 3  39.53 4 31.40 4
8.ผกากรอง  1.22 2 0.30 1 - - - - - - - -
9.แมงลักคา - - - -  23.33 3 15.00 3 - - - -
10.ขจรจบดอกเล็ก  1.22 2 0.91 1 - - - - - - - -
11.ทหารกล้า  1.22 2 0.61 1 - - - - - - - -
รวมชนิด/ % เฉลี่ย/ ระดับ 8 4.42 2 2.25 2 7 21.19 3 14.99 3 5 39.53 4 28.49 4
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง 4 มาก 5 มากที่สุด
F = ความถี่ของพรรณพืช %F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช C = พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
สถานการณ์ระดับความรุนแรงของพืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว รายการ 1
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง 4 มาก 5 มากที่สุด
%F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
สถานการณ์ระดับความรุนแรงของพืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว รายการ 1
ปัจจัยแวดล้อม
การกระจาย (ชนิด)
r Sig.
ขนาดพื้นที่ (ตารางเมตร) 1.00 .005**
ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (เมตร) .997 .047*
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) -1.00 .008**
ปริมาณน้าฝน (มิลลิเมตร) -.756 .455
** ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
* ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
แสดงความสัมพันธ์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation)
ปัจจัยแวดล้อม
การกระจาย (ชนิด)
r R2 Sig.
ขนาดพื้นที่ (ตารางเมตร) 1 1 .005**
** มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ปัจจัยแวดล้อม
การกระจาย (ชนิด)
r R2 Sig.
ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (เมตร) .997 .994 .047*
* มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
เส้นแนวโน้มประมาณการความสัมพันธ์ของตัวแปร (Curve Estimation)
ปัจจัยแวดล้อม
การกระจาย (ชนิด)
r R2 Sig.
อุณหภูมิ (องศาเซลเซียส) -1 1
.008*
*
** มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01
ปัจจัยแวดล้อม
การกระจาย (ชนิด)
r R2 Sig.
ปริมาณน้าฝน (มิลลิเมตร) -.756 .571 .455
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาชนิด และการกระจายของจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
ตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่ควร ปูองกัน ควบคุม และกาจัด ของประเทศไทย
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
บริเวณเส้นทางเข้าถึงแหล่งนันทนาการ/เขตบริการของอุทยานแห่งชาติ
3 แห่ง คือ ภูหินร่องกล้า น้าหนาว และทุ่งแสลงหลวง ระหว่างปี พ.ศ. 2553 - 2556
2. เพื่อประเมินสถานการณ์ระดับความรุนแรงของพืชต่างถิ่น
วัตถุประสงค์
3. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของการกระจายจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
กับปัจจัยแวดล้อมในพื้นที่ ได้แก่
1) ความยาวของเส้นทางการเข้าถึง
2) จานวนยานพาหนะ
3) จานวนนักท่องเที่ยว
4) ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง
5) อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี
มีเนื้อที่ประมาณ 307 ตารางกิโลเมตร
หรือ 191,875 ไร่
ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 48
ของประเทศไทย
กิจกรรมนันทนาการ
- ปิกนิก
- ตั้งค่ายพักแรม
- พักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
- ชมทัศนียภาพ/ทิวทัศน์ธรรมชาติ
- ศึกษาประวัติศาสตร์
บริเวณเส้นทางเข้าถึงเขตบริการ
อช. ภูหินร่องกล้า
ระยะทางประมาณ 1,600 เมตร
รวม 34 แปลง
มีเนื้อที่ประมาณ 966 ตารางกิโลเมตร
หรือ 603,750 ไร่
ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 5
ของประเทศไทย
กิจกรรมนันทนาการ
- ปิกนิก
- ตั้งค่ายพักแรม
- พักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
- ชมทัศนียภาพ/ทิวทัศน์ธรรมชาติ
- ศึกษาธรรมชาติ
บริเวณเส้นทางเข้าถึงเขตบริการ อช. น้าหนาว
ระยะทางประมาณ 1,700 เมตร รวม 36 แปลง
มีเนื้อที่ประมาณ 1,262.40 ตารางกิโลเมตร
หรือ 789,000 ไร่
ประกาศเป็นอุทยานแห่งชาติ ลาดับที่ 3
ของประเทศไทย
กิจกรรมนันทนาการ บริเวณน้าตกแก่งโสภา
- ปิกนิก
- พักผ่อนในบรรยากาศที่สงบ
- ชมทัศนียภาพ/ทิวทัศน์ธรรมชาติ
- เล่นน้าตก
บริเวณเส้นทางเข้าถึงแหล่งนันทนาการ อช. ทุ่งแสลงหลวง
(บริเวณน้าตกแก่งโสภา) ระยะทางประมาณ 2,200 เมตร
รวม 46 แปลง
อุปกรณ์และวิธีการ
2. การเก็บข้อมูล
2.1 วางแปลงตัวอย่างชั่วคราวแบบเป็นระบบ (systematic sampling) รูปสี่เหลี่ยม
ขนาด 2 x 2 ม. ห่างจากขอบถนน 1 ม. ระยะห่างระหว่างแปลง 100 ม.
ทั้งสองฝั่งตามความยาวของเส้นทางการเข้าถึง
อุปกรณ์และวิธีการ
2.2 ศึกษาการกระจายของจานวนชนิดพันธุ์
พืชต่างถิ่นรุกราน ตามทะเบียน ชนิดพันธุ์
ต่างถิ่น ที่ควรปูองกัน ควบคุม กาจัดของ
ประเทศไทย (สานักงานนโยบายและแผน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2552)
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว
อุปกรณ์และวิธีการ
3. วิเคราะห์ข้อมูล
3.1 ประเมินสถานการณ์ความรุนแรงของพืชต่างถิ่น
ความถี่ของพรรณพืช (Frequency) โดยทั่วไปค่าความถี่จะแสดงไว้ใน
รูปของเปอร์เซ็นต์ความถี่ ดังนี้ (นิรัตน์ และคณะ, 2551)
F (%) = จานวนแปลงตัวอย่างที่พืชนั้นปรากฏ X 100
จานวนแปลงตัวอย่างทั้งหมด
พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช (cover) บอกเป็นเปอร์เซ็นต์ของเนื้อที่แปลง
ตัวอย่าง ดังนี้ (นิรัตน์ และคณะ, 2551)
C (%) = พื้นที่ปกคลุมของพืชนั้น X 100
พื้นที่แปลงตัวอย่างทั้งหมด
อุปกรณ์และวิธีการ
ตัวชี้วัดระดับความรุนแรง ตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และเปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุม
ของพืชต่างถิ่น
ที่มา: นิรัตน์ และคณะ (2551)
ระดับความรุนแรง ความถี่ในการพบในแปลงตัวอย่าง (%) การปกคลุมพื้นที่(%)
1. น้อยมาก < 1 < 1
2. น้อย 1-10 1-10
3. ปานกลาง 11-25 11-25
4. มาก 26-50 26-50
5. มากที่สุด > 50 > 50
ปัจจัยแวดล้อม อุทยานแห่งชาติ
ภูหินร่องกล้า น้าหนาว ทุ่งแสลงหลวง
1.ความยาวของเส้นทางการเข้าถึง (เมตร) 1,600 1,700 2,200
2.จานวนยานพาหนะ1 (คัน) 7,9783 4,9233 1,3132,4
3.จานวนนักท่องเที่ยว1 (คน) 36,9923 19,7223 7,4802,4
4.ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (เมตร) 1,129 830 464
5.อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี (องศาเซลเซียส) 21.9 23.8 26.3
1 เฉลี่ยสถิตในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 2555 (เดือนที่มีจานวนยานพาหนะ และจานวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในรอบ 1 ปี )
2 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.2 (น้าตกแก่งโสภา) ที่มา: 3 สานักอุทยานแห่งชาติ (2557) 4 อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง (2557)
อุปกรณ์และวิธีการ
3.2 ศึกษาความสัมพันธ์ของการกระจายจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
กับปัจจัยแวดล้อมในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ทั้ง 3 แห่ง
ผลและวิจารณ์
1. พบการกระจายของจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น ตามทะเบียนชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ที่ควรปูองกัน ควบคุม และกาจัด ของประเทศไทย
รายการ 1 ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว พบจานวน 13 ชนิด
(จาก 24 ชนิด)
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว รายการ 1 ที่พบ 13 ชนิด
อช.ภูหินร่องกล้า
1.สาบเสือ
2.กระถินยักษ์
3.แว่นแก้ว
4.สาบหมา
5.ปืนนกไส้
6.ผักเผ็ดแม้ว
7.หญ้ายาง
8.ทหารกล้า
9.ผกากรอง
อช.น้าหนาว
1.สาบเสือ
2.กระถินยักษ์
3.แว่นแก้ว
4.หญ้าคา
5.ไมยราบเลื้อย
6.แมงลักคา
7.ขจรจบดอกเล็ก
อช.ทุ่งแสลงหลวง
1.สาบเสือ
2.กระถินยักษ์
3.หญ้าคา
4.ไมยราบเลื้อย
การกระจายของจานวนชนิดพันธุ์
พืชต่างถิ่น รายการ 1
ของอุทยานแห่งชาติ ทั้ง 3 แห่ง
ชนิดพันธุ์ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า
1,600 m. / 7,978 คัน / 36,992 คน / 21.9 ๐C / MSL. 1,129 m.
ความถี่ (n=34) พื้นที่ปกคลุม (n=136)
F %F ระดับ C %C ระดับ
1.สาบเสือ 1 2.94 2 1 0.74 1
2.กระถินยักษ์ 1 2.94 2 1 0.74 1
3.แว่นแก้ว 2 5.88 2 5 3.68 2
4.สาบหมา 2 5.88 2 5 3.68 2
5.ปืนนกไส้ 6 17.65 3 14 10.29 2
6.ผักเผ็ดแม้ว 4 11.76 3 12 8.82 2
7.หญ้ายาง 1 2.94 2 1 0.74 1
8.ทหารกล้า 2 5.88 2 8 5.88 2
9.ผกากรอง 2 5.88 2 5 3.68 1
รวมชนิด/ % เฉลี่ย 9 ชนิด 6.86 2 - 4.25 2
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง 4 มาก 5 มากที่สุด
F = ความถี่ของพรรณพืช %F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช C = พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
ชนิดพันธุ์ อุทยานแห่งชาติน้าหนาว
1,700 m. / 4,923 คัน / 19,722 คน / 23.8 ๐C / MSL. 830 m.
ความถี่ (n=36) พื้นที่ปกคลุม (n=144)
F %F ระดับ C %C ระดับ
1.สาบเสือ 26 72.22 5 100 69.44 5
2.กระถินยักษ์ 2 5.56 2 3 2.08 2
3.แว่นแก้ว 3 8.33 2 5 3.47 2
4.หญ้าคา 26 72.22 5 64 44.44 4
5.ไมยราบเลื้อย 30 83.33 5 81 56.25 5
6.แมงลักคา 5 13.89 3 7 4.86 2
7.ขจรจบดอกเล็ก 14 38.89 4 24 16.67 3
รวมชนิด/ % เฉลี่ย 7 ชนิด 42.06 4 - 28.17 4
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง
4 มาก 5 มากที่สุด
F = ความถี่ของพรรณพืช %F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช
C = พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
ชนิดพันธุ์ อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
2,200 m. / 1,313 คัน / 7,480 คน / 26.3 ๐C / MSL. 464 m.
ความถี่ (n=46) พื้นที่ปกคลุม (n=184)
F %F ระดับ C %C ระดับ
1.สาบเสือ 19 41.3 4 46 25 3
2.กระถินยักษ์ 4 8.7 2 11 5.98 2
3.หญ้าคา 5 10.87 3 10 5.43 2
4.ไมยราบเลื้อย 11 23.91 3 26 14.13 3
รวมชนิด/ % เฉลี่ย 4 ชนิด 21.20 3 - 12.64 3
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง
4 มาก 5 มากที่สุด
F = ความถี่ของพรรณพืช %F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช
C = พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
ชนิดพันธุ์ อุทยานแห่งชาติภูหินร่องกล้า อุทยานแห่งชาติน้าหนาว อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
1,600 m. / 7,978 คัน / 36,992 คน /
21.9 ๐C / MSL. 1,129 m.
1,700 m. / 4,923 คัน / 19,722 คน /
23.8 ๐C / MSL. 830 m.
2,200 m. / 1,313 คัน / 7,480 คน /
26.3 ๐C / MSL. 464 m.
ชนิด %F ระดับ %C ระดับ ชนิด %F ระดับ %C ระดับ ชนิด %F ระดับ %C ระดับ
1.สาบเสือ  2.94 2 0.74 1  72.22 5 69.44 5  41.3 4 25 3
2.กระถินยักษ์  2.94 2 0.74 1  5.56 2 2.08 2  8.7 2 5.98 2
3.แว่นแก้ว  5.88 2 3.68 2  8.33 2 3.47 2
4.หญ้าคา  72.22 5 44.44 4  10.87 3 5.43 2
5.ไมยราบเลื้อย  83.33 5 56.25 5  23.91 3 14.13 3
6.สาบหมา  5.88 2 3.68 2
7.ปืนนกไส้  17.65 3 10.29 2
8.ผักเผ็ดแม้ว  11.76 3 8.82 2
9.หญ้ายาง  2.94 2 0.74 1
10.ทหารกล้า  5.88 2 5.88 2
11.แมงลักคา  13.89 3 4.86 2
12.ผกากรอง  5.88 2 3.68 1
13.ขจรจบดอกเล็ก  38.89 4 16.67 3
รวมชนิด/ % เฉลี่ย 9 ชนิด 6.86 2 4.25 2 7 ชนิด 42.06 4 28.17 4 4 ชนิด 21.20 3 12.64 3
หมายเหตุ ระดับ หมายถึง ระดับความรุนแรงตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และพื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง 4 มาก 5 มากที่สุด
F = ความถี่ของพรรณพืช %F = เปอร์เซ็นต์ความถี่ของพรรณพืช C = พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช %C = เปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช
ปัจจัยแวดล้อม อุทยานแห่งชาติ
ภูหินร่องกล้า น้าหนาว ทุ่งแสลงหลวง
1.ความยาวของเส้นทางการเข้าถึง (เมตร) 1,600 1,700 2,200
2.จานวนยานพาหนะ1 (คัน) 7,9783 4,9233 1,3132,4
3.จานวนนักท่องเที่ยว1 (คน) 36,9923 19,7223 7,4802,4
4.ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (เมตร) 1,129 830 464
5.อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี (องศาเซลเซียส) 21.9 23.8 26.3
1 เฉลี่ยสถิตในเดือน ธันวาคม พ.ศ. 2551 - 2555 (เดือนที่มีจานวนยานพาหนะ และจานวนนักท่องเที่ยวมากที่สุดในรอบ 1 ปี )
2 หน่วยพิทักษ์อุทยานแห่งชาติ ที่ สล.2 (น้าตกแก่งโสภา) ที่มา: 3 สานักอุทยานแห่งชาติ (2557) 4 อุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง (2557)
ผลและวิจารณ์
3. ความสัมพันธ์ของการกระจายจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นกับปัจจัยแวดล้อม
ในพื้นที่อุทยานแห่งชาติ ทั้ง 3 แห่ง
ปัจจัยแวดล้อม การกระจาย (ชนิด)
r Sig
1.ความยาวของเส้นทางการเข้าถึง (เมตร) -0.968 0.161
2.จานวนยานพาหนะ (คัน) 0.998* 0.043
3.จานวนนักท่องเที่ยว (คน) 0.977 0.136
4.ระดับความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง (เมตร) 0.998* 0.036
5.อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี (องศาเซลเซียส) -0.999* 0.023
* ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation) มีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์ค่าสหสัมพันธ์ของเพียร์สัน (Pearson Correlation)
เส้นแนวโน้มประมาณการความสัมพันธ์ของตัวแปร
(Curve Estimation)
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการศึกษา
ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
รายการ 1
พบ 13 ชนิด
(จาก 24 ชนิด)
สาบเสือ + กระถินยักษ์
3 อช.
สาบเสือ+ไมยราบเลื้อย
รุกรานมาก
อช.น้าหนาว
3 ปัจจัยแวดล้อมที่มีความสัมพันธ์
กับการกระจายจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
1) จานวนยานพาหนะ r = 0.998
2) ความสูงจากระดับน้าทะเลปานกลาง r = 0.998
3) อุณหภูมิเฉลี่ยต่อปี r = - 0.999
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะด้านการจัดการ
1. พิจารณาวางแผนพัฒนาแหล่งนันทนาการในพื้นที่คุ้มครองอย่างรอบครอบ
2. จงยังประโยชน์ตนและผู้อื่นให้ถึงพร้อมด้วยความไม่ประมาท
3. ปูองกันควบคุมที่สาเหตุ
4. กาจัดด้วยวิธีที่เหมาะสม
5. ประชาสัมพันธ์ให้ความรู้และปลูกจิตสานึก
6. ใช้พันธุ์ไม้ท้องถิ่น
สรุปผลและข้อเสนอแนะ
ข้อเสนอแนะด้านการศึกษาวิจัย
1. ดาเนินการศึกษาในพื้นที่เดิม
2. ดาเนินการศึกษาในพื้นที่อนุรักษ์อื่น
3. ศึกษาหาความสัมพันธ์กับปัจจัยแวดล้อมอื่น
4. ศึกษาขั้นตอนและวิธีการกาจัด
อ้างอิง
นิรัตน์ จินตนา ดาราพร ไชยรัตน์ ธนู หอระตะ และ นิลุบล กัณหา. 2551. สถานการณ์พืชต่างถิ่น
รุกรานในอุทยานแห่งชาติเขาสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.
กลุ่มงานการอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ปุาและพันธุ์พืช กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ปุา
และพันธุ์พืช. กรุงเทพฯ.
สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. 2552. มติคณะรัฐมนตรี
เมื่อวันที่ 28 เมษายน 2552 เรื่อง มาตรการปูองกัน ควบคุม และกาจัดชนิดพันธุ์ต่างถิ่น.
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม.กรุงเทพฯ.
เราจะทาตามสัญญา ขอเวลาอีกไม่นาน แล้วแผ่นดินที่งดงาม จะคืนกลับมา
เราจะทาอย่างซื่อตรง ขอให้เธอจงไว้ใจ และศรัทธา
อุทยานฯจะดีในไม่ช้า ขอคืนความสุขให้เธอ ประชาชน
แผ่นดินจะดีในไม่ช้า ความสุขจะคืนมา ข้าราชการไทย
ขอบคุณครับ
ปี 2557 : การศึกษาการกาจัดพืชต่างถิ่นรุกราน : กรณีศึกษาอุทยานแห่งชาติทุ่งแสลงหลวง
(ดาเนินการต่อเนื่องถึงปีงบประมาณ พ.ศ. 2558)
พื้นที่ศึกษา
วิธีการกาจัด
9 วิธี1. สุมเผา
2. ปิดแสงด้านบน
3. ปิดแสงรอบด้าน
4. ราดด้วยน้าส้มควันไม้ผสมเกลือ
5. การถอน
6. การขุด
7. การตัด
8. การปล่อย
ตามธรรมชาติ
9. ใต้ร่มเงาไม้
วิธีการศึกษา
1.เผา
2.ปิดแสง
ด้านบน
3.ปิดแสง
รอบด้าน
4.น้าส้ม
ควันไม้ฯ
5.ถอน 6.ขุด 7.ตัด
8.ปล่อยตาม
ธรรมชาติ
9.ใต้ร่ม
เงาไม้
ผังการวางแปลงกาจัดพืชต่างถิ่นรุกราน
หน้าแล้ง
27 แปลง
หน้าฝน
27 แปลง
54 แปลง
แปลงตัวอย่างชั่วคราว
ขนาด 4 x 4 เมตร
แปลงย่อยขนาด 40 x 40 ซม.
จานวน 100 แปลงย่อย
บันทึกข้อมูล
1.ชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานที่พบ
2.ความถี่ และพื้นที่ปกคลุม
3.ความสูง
วิธีที่ 1
สุมเผา
วิธีที่ 2
ปิดแสงด้านบน
คลุมด้วยตาข่ายกรองแสง 70 %
วิธีที่ 3
ปิดแสงรอบด้าน
คลุมด้วยตาข่ายกรองแสง 70 %
1. น้า 20 ลิตร
2. เกลือ 5 กิโลกรัม
3. น้าส้มควันไม้ 1 ลิตร
วิธีที่ 4
ราดด้วยน้าส้มควันไม้ผสมเกลือ
วิธีที่ 5
การถอน
วิธีที่ 6
การขุด
วิธีที่ 7
การตัด
วิธีที่ 8
การปล่อยตามธรรมชาติ
วิธีที่ 9
ใต้ร่มเงาไม้
1. ศึกษาการกระจายของจานวนชนิดพันธุ์
พืชต่างถิ่น ตามทะเบียน ชนิดพันธุ์ต่างถิ่น
ที่ควรปูองกัน ควบคุม กาจัดของประเทศไทย
(สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม, 2552)
รายการ 1 – รายการ 4
2. ประเมินสถานการณ์ความรุนแรงของพืชต่างถิ่น ตามวิธีการของนิรัตน์ และคณะ (2551) ดังนี้
ความถี่ของพรรณพืช (Frequency)
F (%) = จานวนแปลงตัวอย่างที่พืชนั้นปรากฏ X 100
จานวนแปลงตัวอย่างทั้งหมด
พื้นที่ปกคลุมของพรรณพืช (cover)
C (%) = พื้นที่ปกคลุมของพืชนั้น X 100
พื้นที่แปลงตัวอย่างทั้งหมด
ระดับความรุนแรง 1 น้อยมาก 2 น้อย 3 ปานกลาง 4 มาก 5 มากที่สุด
F (%) < 1 1-10 11-25 26-50 >50
C (%) < 1 1-10 11-25 26-50 >50
ตัวชี้วัดระดับความรุนแรง ตามเปอร์เซ็นต์ความถี่ และเปอร์เซ็นต์พื้นที่ปกคลุมของพืชต่างถิ่นรุกราน
ที่มา: ปรับปรุงจาก นิรัตน์ และคณะ (2551)
3. สรุปผลวิธีการที่เหมาะสมสาหรับการกาจัดพืชต่างถิ่นรุกราน จากวิธีการกาจัด
ทั้ง 9 วิธี ซึ่งได้แก่
วิธีที่ 1 สุมเผา
วิธีที่ 2 ปิดแสงด้านบน
วิธีที่ 3 ปิดแสงรอบด้าน
วิธีที่ 4 ราดด้วยน้าส้มควันไม้ผสมเกลือ
วิธีที่ 5 การถอน
วิธีที่ 6 การขุด
วิธีที่ 7 การตัด
วิธีที่ 8 การปล่อยตามธรรมชาติ
วิธีที่ 9 ใต้ร่มเงาไม้
ผลการศึกษาและข้อสังเกต
จากผลการทดลองรอบหน้าแล้ง
(ผลการศึกษาเบื้องต้น)
ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกราน หน้าแล้ง หน้าฝน
1.สาบเสือ  
2.หญ้าคา  
3.ผักเผ็ดแม้ว  
4.ปืนนกไส้  
5.แว่นแก้ว  
รวม 3 5
1. พบการกระจายของจานวนชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่น
รายการ 1 ชนิดพันธุ์ต่างถิ่นที่รุกรานแล้ว (เพียงรายการเดียว)
วิธี ขุดและถอน
ก่อนขุด (หน้าแล้ง) หลังขุด (หน้าฝน)
พบพืชต่างถิ่นรุกรานในแปลงตัวอย่างจานวนน้อยลงจากข้อมูลเดิม
วิธี ปิดแสงรอบด้านคลุมด้วยตาข่ายกรองแสง 70 %
ก่อนปิดแสงรอบด้าน
(หน้าแล้ง)
หลังปิดแสงรอบด้าน
(หน้าฝน)
พืชต่างถิ่นรุกรานที่พบในแปลงตัวอย่างมีลักษณะเปลี่ยนวิสัยเป็นไม้เลื้อย
บทสรุปจากผลการดาเนินงาน
ในช่วงปี พ.ศ. 2552 – 2557
4. เพื่อการคุ้มครองและดารงไว้ซึ่งความหลากหลายทางชีวภาพใน
ระบบนิเวศปุาไม้ของประเทศไทย ให้มีความยั่งยืนตลอดไป
3. นาผลการศึกษาทางวิชาการ สนับสนุนการจัดการอุทยานแห่งชาติ
และพื้นที่คุ้มครอง เผยแพร่ให้ความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง สร้างความ
ตระหนัก และปลูกจิตสานึก
2. ประเมินสถานการณ์ความรุนแรง ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานฯ
โดยการวางแปลงตัวอย่างชั่วคราวอย่างเป็นระบบ ศึกษาปัจจัยที่
เกี่ยวข้อง
1. สารวจ ศึกษา จัดทาฐานข้อมูลของชนิดพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกราน โดย
การศึกษาชนิดและการกระจายในพื้นที่อุทยานแห่งชาติภาคเหนือ
ตอนล่าง
ไม่นาเข้า ไม่ครอบครอง ไม่เลี้ยง
ไม่ปลูก ไม่ขยายพันธุ์ ไม่แจกจ่าย
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01Art Nan
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
พัน พัน
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
Auraphin Phetraksa
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
PinNii Natthaya
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
jantara
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกbiwty_keng
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
Tangkwa Pawarisa
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
BaKa BaKa Saiaku
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
Thanyamon Chat.
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
Z-class Puttichon
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
tassanee chaicharoen
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
Thitaree Samphao
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
Thunrada Sukkaseam
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
Don Tanadon
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
พัน พัน
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
Wichai Likitponrak
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
inkky992
 

What's hot (20)

การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
นางพัชรินทร์ สุทธหลวง01
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลกโครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
โครงงานเรื่องปลูกป่าเพื่อรักษาโลก
 
แปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวรแปลงตัวอย่างถาวร
แปลงตัวอย่างถาวร
 
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
การเขียนชื่อวิทยาศาสตร์
 
ทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชียทวีปเอเชีย
ทวีปเอเชีย
 
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอกพืชมีดอกและพืชไร้ดอก
พืชมีดอกและพืชไร้ดอก
 
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อมปัญหาสิ่งแวดล้อม
ปัญหาสิ่งแวดล้อม
 
การตากแห้ง
การตากแห้งการตากแห้ง
การตากแห้ง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2ใบงานที่ 1.2
ใบงานที่ 1.2
 
เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)เนื้อเยื่อพืช (T)
เนื้อเยื่อพืช (T)
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 
โครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิลโครงงานกระถางรีไซเคิล
โครงงานกระถางรีไซเคิล
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน211.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
11.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน2
 
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
คุณสมบัติของเยื่อหุ้มเซลล์
 

Similar to ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ

ecosystem
ecosystemecosystem
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชvarut
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
UNDP
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
เข็มชาติ วรนุช
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพLPRU
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
cherdpr1
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
chirapa
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
bmmg1
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
Nattapong Boonpong
 
Plant Pest
Plant PestPlant Pest
Plant Pest
WarongWonglangka
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Technology Innovation Center
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
Sircom Smarnbua
 

Similar to ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ (20)

เห็ดพิษ
เห็ดพิษเห็ดพิษ
เห็ดพิษ
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืชหน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
หน่วยที่5การป้องกันกำจัดศัตรูพืช
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
Manybio
ManybioManybio
Manybio
 
ปะการัง
ปะการังปะการัง
ปะการัง
 
โครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ดโครงงาน54เห็ด
โครงงาน54เห็ด
 
อาณาจักรพืช
อาณาจักรพืชอาณาจักรพืช
อาณาจักรพืช
 
3
33
3
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
ปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาวปะการังฟอกขาว
ปะการังฟอกขาว
 
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาวสถานภาพปะการังในเขตอุทยานแห่งชาติทางทะเลหลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
สถานภาพปะการังในเขต อุทยานแห่งชาติทางทะเล หลังปรากฏการณ์ปะการังฟอกขาว
 
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
เรื่องราวของแมลงวันบ้าน ฯลฯ ๒๘ พ.ย. ๒๕๕๒
 
งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2งานนำเสนอ2
งานนำเสนอ2
 
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
Rose, Bougainvillea and Ruellia tuberosa Flower Structure Observation by M.5 ...
 
Biodiversity
BiodiversityBiodiversity
Biodiversity
 
Plant Pest
Plant PestPlant Pest
Plant Pest
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
Postharvest Newsletter ปีที่ 20 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2564
 
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
รายงานโครงงานวิทย์ เรื่อง การสำรวจและเพาะเลี้ยงบึ้งขายาว (Haplopelma longipes...
 

More from Auraphin Phetraksa

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
Auraphin Phetraksa
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
Auraphin Phetraksa
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
Auraphin Phetraksa
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
Auraphin Phetraksa
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
Auraphin Phetraksa
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
Auraphin Phetraksa
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
Auraphin Phetraksa
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
Auraphin Phetraksa
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
Auraphin Phetraksa
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกAuraphin Phetraksa
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
Auraphin Phetraksa
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
Auraphin Phetraksa
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
Auraphin Phetraksa
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
Auraphin Phetraksa
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Auraphin Phetraksa
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Auraphin Phetraksa
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
Auraphin Phetraksa
 

More from Auraphin Phetraksa (20)

การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณการใช้ประโยชน์พืชพรรณ
การใช้ประโยชน์พืชพรรณ
 
การศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่าการศึกษาสัตว์ป่า
การศึกษาสัตว์ป่า
 
แนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อแนวเชื่อมต่อ
แนวเชื่อมต่อ
 
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
การประเมินมูลค่าทางเศรษฐศาสตร์
 
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
การศึกษานิเวศวิทยาระยะยาวโดยใช้แปลงตัวอย่างถาวรในอุทยานแห่งชาติ ปี2557
 
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
แนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศสรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
สรุปแนวเชื่อมต่อระบบนิเวศ
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพรผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
ผลกระทบต่อทรัพยากรทางทะเล จากกรณีน้ำมันดิบรั่วไหล ศูนย์ชุมพร
 
นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗นันทนาการ ๕๗
นันทนาการ ๕๗
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลกชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกราน พิษณุโลก
 
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
โครงการศึกษาความเต็มใจจ่ายค่าธรรมเนียมของนักท่องเที่ยวในการเข้าอุทยานแห่งชาติ...
 
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานีการเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
การเปรียบเทียบโครงสร้างและองค์ประกอบชนิดพันธุ์ไม้ ศูนย์สุราษฎร์ธานี
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติInVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
InVEST ต้นทุนทางธรรมชาติ
 
Chamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรีChamao corridor rama เพชรบุรี
Chamao corridor rama เพชรบุรี
 
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ตCorridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
Corridor prograss july 2014_rama_ภูเก็ต
 
Corridor 55-56
Corridor 55-56Corridor 55-56
Corridor 55-56
 

ชนิดและการกระจายพันธุ์พืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ