SlideShare a Scribd company logo
ป่าไม้หมายถึง “บรรดาพื้นที่ที่มีพฤกษชาตินานาชนิดปกคลุมอยู่
โดยมีไม้ต้นขนาดต่างๆ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ โดยไม่คานึงว่า จะมี
การทาไม้ในพื้นที่ดังกล่าวหรือไม่ก็ตาม สามารถผลิตไม้หรือมีอิทธิพล
ต่อลมฟ้าอากาศ หรือต่อระบบของน้าในท้องถิ่น” นอกจากนี้พื้นที่ที่ได้
ถูกตัดฟัน หรือแผ้วถาง หรือโค่นเผาไม้ลง และมีเป้าหมายที่จะปลูกป่า
ขึ้นในอนาคต ก็นับรวมเป็นพื้นที่ป่าไม้ด้วย แต่ทั้งนี้มิได้นับเอาป่า
ละเมาะ หรือหมู่ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่นอกป่า หรือต้นไม้สองข้างทางคมนาคม
หรือที่ยืนต้นอยู่ตามหัวไร่ปลายนา หรือที่ขึ้นอยู่ในสวนสาธารณะ ให้
เป็นป่าไม้ด้วย
ป่ าไม่ผลัดใบ (Evergreen)
ต้นไม้ในป่าส่วนใหญ่
จะเป็นสีเขียวชอุ่มอยู่ตลอด
ทั้งปี ต้นไม้ส่วนใหญ่จะ
ผลัดใบพร้อมๆกัน
1. ป่าดงดิบชื้น (Moist Evergreen Forest)
จัดเป็นป่าฝนในเขตร้อน (Tropical rain forest) บนพื้นที่ที่มี
ฝนตกชุกและมีความชุ่มชื้นในดินค่อนข้างสูงสม่าเสมอตลอด
ทั้งปี มีลักษณะโครงสร้างเป็นป่ารกทึบประกอบด้วยพันธุ์ไม้
หลายร้อยชนิด ไม้ต้นของเรือนยอดชั้นบนส่วนใหญ่เป็นไม้ใน
วงศ์ยาง-ตะเคียน มีลาต้นสูงใหญ่เปลา-ตรงตั้งแต่ 30-50 เมตร
ถัดลงมาเป็นต้นไม้ขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสามารถอยู่ใต้
ร่มเงาของไม้ใหญ่ได้
ป่าดงดิบชื้น
2. ป่าดงดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest)
เป็นป่าไม่ผลัดใบที่มีไม้ผลัดใบขึ้นปะปนอยู่ด้วยในอัตราส่วนที่ใกล้เคียง
กัน ไม้ที่ผลัดใบมักมีการเปลี่ยนแปลงใบค่อนข้างสูงในฤดูแล้ง ในพื้นที่ที่มี
ฤดูกาลชัดเจนและต้องมีช่วงแล้งนาน 3-4 เดือน มีดินค่อนข้างลึกสามารถกัก
เก็บน้าได้ดีพอควร
โครงสร้างของป่าแบ่งออกเป็น 3 ชั้น
ชั้นบนสุด
ชั้นเรือนยอดสูง
25-40 เมตร
รองลงมา
เรือนยอดชั้นรองสูง
10-20 เมตร
ชั้นต่าสุด
ชั้นไม้พุ่มที่สูง
ไม่เกิน 5
เมตร
ป่าดงดิบแล้ง
3. ป่าดงดิบเขา (Hill Evergreen Forest)
เป็นป่าไม้ไม่ผลัดใบที่ปกคลุมยอดเขาสูงในระดับความสูง
ตั้งแต่ 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป สภาพดินโดยทั่วไป
มีความลึกพอสมควรที่จะพยุงไม้ขนาดใหญ่ได้ มีอากาศ
ค่อนข้างหนาวเย็นตลอดทั้งปี อุณหภูมิไม่เกิน 20◦c และช่วงต่า
ที่สุดอาจน้อยกว่า 0◦c อากาศมีความชื้นสูงเนื่องจากมีเมฆเข้า
มาปกคลุมอยู่เสมอ จนบางครั้งได้รับการเรียกขานว่าเป็น “ป่า
เมฆ”
4. ป่าสนเขา (Pine Forest)
เป็นป่าที่ชอบสภาพภูมิอากาศแบบกึ่งร้อน พบที่ระดับความ
สูงจากน้าทะเล 200 เมตรขึ้นไป ป่าสนเขาในประเทศไทย
ประกอบด้วยไม้เด่น 2 ชนิด ได้แก่ สนสองใบ และสนสามใบ
สนสองใบมักพบในพื้นที่ระดับความสูงต่ากว่าสนสามใบ จึง
มักพบป่าสนสองใบปะปนกับพันธุ์ไม้ของป่าเต็งรัง ส่วนป่าสน
สามใบมักพบปะปนกับพันธุ์ไม้ของป่าดงดิบเขา
ป่าผลัดใบ (Deciduous)
เป็นป่าชนิดที่ประกอบด้วยพันธุ์ไม้ชนิดผลัดใบหรือทิ้งใบเก่าในฤดูแล้ง
เพื่อจะแตกใบใหม่เมื่อเข้าฤดูฝน ยกเว้นพืชชั้นล่างจะไม่ผลัดใบ พบในพื้นที่
ที่มีปริมาณน้าฝนโดยเฉลี่ย 1,000-1,500 มิลลิเมตรต่อปี
1. ป่ าเบญจพรรณ
(Mixed Deciduous F
orest)
ป่ าเบญจพรรณหรือป่ าผสม
ผลัดใบ มักพบในพื้นที่มีระดับ
ความสูง 50-800 เมตรจาก
ระดับน้าทะเล
2. ป่าเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp Forest)
พบตามพื้นที่สูงตั้งแต่ 50-1,000 เมตรจากระดับน้าทะเล ซึ่ง
สภาพดินตื้นและกักเก็บน้าได้ไม่ดี บางแห่งอาจมีทรายปะปน
อยู่มาก มีหินบนผิวดินมากหรือเป็นดินลูกรังตื้นๆ ป่าเต็งรังเป็น
ป่าที่มีความสวยงามมากโดยเฉพาะในช่วงที่มีใบไม้เปลี่ยนสี
เหลืองสีแดง
ป่าเต็งรัง
3. ป่าทุ่ง (Savannas Forest)
ประกอบด้วยไม้ขนาดเล็กหรือพุ่มไม้ผสมกับหญ้าขึ้นปกคลุมพื้นที่
สลับกัน หญ้าในป่าทุ่งจะต้องสูงเกิน 80 เซนติเมตรขึ้นไป และเป็นหญ้า
ที่มีใบแบน เช่น หญ้าคา แฝก หญ้าพง เลา หญ้าแขม และตองกง
ทุ่งหญ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือทุ่ง
หญ้าปฐมภูมิ
โดยมีลักษณะของดินเป็น
ตัวกาหนด เช่น ในพื้นที่ที่มีดินเปียก
และแห้งสลับกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจาก
เป็นพื้นที่น้าท่วมขังในฤดูฝนและแห้ง
แล้งมากในฤดูร้อน พื้นที่ที่ดินตื้นทา
ให้ไม้ยืนตันซึ่งมีรากลึกขึ้นไม่ได้เป็น
ต้น
ทุ่งหญ้าที่เกิดขึ้นโดยการกระทาของ
มนุษย์
เนื่องจากการตัดโค่นทาลายตัน
ไม้เปลี่ยนสภาพป่าดั้งเดิมเป็นที่โล่ง
หญ้าจึงเข้าไปงอกงามแทน
พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง
ป่าเบญจพรรณ หนาแน่นไปด้วยพรรณไม้เด่นที่สาคัญได้แก่ ก่อแป้น ก่อเลือด ก่อนก
มณฑาหลวง จาปีป่า สารภีดอย กาลังเสือโคร่ง อบเชย ทะโล้กายาน ฯลฯ
อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่
พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพมีอุดมสมบูรณ์ของ ป่าใหญ่ดึกดาบรรพ์ (Old growth
forest) สภาพอากาศที่หนาวเย็นและชุ่มฉ่าตลอดทั้งปี ทาให้มีมอส เฟิร์นและพืช
อิงอาศัยขึ้นปกคลุมตามลาต้นอย่างหนาแน่น
อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่
พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจ
พรรณ ป่าเต็งรัง หนาแน่นไปด้วยพรรรณไม้ที่สาคัญและมีค่าทางเศรษฐกิจหลาย
ชนิดเช่น สัก มะค่าโมง แดง ประดู่ ชิงชัน ตะแบก ยางนา ฯลฯ
อุทยานแห่งชาติลาน้าน่าน จ.อุตรดิตถ์
พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีจุดเด่นที่สวยงาม เช่น โป่งเดือด
น้าตก ลุ่มน้าแม่แตง รวมทั้งความหลากหลายของพืชพรรณ และสัตว์ป่าที่ชุกชุม
อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จ.เชียงใหม่
ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits)
 จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์
กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน เป็นต้น
 ใช้เป็นอาหารจากส่วนต่างๆของพืชและผล
 ใช้เส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถักทอ เป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือกและ
อื่นๆ
 ใช้ทายารักษาโรคต่างๆ
ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect Benefits)
 ป่าไม้ทาให้เกิดความชุ่มชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซึ่งเกิดจากการ
หายใจของพืช ซึ่งเกิดขึ้นอยู่มากมายในป่าทาให้อากาศเหนือป่ามีความชื้นสูง
เมื่ออุณภูมิลดต่าลงไอน้าเหล่านั้นก็จะกลั่นตัวกลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝน
ตกลงมา ทาให้บริเวณที่มีพื้นป่าไม้มีความชุ่มชื้นอยู่เสมอ ฝนตกต้องตาม
ฤดูกาลและไม่เกิดความแห้งแล้ง
 เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า และช่วยรักษาความสมดุลของธรรมชาติไว้ด้วย
ซึ่งหากไม่มีป่าไม้สัตว์ป่าต่างๆ ดังกล่าวก็จะสูญพันธุ์ไป เพราะจะไม่มีแหล่ง
ที่อยู่อาศัย และแหล่งหากิน
ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
amixdouble
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตAon Narinchoti
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงพัน พัน
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมthnaporn999
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
wittawat_name
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชAnana Anana
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
พัน พัน
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
Thanyamon Chat.
 
ลิพิด
ลิพิดลิพิด
ลิพิด
Piyanart Suebsanoh
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
Pimrada Seehanam
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงvanida juntapoon
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
Thanyamon Chat.
 

What's hot (20)

แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
เพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซตเพาเวอร์เซต
เพาเวอร์เซต
 
ผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลงผักตบชวาไล่แมลง
ผักตบชวาไล่แมลง
 
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
ข้อสอบวิทย์เรื่องเซลล์ 1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวมรัฐเดี่ยว รัฐรวม
รัฐเดี่ยว รัฐรวม
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทยกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศไทย
 
การลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืชการลำเลียงน้ำของพืช
การลำเลียงน้ำของพืช
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
ลิพิด
ลิพิดลิพิด
ลิพิด
 
รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์รายงานคอมพิวเตอร์
รายงานคอมพิวเตอร์
 
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสงการค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
การค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการสังเคราะห์ด้วยแสง
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 

ทรัพยากรป่าไม้ในภาคเหนือ

  • 1.
  • 2. ป่าไม้หมายถึง “บรรดาพื้นที่ที่มีพฤกษชาตินานาชนิดปกคลุมอยู่ โดยมีไม้ต้นขนาดต่างๆ เป็นองค์ประกอบที่สาคัญ โดยไม่คานึงว่า จะมี การทาไม้ในพื้นที่ดังกล่าวหรือไม่ก็ตาม สามารถผลิตไม้หรือมีอิทธิพล ต่อลมฟ้าอากาศ หรือต่อระบบของน้าในท้องถิ่น” นอกจากนี้พื้นที่ที่ได้ ถูกตัดฟัน หรือแผ้วถาง หรือโค่นเผาไม้ลง และมีเป้าหมายที่จะปลูกป่า ขึ้นในอนาคต ก็นับรวมเป็นพื้นที่ป่าไม้ด้วย แต่ทั้งนี้มิได้นับเอาป่า ละเมาะ หรือหมู่ต้นไม้ที่ขึ้นอยู่นอกป่า หรือต้นไม้สองข้างทางคมนาคม หรือที่ยืนต้นอยู่ตามหัวไร่ปลายนา หรือที่ขึ้นอยู่ในสวนสาธารณะ ให้ เป็นป่าไม้ด้วย
  • 4. 1. ป่าดงดิบชื้น (Moist Evergreen Forest) จัดเป็นป่าฝนในเขตร้อน (Tropical rain forest) บนพื้นที่ที่มี ฝนตกชุกและมีความชุ่มชื้นในดินค่อนข้างสูงสม่าเสมอตลอด ทั้งปี มีลักษณะโครงสร้างเป็นป่ารกทึบประกอบด้วยพันธุ์ไม้ หลายร้อยชนิด ไม้ต้นของเรือนยอดชั้นบนส่วนใหญ่เป็นไม้ใน วงศ์ยาง-ตะเคียน มีลาต้นสูงใหญ่เปลา-ตรงตั้งแต่ 30-50 เมตร ถัดลงมาเป็นต้นไม้ขนาดกลางและขนาดเล็ก ซึ่งสามารถอยู่ใต้ ร่มเงาของไม้ใหญ่ได้
  • 5.
  • 7. 2. ป่าดงดิบแล้ง (Dry Evergreen Forest) เป็นป่าไม่ผลัดใบที่มีไม้ผลัดใบขึ้นปะปนอยู่ด้วยในอัตราส่วนที่ใกล้เคียง กัน ไม้ที่ผลัดใบมักมีการเปลี่ยนแปลงใบค่อนข้างสูงในฤดูแล้ง ในพื้นที่ที่มี ฤดูกาลชัดเจนและต้องมีช่วงแล้งนาน 3-4 เดือน มีดินค่อนข้างลึกสามารถกัก เก็บน้าได้ดีพอควร โครงสร้างของป่าแบ่งออกเป็น 3 ชั้น ชั้นบนสุด ชั้นเรือนยอดสูง 25-40 เมตร รองลงมา เรือนยอดชั้นรองสูง 10-20 เมตร ชั้นต่าสุด ชั้นไม้พุ่มที่สูง ไม่เกิน 5 เมตร
  • 8.
  • 10. 3. ป่าดงดิบเขา (Hill Evergreen Forest) เป็นป่าไม้ไม่ผลัดใบที่ปกคลุมยอดเขาสูงในระดับความสูง ตั้งแต่ 1,000 เมตรจากระดับน้าทะเลขึ้นไป สภาพดินโดยทั่วไป มีความลึกพอสมควรที่จะพยุงไม้ขนาดใหญ่ได้ มีอากาศ ค่อนข้างหนาวเย็นตลอดทั้งปี อุณหภูมิไม่เกิน 20◦c และช่วงต่า ที่สุดอาจน้อยกว่า 0◦c อากาศมีความชื้นสูงเนื่องจากมีเมฆเข้า มาปกคลุมอยู่เสมอ จนบางครั้งได้รับการเรียกขานว่าเป็น “ป่า เมฆ”
  • 11.
  • 12.
  • 13. 4. ป่าสนเขา (Pine Forest) เป็นป่าที่ชอบสภาพภูมิอากาศแบบกึ่งร้อน พบที่ระดับความ สูงจากน้าทะเล 200 เมตรขึ้นไป ป่าสนเขาในประเทศไทย ประกอบด้วยไม้เด่น 2 ชนิด ได้แก่ สนสองใบ และสนสามใบ สนสองใบมักพบในพื้นที่ระดับความสูงต่ากว่าสนสามใบ จึง มักพบป่าสนสองใบปะปนกับพันธุ์ไม้ของป่าเต็งรัง ส่วนป่าสน สามใบมักพบปะปนกับพันธุ์ไม้ของป่าดงดิบเขา
  • 14.
  • 16. 1. ป่ าเบญจพรรณ (Mixed Deciduous F orest) ป่ าเบญจพรรณหรือป่ าผสม ผลัดใบ มักพบในพื้นที่มีระดับ ความสูง 50-800 เมตรจาก ระดับน้าทะเล
  • 17. 2. ป่าเต็งรัง (Deciduous Dipterocarp Forest) พบตามพื้นที่สูงตั้งแต่ 50-1,000 เมตรจากระดับน้าทะเล ซึ่ง สภาพดินตื้นและกักเก็บน้าได้ไม่ดี บางแห่งอาจมีทรายปะปน อยู่มาก มีหินบนผิวดินมากหรือเป็นดินลูกรังตื้นๆ ป่าเต็งรังเป็น ป่าที่มีความสวยงามมากโดยเฉพาะในช่วงที่มีใบไม้เปลี่ยนสี เหลืองสีแดง
  • 19. 3. ป่าทุ่ง (Savannas Forest) ประกอบด้วยไม้ขนาดเล็กหรือพุ่มไม้ผสมกับหญ้าขึ้นปกคลุมพื้นที่ สลับกัน หญ้าในป่าทุ่งจะต้องสูงเกิน 80 เซนติเมตรขึ้นไป และเป็นหญ้า ที่มีใบแบน เช่น หญ้าคา แฝก หญ้าพง เลา หญ้าแขม และตองกง
  • 20. ทุ่งหญ้าที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือทุ่ง หญ้าปฐมภูมิ โดยมีลักษณะของดินเป็น ตัวกาหนด เช่น ในพื้นที่ที่มีดินเปียก และแห้งสลับกัน ทั้งนี้อาจเนื่องจาก เป็นพื้นที่น้าท่วมขังในฤดูฝนและแห้ง แล้งมากในฤดูร้อน พื้นที่ที่ดินตื้นทา ให้ไม้ยืนตันซึ่งมีรากลึกขึ้นไม่ได้เป็น ต้น ทุ่งหญ้าที่เกิดขึ้นโดยการกระทาของ มนุษย์ เนื่องจากการตัดโค่นทาลายตัน ไม้เปลี่ยนสภาพป่าดั้งเดิมเป็นที่โล่ง หญ้าจึงเข้าไปงอกงามแทน
  • 21.
  • 22. พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ป่าเบญจพรรณ หนาแน่นไปด้วยพรรณไม้เด่นที่สาคัญได้แก่ ก่อแป้น ก่อเลือด ก่อนก มณฑาหลวง จาปีป่า สารภีดอย กาลังเสือโคร่ง อบเชย ทะโล้กายาน ฯลฯ อุทยานแห่งชาติดอยสุเทพ-ปุย จ.เชียงใหม่
  • 23. พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพมีอุดมสมบูรณ์ของ ป่าใหญ่ดึกดาบรรพ์ (Old growth forest) สภาพอากาศที่หนาวเย็นและชุ่มฉ่าตลอดทั้งปี ทาให้มีมอส เฟิร์นและพืช อิงอาศัยขึ้นปกคลุมตามลาต้นอย่างหนาแน่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จ.เชียงใหม่
  • 24. พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ ประกอบด้วยป่าดิบแล้ง ป่าเบญจ พรรณ ป่าเต็งรัง หนาแน่นไปด้วยพรรรณไม้ที่สาคัญและมีค่าทางเศรษฐกิจหลาย ชนิดเช่น สัก มะค่าโมง แดง ประดู่ ชิงชัน ตะแบก ยางนา ฯลฯ อุทยานแห่งชาติลาน้าน่าน จ.อุตรดิตถ์
  • 25. พื้นที่ส่วนใหญ่มีสภาพป่าที่อุดมสมบูรณ์ มีจุดเด่นที่สวยงาม เช่น โป่งเดือด น้าตก ลุ่มน้าแม่แตง รวมทั้งความหลากหลายของพืชพรรณ และสัตว์ป่าที่ชุกชุม อุทยานแห่งชาติห้วยน้าดัง จ.เชียงใหม่
  • 26. ประโยชน์ทางตรง (Direct Benefits)  จากการนาไม้มาสร้างอาคารบ้านเรือนและผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เฟอร์นิเจอร์ กระดาษ ไม้ขีดไฟ ฟืน เป็นต้น  ใช้เป็นอาหารจากส่วนต่างๆของพืชและผล  ใช้เส้นใยที่ได้จากเปลือกไม้และเถาวัลย์มาถักทอ เป็นเครื่องนุ่งห่ม เชือกและ อื่นๆ  ใช้ทายารักษาโรคต่างๆ
  • 27. ประโยชน์ทางอ้อม (Indirect Benefits)  ป่าไม้ทาให้เกิดความชุ่มชื้นและควบคุมสภาวะอากาศ ไอน้าซึ่งเกิดจากการ หายใจของพืช ซึ่งเกิดขึ้นอยู่มากมายในป่าทาให้อากาศเหนือป่ามีความชื้นสูง เมื่ออุณภูมิลดต่าลงไอน้าเหล่านั้นก็จะกลั่นตัวกลายเป็นเมฆแล้วกลายเป็นฝน ตกลงมา ทาให้บริเวณที่มีพื้นป่าไม้มีความชุ่มชื้นอยู่เสมอ ฝนตกต้องตาม ฤดูกาลและไม่เกิดความแห้งแล้ง  เป็นที่อยู่อาศัยของสัตว์ป่า และช่วยรักษาความสมดุลของธรรมชาติไว้ด้วย ซึ่งหากไม่มีป่าไม้สัตว์ป่าต่างๆ ดังกล่าวก็จะสูญพันธุ์ไป เพราะจะไม่มีแหล่ง ที่อยู่อาศัย และแหล่งหากิน