SlideShare a Scribd company logo
โครงการฝึกอบรมหลักสูตรด้านอาหารไทยและโรงเรียน
สอนทาอาหารไทย
(Thai Food and Cookery School)
วันที่ 27 เมษายน 2557
ขนมและผลไม้ไทย
บรรยายโดย: รองศาสตราจารย์ประหยัด สายวิเชียร
Nutrient
Nutrient หมายถึง สารอาหารต่างๆ ได้แก่ โปรตีน คาร์โบไฮเดรต
ไขมัน วิตามินต่างๆ และแร่ธาตุ กล่าวได้ว่า ร่างกายคนเราต้องการ
สารอาหารมากกว่า 30 ชนิด
เราจึงต้องรับประทานอาหารให้หลากหลายมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นอาหาร
ชนิดไหนอาหารเช้าเป็นสิ่งที่สาคัญที่สุด มื้อเย็นเป็นมื้อที่ควรหลีกเลี่ยงการ
ทานเยอะ
การรับประทานอาหารที่ดีคือ การ
รับประทานอาหารที่หลากหลายใน
แต่ละมื้อ หลากหลายทั้งในวิธีการ
ปรุงและหลากหลายทางสารอาหาร
ทุกครั้งหลังจากที่เราทานอาหารหาก
เราทานผลไม้ร่วมด้วย ร่างกายเราจะ
ได้รับเส้นใย ไฟเบอร์ วิตามิน และ
แร่ธาตุเพิ่มมากขึ้น
 อาหารหวานของไทยในอดีตมักจะมีจานวนน้อยไม่หลากหลาย
และส่วนใหญ่มักจะเริ่มทาจากแป้งเป็นหลัก โดยเฉพาะแป้งที่ทาจากนา
ไร่ เช่น แป้ งข้าวเหนียว แป้ งข้าวจ้าว แป้ งมันและแป้ งสาลีจึงเกิดขึ้น
ตามมา
 พืชสวนที่ใช้ทาขนมหวาน คือ มะพร้าว ที่นามาทาเป็นกะทิ และ
น้าตาลมะพร้าว
 ขนมที่มีส่วนผสมของแป้ง กะทิ และน้าตาลที่เราคุ้นเคย เป็นขนม
โบราณของไทยแท้ตั้งแต่อดีตที่เราเคยมี ได้แก่ ขนมชั้น บัวลอยไทย
ขนมครก ลอดช่องไทย ขนมถ้วย เป็นต้น
ขนมชั้น
ที่มา : http://www.อาหารอร่อย.com/wp-
content/uploads/2011/12/kanomchan-16.jpg
บัวลอย
ที่มา : http://f.ptcdn.info/133/007/000/1373548529-
SAM6424JPG-o.jpg
ขนมครก
ที่มา :
http://topicstock.pantip.com/food/topicstock/201
1/09/D11082073/D11082073-37.jpg
ลอดช่อง
ที่มา :
http://photo.wongnai.com/photos/2012/06/11/f1f
d8b3dcba849fbb019ab42c036a3c4-s.jpg
ขนมหวานที่ผสมผักและผลไม้
เข้าไปด้วยและเป็ นขนมไทย
ได้แก่ ตะโก้ที่อาจจะใช้แห้ว
เผือก ขนมกล้วย ขนมแตงไทย
ขนมตาลซึ่งปัจจุบันมีการใช้
น้าตาลสดมาเป็นส่วนผสมด้วย
วิธีการทาขนมไทยให้สุกนั้ นมี
หลากหลาย เช่น
“การต้ม” ได้แก่ บัวลอย กล้วยบวชชี
สาคูเปี ยก และแกงบวดทุกชนิดทั้ง
ฟักทอง เผือก มัน และกล้วย ซึ่ง
อาจจะต้มในน้า หรือ กะทิ หรือ
น้าเชื่อม เช่น ฝอยทอง ทองหยิบ
ทองหยอด เม็ดขนุน
www.tnews.co.th
ทองหยิบ ทองหยอด
ที่มา :
http://data.foodtravel.tv/
datastore/recfood/1364/
Picture11364_normal.jpg
ที่มา :
http://www.papamenu.co
m/wp-
content/uploads/2010/12/
ทองหยอด.jpg
“การกวน” ได้แก่ กาละแม เผือกกวน กล้วยกวน มะม่วงกวน ทุเรียนกวน
ขนมเปียกปูน ศิลาอ่อนหรือขนมปาดในภาคเหนือ
กาละแม
ที่มา :
http://www.vcharkarn.com/uploads/180/1
81161.jpg
มะม่วงกวน
ที่มา :
http://topicstock.pantip.com/chalermthai/to
picstock/2011/03/A10320023/A10320023-
41.jpg
ทุเรียนกวน
ที่มา :
http://www.thaifoodcookbook.net/thaifoodre
cipes_th/thaidessert/images/thai_dessert_du
reankuan.jpg
“การอบ และ การนึ่ง” การนึ่งนั้นประเทศไทยเองได้รับอิทธิพลมาจากแบบ
ของจีน ส่วนการอบได้รับอิทธิพลมาจากสเปน โปรตุเกส ยุโรป ตั้งแต่สมัย
อยุธยามาก่อนแล้ว และยังเป็นช่วงที่มีการนาไข่เข้ามาเป็นส่วนผสมอีกด้วย
ได้แก่ ฝอยทอง ฝอยทอง
ที่มา : http://kanombanthongyord.com/wp-
content/uploads/2013/01/IMG_1612a.jpg
ขนมหม้อแกง
ที่มา :
http://www.siamdara.com/_images/090112
D6M0154.jpg
“การนึ่ง” เป็นวิธีการปรุงอาหารที่ไทยได้รับอิทธิมาจากจีน การใช้
อุปกรณ์ในการนึ่งของแต่ละบ้านก็จะไม่เหมือนกัน ขึ้นอยู่กับความ
ถนัดที่แตกต่างกันออกไป
ขนมที่ทามาจากการนึ่ง เช่น ขนมชักหน้า ซึ่งในปัจจุบันหาทาน
ค่อนข้างยาก มีสีสันสวยงามจากธรรมชาติ ขนมถ้วยยังสามารถหา
ทานได้ในทั่วไป ส่วนขนมตาลจะมีส่วนผสมของแป้ งและเนื้อลูก
ตาล จะใช้วิธีการนึ่งใส่กระทง หรือ ถ้วย หรือ อาจจะใส่ห่อก็
สามารถทาได้
ขนมสอดไส้
ที่มา :
http://www.bloggang.com/data/s/sdayo
o/picture/1286856080.jpg
“ข้าวเหนียวมะม่วง” ซึ่งชาวต่างชาติจะชื่นชอบมากไม่ว่าจะเป็นชาวยุโรป
และเอเชีย มะม่วงสามารถปลูกประเทศอื่นนอกจากประเทศไทยก็ได้ แต่
ความหอมหวานละมุนจะไม่เท่ากับผลไม้ไทย เนื่องจากที่ตั้งและสภาพ
อากาศ ข้าวเหนียวมะม่วง
ที่มา :
http://www.oknation.net/blog/home/blog_data/419/
18419/images/26.jpg
 ขนมที่ทามาจาก “กล้วย” มีมากมาย ได้แก่ กล้วยบวดชี กล้วยทอด กล้วย
เชื่อม กล้วยเผา กล้วยย่าง กล้วยปิ้ง เป็นต้น
 กล้วยเป็นผลไม้เอนกประสงค์คือ สามารถรับประทานได้ทั้งสุกและดิบ
หากเป็นดิบทางภาคใต้และภาคเหนือจะนิยมนาไปแกง เช่น แกงเขียวหวาน
ใส่กล้วย เป็นต้น
 กล้วยสามารถใช้ประโยชน์ได้ทั้งต้น ในอดีตคนโบราณจะใช้เชือกจาก
กาบกล้วย หรือ มีของเล่นที่ทาจากกาบส่วนของใบก็นิยมใช้ทั้งดิบและแห้ง
เช่น ใบตองหรือใบกล้วยสามารถนามากทาบายศรี รองจาน จัดจาน ห่อขนม
ทากระทง ส่วนของต้นก็สามารถใช้แกะสลักเพื่อใช้ประกอบพิธีต่างๆ
กล้วยบวดชี
ที่มา :
http://www.bloggang.com/data/s
uka/picture/1284611936.jpg
กล้วยทอด
ที่มา :
http://f.ptcdn.info/349/008/000/13763744
10-SAM7054JPG-o.jpg
กล้วยเชื่อม
ที่มา :
http://photo.wongnai.com/photos/2013/05/25
/1ba4475e68754627b9184072c162048e.jpg
 “การเชื่อม” ของหวานที่ใช้วิธีการเชื่อมถือว่าเป็นวิธีการถนอมอาหาร
อย่างหนึ่ง การเชื่อมจะสามารถเก็บรักษาไว้ได้นานกว่าการต้ม การปิ้ง
หรือการย่าง
 เป็นการถนอมอาหารโดยใช้น้าตาลเนื่องจากน้าตาลมีความหวานมาก
เช่น กล้วยเชื่อม
 กล้วยไข่เชื่อมที่นิยมมาก สามารถทาไว้ได้เป็นอาทิตย์นอกจากกล้วย
แล้ว สามารถใช้ มัน เผือก ฟักทอง มันสาปะหลัง สาเก มะตูม ก็ได้ หาก
เป็นประเทศอื่นๆ มักจะเชื่อมไม่หวานและมันเท่าประเทศไทย
มะตูมเชื่อม
ที่มา :
http://topicstock.pantip.com/food/topi
cstock/2012/03/D11889385/D1188938
5-54.jpg
สาเกเชื่อม
ที่มา : http://www.the-
than.com/food/b96.jpg
อาหารประเภทแกงบวด เช่น ฟักทองบวด ถือเป็นอาหารที่มีคุณค่าทาง
อาหารมาก สามารถรับประทานฟักทองได้ตั้งแต่วัยเด็กเล็กจนถึงวัยสูงอายุ
แกงบวดฟักทอง
ที่มา :
http://i958.photobucket.com/albums/ae65/supathra/veg
etable/pumpkin6.jpg
 “การอบ” อาหารที่มาจากวิธีการอบประเทศไทยเราได้รับอิทธิพล
มาจากตะวันตก โดยใช้แป้ งสาลีเข้ามาผสมด้วย ในระยะเริ่มต้นจะมี
ขนมผิง ขนมหม้อแกงเท่านั้น
 วัตถุดิบทุกชนิดในการทาขนมอบนั้น ส่วนใหญ่จะนาเข้าจาก
ต่างประเทศทั้งหมด เช่น แป้งสาลีนาเข้าจากออสเตรเลีย เป็นต้น
 การทาขนมอบในประเทศไทย จะดัดแปลงตามความเหมาะกับ
สภาพอากาศของประเทศไทย และวัตถุดิบที่ ส่วนใหญ่การทาขนม
อบเบเกอรี่ในประเทศไทยนั้น ชาวต่างชาติจะไม่ชอบรสชาติ
เนื่องจากมีความหวานและมันมาก
ขนมผิง
ที่มา :
http://www.dumenu.com/images/attachm
ent/recipe/257-
d9f11b4b98f6f69c48f8adc5ef2a9145.jpg
ขนมหม้อแกง
ที่มา :
http://www.shopdd.in.th/web/k/a/e/kae
wshop/product/3_0/51.jpg
การใช้สีเพื่อใส่ในขนมหวาน
การใช้สีนั้นจะต้องใช้สีที่ไม่มีกลิ่นไม่มีรส หากมีกลิ่นหรือรสจะทาให้ขนม
รสชาติเพี้ยน เช่น ขมิ้น อาจจะใช้ไม่ได้กับอาหารหวาน แต่สามารถใช้กับ
อาหารประเภทคาวได้โดยเฉพาะการใช้เพื่อแต่งสีและดับกลิ่นคาวอาหาร
- อัญชัน หากเราบีบมะนาวลงไปสีน้าเงินม่วงจะกลายเป็นสีฟ้า
หากเป็นสีธรรมชาติจะเป็นสีน้าเงินจาง หากสีที่ได้นั้นเป็นสีเข้ม หมายถึง
อาจจะมีการผสมสีผสมอาหารลงไปด้วย
- ใบเตย จะให้สีเขียว สามารถใช้ได้
- ชาเขียว ให้สีเขียวได้หากไม่เข้มข้นมากจะไม่ได้กลิ่น
ดอกอัญชัน
ที่มา :
http://www.biogang.net/upload_img/biodiversity/bio
diversity-198220-1.jpg
ใบเตย
ที่มา : http://2.bp.blogspot.com/ -
sHIpPWwOtzM/UefUqgZIijI/AAAAAAAAH6
I/tLnB3dgl1_E/s1600/ใบเตย.jpg
ฟักทอง
ที่มา : http://ไทยสมุนไพร.net/ wp-
content/uploads/2012/10/ฟักทอง.jpg
นอกจากการทาสีอาหารจาก
ใบเตยจะได้สีเขียวแล้ว สามารถ
นาฟักทองผสมสีกับชาเขียวจะ
ได้สีเขียวยอดตอง ได้ด้วย
เช่นเดียวกัน ดังนั้น สีที่ได้
ออกมาก็จะขึ้นอยู่กับว่านา
วัตถุดิบใดมาผสม
www.kruaklaibaan.com
ผลไม้ไทย
มีหลากหลายชนิด เช่น ทุเรียน มะม่วงที่มีทั้งพันธุ์ต่างๆนานา ได้แก่
เขียวเสวย อกร่อง ฟ้ าลั่น น้าดอกไม้ ตลับนาค แก้ว แรด สามฤดู มหา
ชนก โชคอนันต์แก้มแดง ทองแดง
มะม่วงบางชนิดก็เหมาะสมสาหรับการรับประทานดิบ หรือ สุก
แตกต่างกัน เช่น โชคอนันต์และน้าดอกไม้จะนิยมรับประทานสุก
เช่นเดียวกัน แต่โชคอนันต์จะมีลักษณะหัวโตและป้ อมสั้นกว่า
น้าดอกไม้ที่ยาวรีสวยกว่า สีของเนื้อก็แตกต่างเช่นเดียวกัน โชคอนันต์
จะมีสีออกเหลืองส้มแต่น้าดอกไม้จะมีสีเหลืองไข่ไก่ หรือ เหลืองหวาน
กว่า รวมถึงรสชาติน้าดอกไม้มักจะหอม หวาน อร่อยกว่า โชคอนันต์ที่
จะอมเปรี้ยวเล็กน้อย
มะม่วงเขียวเสวย
ที่มา :
http://topicstock.pantip.com/jatujak/to
picstock/2009/03/J7582980/J7582980-
2.jpg
มะม่วงอกร่อง
ที่มา : http://www.vitamin.co.th/upload/
8(72).jpg
มะม่วงโชคอนันต์
ที่มา :
http://talaadthai.com/product/images/17Fe
b11/mango_chok_big.jpg
• มะเฟือง ในประเทศไทยมะเฟืองจะมีลักษณะรูปร่าง
เล็ก แต่หากรับประทานมากอาจจะทาให้เกิดตะกอน
ที่เป็นสาเหตุของการเกิดโรคนิ่วได้จากรสชาติฝาด
ของมะเฟืองนั่นเอง ในช่วงระยะหนึ่งที่มะเฟืองไม่มี
วางขายในท้องตลาด
มะเฟือง
ที่มา : http://3.bp.blogspot.com/-
NfQavoOZWkc/UETEZgldkUI/AAAAAAAAAp4/
mo8BkJbU1nk/s640/028.JPG
ลูกยอ
ที่มา : http://1.bp.blogspot.com/-
aNaByXsUNZU/Uk1IlknfOxI/AAAAAAAAJAw/J0P_
HIMAICY/s1600/ น้า+ลูกยอ+สมุนไพร+โอะกินะวะ.jpg
ผักขี้เหล็ก
ที่มา :
http://www.siamca.com/UserFiles/Image/pixy
srubor6.jpg
ปัจจุบันสามารถทาเครื่องดื่มที่
ทามาจากน้าผลไม้ โดยใช้ผลไม้
หลากหลายชนิดผสมกันได้
อาจจะนามาปั่นรวมกัน ซึ่ง
สามารถใช้น้ามันมะกอกปั่น
รวมไปด้วยได้เนื่องจากน้ามัน
มะกอกไม่มีกลิ่น และยังเป็น
การกระตุ้นการดูดซึมวิตามิน เอ
ดี อี เค ( A,D,E,K )
family.truelife.com
 จะเห็นได้ว่า เราสามารถนาผลไม้มาผสมกันได้อย่างหลากหลาย
ชนิด เช่น บีทรูตจะได้น้าปั่นสีเข้ม กล้วยหอม แอปเปิ้ล กีวี สัปปะรด
หรืออาจจะใส่มะเขือเทศหรือน้ามันมะกอกเพิ่มรสชาติได้
 หากต้องการปั่นโดยใส่น้าแข็งเพิ่ม อาจจะทาให้รสชาติจืด จึงต้อง
เพิ่มน้าผึ้งเข้าไปเพื่อเพิ่มรสชาติความหวาน หรือ หากชอบรสเปรี้ยวก็
สามารถบีบมะนาวเพิ่มเล็กน้อย หากนาผลไม้หลากหลายตระกูลมาปั่น
รับประทานก็จะได้วิตามินและคุณค่าทางโภชนาการเพิ่ม
 อาจจะใช้น้าผลไม้กล่องแทนน้าธรรมดาเพื่อให้เข้มข้นขึ้นได้
แอปเปิ้ล
ที่มา :
http://images.thaiza.com/108/108_201201
24144530..jpg
กีวี
ที่มา :
http://www.bloggang.com/data/thaisilk/pictur
e/1260567309.jpg
สับปะรด
ที่มา :
http://static.tlcdn1.com/data/6/pictures/0213
/11-06-2012/p17baeoebtf7ssfvjc1q2j1etr5.jpg
ผลไม้ที่มีทั้งปีคือ “กล้วย” ที่สามารถหาซื้อหากินได้ง่าย และมีราคา
ที่ไม่แพง ดังนั้น เราสามารถนากล้วยมาเป็นส่วนผสมหลักและนามา
ประยุกต์ในแบบที่เราชอบได้ นอกจากนี้ มะเฟือง ที่จะนิยมกินสดๆแล้วก็
สามารถนามาทาเป็นน้ามะเฟืองได้อีกด้วย หรือ นาไปทาแยมมะเฟือง
มะเฟืองเชื่อม มะเฟืองตากแห้ง ตามแต่ความนิยมรับประทานของแต่ละคน
กล้วย
ที่มา :
http://www.bloggang.com/data/newyo
rknurse/picture/1338116543.jpg
มะเฟือง
ที่มา :
http://www.foodnetworksolution.com/upload
ed/starfruit_1.jpg
“ลาไย” สามารถรับประทานได้ทั้งสด หรือ ตากแห้ง นาไปทาอาหาร
หวาน เช่น ข้าวเหนียวเปียกลาไย และยังมี
“แก้วมังกร” ที่ถือได้ว่าเป็นผลไม้นาเข้า เริ่มต้นที่เวียดนามจนปัจจุบัน
ประเทศไทยนิยมปลูกและรับประทานกันมาก แก้วมังกรสีแดงจะมี
รสหวานกว่าสีขาวที่จะมีรสชาติอมเปรี้ยวอมหวานเล็กน้อย อย่างไรก็
ตามแก้วมังกรนั้นจะมีคุณสมบัติเช่นเดียวกับเม็ดแมงลักคือ ควบคุม
น้าหนักได้ในผลที่ไม่หวานจัด หากหวานจัดอาจจะเป็นการเพิ่ม
น้าตาลให้แก่ร่างกายได้
ลาไย
ที่มา :
http://www.lesla.com/board/file/3
/20120813-170845-634991179.jpg
“แตงโม” ถือเป็นผลไม้ที่ได้รับความนิยมทั้งการรับประทานและการปลูก
มักจะมีวางจาหน่ายตามข้างทางต่างๆ นอกจากนี้ แตงโมอ่อนสามารถนามา
ทา แกงเลียง แกงส้ม หรือ นาไปต้มทานคู่กับน้าพริก หรือ นาไปผัดคล้ายๆ
กับผักชนิดหนึ่ง แตงโม
ที่มา :
http://www.ecitepage.com/download/
file.php?id=18324&t=1
“สัปปะรด” หากต้องการทานสัปปะรดที่หวานกรอบใน
เมืองไทยสามารถพบได้ที่จังหวัดภูเก็ต หากเป็นสัปปะรดที่มี
ความหวานฉ่าพบได้ที่เชียงราย ลาปาง ประจวบคีรีขันธ์
นอกจากจะรับประทานสดในรูปแบบของผลไม้แล้ว ก็
สามารถนาไปทาอาหารคาวได้ เช่น แกงเผ็ดเป็ดย่าง ผัด
เปรี้ยวหวาน ข้าวผัดสัปปะรด ขนมจีนซาวน้า ม้าฮ่อ แกงคั่ว
สัปปะรด หรือ ถ้าเป็นของหวานก็เป็นสัปปะรดกวน สัปปะ
รดที่มาจากเชียงราย คือ สัปปะรดภูแล เป็นการผสมชื่อ
ระหว่าง ภูเก็ต และ นางแล จึงได้ชื่อว่า “ภูแล”
สับปะรด
ที่มา : http://www.samrong-
hosp.com/images/stories/clinic/Pin
eapple/Pineapple.jpg
มังคุด
ที่มา :
http://www.horapa.com/images/whatnew/
mangosteen_fair.jpg
“กล้วยหอม” หากเป็นกล้วยหอมจากที่อื่นที่นอกเหนือจากประเทศ
ไทยจะมีรสชาติแตกต่างอย่างมาก เนื่องจากที่อื่น เช่น ญี่ปุ่น และ อเมริกา
จะต้องนาเข้ากล้วยหอมจากประเทศอเมริกากลาง ฟิลิปปินส์ อินโดนีเซีย ซึ่ง
จะต้องมีการขนส่งไปยังปลายทางอาจจะทาให้คุณภาพกล้วยลดลง ซึ่งจะมี
คุณภาพที่แตกต่างกับประเทศไทยเพราะขึ้นอยู่กับสภาพดิน ฟ้ า อากาศ
ปัจจุบันประเทศจีนได้เข้ามาเช่าพื้นที่ลาวบางส่วนเพื่อปลูกกล้วยหอมและ
นาส่งกลับไปที่ประเทศจีนตอนบนซึ่งไม่สามารถปลูกพืชได้ และยังมีจีน
แผ่นดินใหญ่มาเช่าที่นาเพื่อปลูกกล้วยหอมที่สิบสองปันนาอีกด้วย
นอกจากนี้สามารถนาไปทาเครื่องดื่มได้ตามความต้องการและความชอบ
ส่วนบุคคลอย่างเช่นที่ได้กล่าวมาข้างต้น
กล้วยหอม
ที่มา :
http://board.postjung.com/data/73
4/734029-topic-ix-7.jpg
“ฝรั่ง” ในปัจจุบันรูปร่างของฝรั่งจะเปลี่ยนแปลงไปจากในอดีต ลูกเล็กๆ ไส้ข้าง
ในสีแดง เนื้อบาง และมีเมล็ดมาก หรือ ที่เรียกว่า “ฝรั่งขี้นก”
ปัจจุบันบางสายพันธ์ไม่มีเมล็ด จะเห็นได้ว่า วิวัฒนาการของความก้าวหน้าทาง
เทคโนโลยี ที่ทาให้ผักและผลไม้มีคุณภาพดีขึ้น ผลผลิตในปริมาณมากขึ้น และ
สามารถออกจาหน่ายให้บริการได้อย่างทั่วถึง สามารถนาไปปลูกได้ทั่วประเทศ
นอกจากจะรับประทานสดแล้ว ยังสามารถนาไปคั้นเป็นน้าฝรั่งก็ได้ทาเป็นสลัด
ผลไม้รวมก็นามาใช้ได้ หรือ ฝรั่งดองก็สามารถนามาแปรรูปอีกรูปแบบหนึ่งก็
ได้ นอกจากนี้ยังสามารถนาแปรรูปเป็นฝรั่งแช่บ๊วย ฝรั่งสามารถนาไปทาเป็น
ส้มตาผลไม้หรือ ตาฝรั่ง ตามที่คนไทยชอบได้
ฝรั่ง
ที่มา : http://ho.files-
media.com/ud/women/imgs/1/11/305
57/1355216171-c-490x282.jpg
“องุ่น” ในอดีตสามารถปลูกได้แถบยุโรป อเมริกาเท่านั้น แต่เนื่องจาก
วิวัฒนาการของการเกษตรจึงทาให้เมืองไทยที่เป็นเมืองร้อนสามารถปลูกได้
และสามารถปรับปรุงสายพันธุ์รวมถึงวิธีการปลูกได้ สามารถนามาทาไวน์
สลัดผลไม้แกงเผ็ดเป็ดย่าง ลูกเกด แต่อย่างไรก็ตามผลไม้ชนิดนี้จะมีเปลือก
ค่อนข้างบาง และจากวิธีการปลูกที่อาจจะมีการฉีดยาฆ่าแมลง การบริโภค
จึงต้องควรระมัดระวังก่อนการบริโภค
องุ่น
ที่มา :
http://www.thaibio.com/image/data/Article/grap.jpg
“สตรอเบอรี่” ในปัจจุบันมีขนาดใหญ่มากขึ้น และรสชาติหวานมากขึ้น ถูก
ปรับปรุงสายพันธ์ให้ดีมากขึ้น สามารถนาไปทาอาหารหวานได้เช่น สตรอ
เบอรี่เชื่อม แยมสตรอเบอรี่ สตรอเบอรี่ลอยแก้ว หรือนาไปแต่งหน้าเค้ก สต
รอเบอรี่อบแห้ง สลัดผลไม้ เป็นต้น ซึ่งสามารถทาได้ตามเนื้อสัมผัสและ
ความชื่นชอบ สตรอเบอรี่
ที่มา : http://0.static-
atcloud.com/files/entries/4/42694/images/1_display.jpg
วิธีการล้างผลไม้
1. ล้างผ่านน้าไหล
2. ล้างและแช่น้าผสมเกลือ
3. ล้างและแช่น้าผสมน้าส้มสายชู เนื่องจากน้าส้มสายชูสามารถหาได้แทบ
ทุกครัวเรือน จากการทดลองพบว่า น้าส้มสายชูสามารถลดสารพิษได้
มากกว่า 80%
“เงาะ” สามารถหารับประทานได้ทั่วประเทศไทยตามฤดูกาล
ประเทศมาเลเซียก็มีเงาะจาหน่ายแต่มีเนื้อบางและรสชาติไม่อร่อย
เท่ากับประเทศไทย เงาะ
ที่มา :
http://www.vitamin.co.th/upload/1(
155).jpg
“ชมพู่” มีหลากหลายสายพันธ์ เช่น ทับทิมจันทร์ สามารถนามารับประทาน
เป็นผลไม้สดๆหรือ ยาผลไม้ม้าฮ่อ
ชมพู่
ที่มา :
http://admin.ladytips.com/Images/News/images/2012/
May/9/ตุ๊กตา/ชมพู่.jpg
“ขนุน” สามารถนามาทาแกงขนุนได้ และสามารถใช้ประโยชน์ได้อีก
หลากหลายอย่าง ไม่ว่าจะเป็นส่วนเนื้อ ส่วนลูกส่วนเม็ด นาไปทาขนมเม็ด
ขนุน ใส่ในขนมสังขยาและหม้อแกง หรือซัง ที่นาไปต้มและทานคู่กับ
น้าพริก หากเป็นขนุนอ่อนก็สามารถนามาแกงหรือยาได้ ตาขนุนซึ่ง
ภาคเหนือและจังหวัดโคราชจะค่อนข้างแตกต่างกัน นอกจากนี้ขนุนยังถือว่า
เป็นไม้มงคลของไทย ที่มีความเชื่อกันว่าหากปลูกต้นขนุนจะมีการ
สนับสนุนจุนเจืออีกด้วย สามารถนาขนุนไปทาเป็นขนมกวน ขนุนทอด
กรอบ ขนุนอบแห้ง
ขนุน
ที่มา : http://4.bp.blogspot.com/_Gby4-
bL6O-
w/SrJ61NbT8GI/AAAAAAAABaI/nnihznR8
WUk/s400/final05.jpg
“ส้มโอ” เป็นผลไม้ที่มีความอร่อยมากมีหลายพื้นที่ เช่น นครชัยศรีที่ถือว่า
เป็นต้นตารับของส้มโออร่อย เชียงดาว เชียงราย หรือจังหวัดต่างๆ แต่
คุณภาพก็จะแตกต่างกัน นอกจากรับประทานสดๆก็สามารถนาไปทา ยาส้ม
โอ ตาส้มโอ ส้มโอ
ที่มา : http://www.foodnetworksolution.com/uploaded/_117.jpg
“มะพร้าวอ่อน” นอกจากทาเป็นเครื่องดื่มแล้ว ก็ยังทาเป็น วุ้นมะพร้าว
สังขยามะพร้าว แกงมะพร้าวอ่อน ทับทิมกรอบ ห่อหมกลูกมะพร้าวอ่อน
ต้มยา ไอศกรีม ฯลฯ สามารถดัดแปลงให้เข้ากับอาหารได้มากมาย
มะพร้าวอ่อน
ที่มา : http://www.the-than.com/saranalu/KP/a25.jpg
“พุทรา”
ปัจจุบันหาพุทราเมืองในแถบภาคเหนือยากกว่าในสมัยก่อน
นิยมปลูกมากที่เชียงราย เช่น พุทรานมสดที่มีขนาดใหญ่และ
หวานกรอบ พุทราเมืองเริ่มลดน้อยลง จะหาได้เพียงพุทรา
นมสด เนื่องจากว่าพุทราเมืองมักจะมีหนามมากและค่อนข้าง
จะมีแมลงกิน
พุทรา
ที่มา : http://natres.psu.ac.th/radio/radio_article/radio48-
49/48-490017.jpg
ผลไม้ไทยทุกชนิดสามารถ
นามาทาเครื่องดื่ม อาหารว่าง
หรือรวมถึงอาหารหวานได้
สามารถสรุปได้ว่าผลไม้แต่ละ
ชนิดที่จะสามารถทาอาหาร
หวานและอาหารว่างได้ ได้แก่
สัปปะรด มะม่วง กล้วย
มะละกอ ทุเรียน ขนุน ฯลฯ
http://news.edtguide.com/

More Related Content

What's hot

อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่Batt Nives
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่Janjira Majai
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
Kan Pan
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัยPloyLii
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
Nongkhao Eiei
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุatunya petkeaw
 
เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^Patchareeya Pinit
 
เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5Patchareeya Pinit
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
เด็กหญิงณัฏฐนารี เด็กหญิงรุงรัง
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
วิภารัตน์ สวัสดิ์ศรี
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
onginzone
 
อาหารเกาหลี
อาหารเกาหลีอาหารเกาหลี
อาหารเกาหลีjjrrwnd
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพpasutitta
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
Pinutchaya Nakchumroon
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1jjrrwnd
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
ssuserceb50d
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
tassanee chaicharoen
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
kasocute
 

What's hot (20)

อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
อาหารจานด่วนกับวิถีชีวิตของคนรุ่นใหม่
 
อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่อาหารหลัก 5 หมู่
อาหารหลัก 5 หมู่
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกายเอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง อาหาร สารอาหาร และการเจริญเติบโตของร่างกาย
 
อาหารตามวัย
อาหารตามวัยอาหารตามวัย
อาหารตามวัย
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุการบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
การบริโภคอาหารในผู้สูงอายุ
 
เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^เรื่องของกล้วย^^
เรื่องของกล้วย^^
 
เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5เรื่องของกล้วย 5
เรื่องของกล้วย 5
 
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
อาหารบำรุงสมองตอบสนองวัยเรียน 3
 
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
รายงานกล้วยฉาบ.Docx อันใหม่
 
Finals projevt
Finals projevtFinals projevt
Finals projevt
 
อาหารเกาหลี
อาหารเกาหลีอาหารเกาหลี
อาหารเกาหลี
 
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพอาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารแลกเปลี่ยนและอาหารเพื่อสุขภาพ
 
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิตบทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
บทที่ 1 อาหารกับการดำรงชีวิต
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภคชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
ชุดส่งเสริมความรู้โภชนาการและการบริโภค
 
อาหาร Fast food
อาหาร Fast foodอาหาร Fast food
อาหาร Fast food
 
2560 project -1
2560 project -12560 project -1
2560 project -1
 
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
บทที่ ๓ อาหารหลัก ๕ หมู่
 

Similar to 3 ขนมและผลไม้

ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
aousarach
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
Bream Mie
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่an1030
 
aibkhwaamruuthii_4.pdf
aibkhwaamruuthii_4.pdfaibkhwaamruuthii_4.pdf
aibkhwaamruuthii_4.pdf
ssuserd5e952
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
kasamaporn
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
rubtumproject.com
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
tangsaykangway
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด Kraisee PS
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
krusupkij
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นTanadol Intachan
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหารPanjaree Bungong
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
nampingtcn
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
anutidabulakorn
 
บทท 1 fastfood
บทท   1 fastfoodบทท   1 fastfood
บทท 1 fastfood
Kkae Rujira
 

Similar to 3 ขนมและผลไม้ (20)

ปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วนปัญหาการลดความอ้วน
ปัญหาการลดความอ้วน
 
Health1 1-2
Health1 1-2Health1 1-2
Health1 1-2
 
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่อาหาร หลัก 5 หมู่
อาหาร หลัก 5 หมู่
 
aibkhwaamruuthii_4.pdf
aibkhwaamruuthii_4.pdfaibkhwaamruuthii_4.pdf
aibkhwaamruuthii_4.pdf
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่อาหาร 5 หมู่
อาหาร 5 หมู่
 
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
ตัวอย่างบทที่ 2 วิทยานิพนธ์เว็บไซต์เพื่อสุขภาพ
 
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptxแผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
แผ่นพับเค้กกล้วยน้ำว้า.pptx
 
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
อบรมครู ศพด ขนม ล่าสุด
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
ความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _นความส ขบนปลายล _น
ความส ขบนปลายล _น
 
10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร10 สุดยอดอาหาร
10 สุดยอดอาหาร
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
"การจัดอาหารให้ลูกก่อนวัยเรียน"
"การจัดอาหารให้ลูกก่อนวัยเรียน""การจัดอาหารให้ลูกก่อนวัยเรียน"
"การจัดอาหารให้ลูกก่อนวัยเรียน"
 
โภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติโภชนบัญญัติ
โภชนบัญญัติ
 
บทท 1 fastfood
บทท   1 fastfoodบทท   1 fastfood
บทท 1 fastfood
 

More from Mint NutniCha

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
Mint NutniCha
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
Mint NutniCha
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
Mint NutniCha
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
Mint NutniCha
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
Mint NutniCha
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
Mint NutniCha
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
Mint NutniCha
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
Mint NutniCha
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
Mint NutniCha
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
Mint NutniCha
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
Mint NutniCha
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการMint NutniCha
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
Mint NutniCha
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
Mint NutniCha
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว Mint NutniCha
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
Mint NutniCha
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยวMint NutniCha
 

More from Mint NutniCha (20)

Draft programme
Draft programmeDraft programme
Draft programme
 
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
8 1 บทบาทและหน้าที่ของมัคคุเทศก์อาสา
 
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
8 4 แหล่งท่องเที่ยวสำคัญในท้องถิ่น
 
Conference programme
Conference programme Conference programme
Conference programme
 
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
6 5 ที่พักแรมแบบโฮมสเตย์และการจัดการ
 
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย8 3  สังคมและวัฒนธรรมไทย
8 3 สังคมและวัฒนธรรมไทย
 
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 6 กิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
7 5 มาตรฐานและการประเมินแหล่งท่องเที่ยว
 
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
7 6 การพัฒนาผลิตภัณฑ์แหล่งท่องเที่ยว
 
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
7 7 การกำหนดตำแหน่งและการสร้างตราสินค้า
 
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
7 8 การตลาดสำหรับการท่องเที่ยว
 
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
7 3 การเขียนโครงการเพื่อของบประมาณสนับสนุน
 
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
7 2 การท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
6 2 การพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนและการท่องเที่ยวโดยชุมชน
 
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
6 1 แหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตรและการจัดการ
 
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
6 3 การตลาดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรและโฮมสเตย์
 
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
8 5 ภาษาอังกฤษเบื้องต้น สำหรับมัคคุเทศก์อาสา
 
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว 8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
8 2 พฤติกรรมนักท่องเที่ยว
 
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว7 1  แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
7 1 แนวคิดการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยว
 
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
5 ทักษะการสื่อสารสำหรับบุคลากรธุรกิจท่องเที่ยว
 

3 ขนมและผลไม้