SlideShare a Scribd company logo
บริการจัดวางตัวบุคคล
(Placement Service)
จัดทาโดย
1. นางสาวทิพเนตร แม้นจิตร รหัสนักศึกษา 57003126019
2. นางสาวยุพาพรรณ ปิ งกระโทก รหัสนักศึกษา 57003126044
3. นางสาวนันทิวัน วรรณกาล รหัสนักศึกษา 57003126046
4. นายชัยณรงค์ มะหารักษ์ รหัสนักศึกษา 57003126051
กลุ่มเรียน 5700312601
คณะครุศาสตร์สาขาคอมพิวเตอร์ศึกษา
มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
ความหมายของบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคล (Placement Service) หมายถึง
บริการที่จัดขึ้นเพื่อให้ความช่วยเหลือผู้เรียนด้วยวิธีการที่หลากหลาย
เพื่อให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์ ช่วยให้ผู้เรียนได้ดาเนินงานตาม
โครงการหรือแผนการที่แต่ละคนได้ตัดสินใจเลือกแล้ว ได้ทางานหรือ
ประกอบอาชีพที่เหมาะสม อีกทั้งเพื่อให้ผู้เรียนได้ร่วมกิจกรรมที่
เหมาะสมกับความต้องการ ความสนใจ ความสามารถ ความถนัด
เพื่อพัฒนาตนเองให้เต็มศักยภาพ ทั้งด้านการศึกษา การประกอบ
อาชีพ และการดารงชีวิตอยู่ในสังคมได้ประสบความสาเร็จ
ปรัชญาของการบริการจัดวางตัวบุคคล
พรพิมล ไวทยากูร และนุชลี อุปมัย (2544 : 164-165) ได้
กล่าวเกี่ยวกับปรัชญาของการบริการจัดวางตัวบุคคลไว้ดังนี้
ปรัชญาพื้นฐานของการจัดวางตัวบุคคล คือ การพัฒนา
มนุษย์ให้ใช้ศักยภาพของตนเองได้อย่างสูงสุด โดยผ่านกระบวนการ
เรียนรู้ การฝึกทักษะ และการตัดสินใจในเรื่องต่าง ๆ ทั้งใน
สถานศึกษาและในสถานประกอบการ การทางานที่เหมาะสมกับวัย
ยุคสมัย และความพอใจส่วนตัวเป็นการเสริมสร้างคุณค่าให้กับชีวิต
บุคคลควรมีสิทธิที่จะสามารถเลือกวิธีชีวิตในการศึกษาและการทางาน
ที่ตรงกับความต้องการของตนมากที่สุด เพื่อให้ได้ทั้งชีวิตที่มีคุณภาพ
และได้ประสิทธิภาพของงานที่ดี
ความสาคัญของการจัดวางตัวบุคคล
การจัดวางตัวบุคลให้เหมาะสม เป็นการจัดให้ผู้เรียนประสบ
ความสาเร็จในด้านการศึกษา ด้านอาชีพ ด้านส่วนตัวและสังคม ซึ่ง
เป็นการช่วยให้แผนการที่ผู้เรียนวางไว้ได้บรรลุผลตามวัตถุประสงค์
นั้น เพราะถึงแม้ว่าผู้เรียนจะได้ตัดสินใจเลือกแนวทางการศึกษา
หรือการประกอบอาชีพไว้แล้ว ก็ไม่ได้หมายความว่าผู้เรียนจะ
สามารถดาเนินการได้ตามที่ตั้งใจไว้เสมอไป จึงจาเป็นต้องมีบริการ
จัดวางตัวบุคคลเพื่อช่วยให้เป้าหมายที่วางไว้นั้นดาเนินไปอย่าง
ราบรื่นหรือประสบปัญหาน้อยที่สุด
ความจาเป็นของการบริการจัดวางตัวบุคคล
1. สังคมมีความเจริญก้าวหน้าทางเทคโนโลยีอย่าง
รวดเร็ว ส่งผลให้ผู้เรียนต้องตื่นตัวและเตรียมตนเองให้พร้อมใน
การเข้าสู่โลกของอาชีพและเทคโนโลยีสมัยใหม่
2. ผู้เรียนที่ด้อยโอกาส และผู้เรียนที่ยากจน รวมทั้งกลุ่ม
ที่ด้อยโอกาสและกลุ่มที่เสียเปรียบทางการศึกษาและอาชีพ เช่น
เด็กพิการ เด็กเร่ร่อน เด็กยากจน เป็นต้น ซึ่งมีความจาเป็นควรจะ
ได้รับการช่วยเหลือให้มีสิทธิที่จะได้รับโอกาสหรือทาในสิ่งที่
เหมาะสม
ความจาเป็นของการบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. การเปลี่ยนแปลงของตลาดแรงงานทั้งภาคราชการ
ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม ทาให้เกิดสายงานใหม่ ๆ ที่ต้องการ
ความรู้ความชานาญขั้นสูง บุคคลจึงควรได้มีโอกาสฝึกทักษะการ
ปฏิบัติงานเพื่อให้มีประสบการณ์สามารถประกอบอาชีพนั้นได้
จุดมุ่งหมายของบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลเป็นการบริการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้ใช้
ความสามารถและศักยภาพของตนเองอย่างเต็มที่ในการปฏิบัติ
กิจกรรม หรือกระทาในสิ่งที่เหมาะสมกับความต้องการความตั้งใจ
ผู้เรียนจาเป็นต้องเข้าใจและเข้าใจตนเองอย่างแท้จริง โดยมีเป้าหมาย
ของการบริการจัดวางตัวบุคคลสามารถ สรุปได้ดังนี้
1. เป็นการบริการที่ช่วยให้ผู้เรียนได้เรียนตามที่วางแผนไว้
2. ช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาสิ่งใหม่ๆ ได้
ด้วยตัวเอง
3. เป็นการนาผู้เรียนเข้าสู่โลกของงาน
4. ช่วยให้ผู้เรียนอยู่ในสถานศึกษามีโอกาสฝึกงาน
ประเภทของบริการจัดวางตัวบุคคล
1. บริการจัดวางตัวบุคคลทางการศึกษา
1.1 การจัดวางตัวผู้เรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาด้าน
การศึกษา
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนหรือ
สถานศึกษาได้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักสูตรที่ตนกาลัง
ศึกษาอยู่ในปัจจุบัน
1.2 การจัดวางตัวผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาและต้องการศึกษาต่อ
เป็นการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถเลือกแนวทาง
การศึกษาต่อได้อย่างถูกต้องและเหมาะสมกับตัวเอง
ประเภทของบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. บริการจัดวางตัวบุคคลด้านอาชีพ
2.1 การจัดวางตัวผู้เรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในสถานศึกษาด้านอาชีพ
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนที่กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียน และต้องการที่
จะทางานในเวลาว่างเพื่อเป็นการหารายได้พิเศษ หรือฝึกปฏิบัติงาน
2.2 การจัดวางตัวผู้เรียนที่สาเร็จการศึกษาและต้องการประกอบอาชีพ
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนที่จะสาเร็จการศึกษา และไม่ประสงค์จะ
ศึกษาต่อ สามารถที่จะตัดสินใจเลือกอาชีพที่ตนจะออกไปประกอบอาชีพ
ได้ในภายหลังจากสาเร็จการศึกษา
ประเภทของบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. บริการจัดวางตัวผู้เรียนด้านส่วนตัว และสังคมหรือด้านการ
พัฒนาบุคลิกภาพ
3.1 การจัดวางตัวผู้เรียนด้านส่วนตัวและสังคมที่กาลังศึกษาอยู่ใน
โรงเรียน
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่โรงเรียนจัด
ขึ้นในโรงเรียน เพื่อเป็นการพัฒนาทักษะในการเข้าสังคม การปรับตัว
กับผู้อื่น
3.2 การจัดวางตัวผู้เรียนด้านส่วนตัวและสังคม ภายนอกโรงเรียน
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมต่างๆ ที่จัดขึ้น
ภายนอกโรงเรียน ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนมีโลกทัศน์ที่กว้างขึ้น
หลักการจัดบริการวางตัวบุคคล
1. ผู้เรียนต้องสารวจตัวเอง เพื่อให้รู้จักตนเอง และเข้าใจตนเอง
อย่างแท้จริง
2. ควรกาหนดเป้าหมายของการจัดวางตัวบุคคลด้านอาชีพสาหรับ
ผู้เรียน
3. ควรให้ผู้เรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับเรื่องอาชีพต่างๆ
4. โรงเรียนควรมีการจัดประสบการณ์และสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อต่อ
การเรียนรู้
5. ควรจัดกิจกรรมที่ทาให้ผู้เรียนเห็นคุณค่าของผู้เรียน คุณค่าของ
ผู้อื่นและคุณค่าของการทางาน
6. สภาพแวดล้อมมีส่วนกาหนดกรอบและความสาพันธ์ของการ
เจริญเติบโต
7. กระตุ้นให้ผู้เรียนสนใจสภาพเศรษฐกิจและสังคม
8. ผู้เรียนจะมีพัฒนาต่างๆอย่างต่อเนื่อง
9. การให้ข้อเสนอแนะในเรื่องต่างๆ ทั้งด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม
และสติปัญญา
10. ผู้สอนต้องเข้าใจผู้เรียน รู้ความถนัดความสามารถของผู้เรียน
หลักการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล
1. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านการศึกษา
1.1 ระบบงานแนะแนวของโรงเรียน จะต้องเป็นหลักและ
ช่วยให้ผู้เรียนมีการพัฒนาศักยภาพเต็มความสามารถ โดยคานึงถึง
ความสนใจ ความถนัด และความต้องการเป็นรายบุคคลของผู้เรียน
1.2 ควรจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ซึ่งเน้นที่
กระบวนการคิดและปฏิบัติได้จริงโดยจัดประสบการณ์ให้สอดคล้อง
กับความสนใจ
1.3 ในการจัดกิจกรรมที่ตอบสนองความต้องการและ
สอดคล้องกับพื้นฐานและระดับความสามารถเป็นรายบุคคลจะช่วย
ให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จและเกิดความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
1. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านการศึกษา (ต่อ)
1.4 ผู้สอนต้องกระตุ้นให้ผู้เรียนใช้ความคิดสร้างสรรค์และ
จินตนาการ และใช้ทักษะที่มีอยู่ให้เต็มศักยภาพ รวมทั้งเสริมต่อ
เพิ่มพูนให้มากขึ้น และกระตุ้นให้เกิดจินตนาการ
1.5 การเรียนการสอนต้องสามารถช่วยให้ผู้เรียนพัฒนา
ตนเองได้ดีขึ้นเป็นลาดับ มีการสร้างกระบวนการคิด การตัดสินใจที่มี
ระบบ
1.6 รูปแบบของกระบวนการเรียนการสอนต้องเปลี่ยนจาก
การใช้จามาเป็นการให้รู้จักคิดและวิเคราะห์ตัดสินใจด้วยตนเอง ให้มี
การแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและวิธีการแก้ปัญหาซึ่งกันและกัน
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านอาชีพ
2.1 หากผู้เรียน ยังไม่เข้าใจความต้องการของตนเองอย่าง
แท้จริง จึงควรให้ผู้เรียนมุ่งค้นหาตัวเองให้มากขึ้นด้วยการทาความ
เข้าใจกับบุคลิกภาพและนิสัย
2.2 การจัดการเรียนการสอนให้กับผู้เรียนต้องมุ่งเน้นที่การ
เสริมสร้างเจตคติที่ดีและมีคุณธรรมในการประกอบอาชีพ
2.3 ให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในโลกของอาชีพที่ผู้เรียน
ตัดสินใจเลือกไว้ให้มากขึ้น
2.4 ให้ผู้เรียนได้มีโอกาสสัมภาษณ์พูดคุยกับผู้ประกอบ
อาชีพต่างๆ เพื่อทบทวนการตัดสินใจเลือกอาชีพอีกครั้งหนึ่ง
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านอาชีพ (ต่อ)
2.5 ถ้าผู้เรียนมีแนวโน้มจะต้องประกอบอาชีพที่เหมาะสมกับ
ท้องถิ่น แนวทางการจัดการวางตัวบุคคลสามารถทาได้โดยให้ผู้เรียน
ได้มีโอกาสฝึกงาน
2.6 กิจกรรมใดๆที่จัดขึ้นให้กับผู้เรียนจะต้องมีความยืดหยุ่น
เพื่อตอบสนองความต้องการที่หลากหลายของผู้เรียนได้อย่างทั่วถึง
2.7 การตัดสินใจเลือกอาชีพต้องมีความยืดหยุ่น เนื่องจากการ
เลือกแนวทางการประกอบอาชีพในอนาคตต้องทาตั้งแต่ระยะแรกๆ
2.8 การใช้เทคโนโลยีมีความจาเป็นในการปฏิบัติงาน ซึ่งควบคู่
กับทักษะทางภาษาสากลผู้เรียนจะต้องสามารถพัฒนาทักษะการเรียนรู้
เหล่านี้ด้วยตนเองอยู่ตลอดเวลาจึงจะประสบความสาเร็จ
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านส่วนตัว และ
สังคม
3.1 ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เรียนวัยเดียวกัน
และผู้เรียนต่างวัย โดยการจัดสภาพแวดทางสังคมระหว่างผู้เรียน เพื่อ
ช่วยพัฒนาทักษะทางสังคม
3.2 ฝึกให้ผู้เรียนใช้หลักความยืดหยุ่น และให้พยายามปรับ
ตนเองรับสถานการณ์ใหม่ที่มีการเปลี่ยนแปลงให้ได้
3.3 จัดสภาพแวดล้อมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้และสร้างเสริม
ลักษณะนิสัยที่พึงประสงค์ให้เกิดขึ้น
3.4 ฝึกความสนใจ ใฝ่รู้ เรียนรู้สิ่งใหม่ๆ เพื่อพัฒนาตนเอง ฝึก
ทักษะ และหาประสบการณ์
แนวทางการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. แนวทางการจัดวางตัวบุคคลให้แก่ผู้เรียนด้านส่วนตัว และ
สังคม (ต่อ)
3.5 สร้างความมุ่งมั่นในการทางาน รู้จักการวางแผนชีวิต
กาหนดจุดมุ่งหมาย พยายามทางานให้สาเร็จตามที่วางแผนไว้
3.6 ฝึกการคิดพิจารณาหลายมุมมอง พยายามแก้ปัญหา
ต่างๆ ด้วยตนเองอย่างมีเหตุผล
3.7 ฝึกให้ผู้เรียนยอมรับในข้อดี และข้อควรปรับปรุงของ
ตนเอง สร้างความเชื่อมั่นตนเองให้เกิดขึ้น เห็นคุณค่าในตนเอง
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล
1. กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านการศึกษา
1.1 การฝึกทักษะการแก้ปัญหา และส่งเสริมความคิดริเริ่ม
สร้างสรรค์
1.2 การฝึกให้ผู้เรียนบันทึก เป็นการฝึกนิสัยการช่างสังเกตและ
จดจารู้จักคิดวิเคราะห์
1.3 การจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตรที่หลากหลายเพื่อตอบสนอง
ความสนใจของผู้เรียน
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
1. กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านการศึกษา (ต่อ)
1.4 จัดโครงการสอนซ่อมเสริมเพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีพัฒนาการ
ด้านการเรียนได้ดียิ่งขึ้น
1.5 จัดหาตัวอย่างข้อสอบหรือแบบทดสอบที่ทันสมัยซึ่งใช้ในการ
สอบคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาต่างๆ
1.6 การจัดประชุมสัมมนาผู้เรียนตามวาระและโอกาสที่เหมาะสม
เพื่อให้คาแนะนาวิธีเลือกแผนการเรียนและแนวทางการแก้ปัญหา
ในการเรียน
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. การจัดกิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านอาชีพ
2.1 การเชิญผู้ปกครอง หรือบุคคลในชุมชนมาเสวนาพูดคุยให้
ผู้เรียนฟังถึงเรื่องราวที่เขาได้พบได้ทาในที่ทางาน เพื่อให้ผู้เรียนฟัง
และถาม
2.2 การพาผู้เรียนไปทัศนศึกษาในชุมชน เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ
ประสบการณ์โดยตรง
2.3 การให้ผู้เรียนทดลองทากิจกรรมใหม่ๆ หรือมอบหมายหน้าที่
ในกิจวัตรประจาวัน ทาให้ผู้เรียนเกิดความภาคภูมิใจ
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. การจัดกิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านอาชีพ (ต่อ)
2.4 การจัดให้มีการฝึกงานในสถานที่จริง ในสถานประกอบการ
ต่างๆ โดยมีครูและวิทยากรทาการนิเทศและติดตามผล
2.5 โรงเรียนอาจมีการเปิดสอนวิชาอาชีพในโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียน
มีโอกาสค้นคว้าหาความถนัดของตน
2.6 การจัดอบรมให้ความรู้และฝึกปฏิบัติการกรอกใบสมัคร การ
กรอกใบสมัครงานถือเป็นขั้นที่สาคัญที่สุดเพราะถูกกลั่นกรองเพื่อคัด
ออกเมื่อมีผู้สมัครจานวนมาก
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. การจัดกิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านอาชีพ (ต่อ)
2.7 การฝึกการสอบสัมภาษณ์เพื่อให้มีโอกาสฝึกก่อนพบ
สถานการณ์จริงอันจะทาให้ไม่เกิดความประหม่า เตรียมคาพูดและ
คาตอบล่วงหน้า เป็นการสร้างความมั่นใจในตัวเองได้ในระดับหนึ่ง
2.8 การบริหารจัดหางาน ถือเป็นงานหลักของบริการจัดวางตัว
บุคคลเป็นการช่วยหางานให้ผู้สาเร็จการศึกษาไปแล้วได้ใช้ความรู้
ความสามารถที่เรียนมาประกอบอาชีพที่ตัวเองพึงพอใจ
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. การจัดกิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านส่วนตัว และสังคม
3.1 การจัดสภาพแวดล้อมที่โรงเรียนให้มีบรรยากาศในการพัฒนา
ลักษณะนิสัยที่ดีให้กับผู้เรียน
3.2 การไปทัศนศึกษาร่วมกับบุคคลในครอบครัว หรือกับเพื่อน กับ
ครูอาจารย์
3.3 การจัดกิจกรรมปลูกฝังคุณธรรม จริยธรรมและค่านิยมทาง
สังคมที่ถูกต้อง
3.4 จัดอบรมมารยาทไทยเพื่อให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์เกี่ยวกับ
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยและวัฒนธรรมท้องถิ่น
3.5 การจัดโครงการอาหารกลางวันให้สาหรับผู้เรียนที่ขาดแคลน
กิจกรรมการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. การจัดกิจกรรมการจัดวางตัวบุคคลด้านส่วนตัว และสังคม
(ต่อ)
3.6 การจัดโครงการสุขภาพในโรงเรียนโดยให้บริการตรวจสุขภาพ
การสร้างภูมิคุ้มกัน
3.7 การจัดโครงการให้ทุนการศึกษา เป็นการช่วยเหลือผู้เรียนที่
ครอบครัวมีรายได้น้อย
3.8 โครงการสวัสดิการด้านที่อยู่อาศัย (บริการหอพัก) บริการด้านนี้
ส่วนใหญ่จัดให้กับผู้เรียนที่อยู่ในโรงเรียนประเภทประจาหรือ
ระดับอุดมศึกษา
3.9 โครงการที่ช่วยเสริมสร้างความรู้และแง่คิดในด้านต่างๆ
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล
1. กิจกรรมเกี่ยวกับวิชาการ
มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสศึกษา หาความรู้ใน
วิชาที่ตนเองถนัด ตามความสนใจ และความสามารถของตนเอง ช่วย
ให้ผู้เรียน ที่เรียนรู้สามารถปรับปรุงตนเอง เลือกวิชาที่ตนเองชอบและ
สามารถจะเรียนต่อไปจนสาเร็จได้
1.1 การจัดข้อทดสอบวัดความถนัด และความสัมฤทธิผลใน
การเรียน เพื่อตรวจดูว่าผู้เรียนมีความสามารถด้านใด
1.2 จัดชุมนุมวิชาการต่างๆ เพื่อให้ผู้เรียนเข้าร่วมชุมนุมตาม
ความถนัด ในเชิงความสามารถของตนเอง
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
2. ชุมนุมหรือชมรม
เป็นการรวมกลุ่มของผู้เรียนที่มีความสนใจในวิชาการ หรือ
กิจกรรมอย่างเดียวกัน และสมัครใจที่จะทากิจกรรมร่วมกัน มีการ
กาหนดจุดมุ่งหมายของชุมนุม โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษาชุมนุมให้
คาแนะนาช่วยเหลือในการปฏิบัติงาน สมาชิกแต่ละชุมนุม ควร
ประกอบด้วยผู้เรียนจากหลายๆ ระดับชั้น
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. จัดสอนซ่อมเสริมวิชาที่ผู้เรียนเรียนอ่อนหรือมีผลการ
เรียนไม่ดี
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสปรับปรุงตนเองและสามารถเรียนได้
สาเร็จ โดยการจัดการสอนซ่อมเสริมเป็นการสอนซ่อมให้ผู้เรียนที่
เรียนช้าหรือขาดเรียนบ่อยแล้วเรียนไม่ทัน เพื่อให้ผู้เรียนกลุ่มนี้
เรียนได้ตามแผนการสอน และเนื้อหาของวิชาตามหลักสูตร การ
สอนเสริมต้องคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเป็นอย่างมาก
เพราะผู้เรียนแต่ละคนอาจจะมีปัญหาหรือมีเอกลักษณ์ของตนเองที่
แตกต่างกันไป
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
4. การลงทะเบียนเรียน
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนทราบข้อมูลเกี่ยวกับการเลือกวิชา เพื่อการ
ลงทะเบียนเรียน ช่วยให้ผู้เรียนมีโอกาสเลือกวิชาเรียนได้ตรงกับ
โครงสร้าง หลักสูตรและตรงกับความถนัด ความสนใจของตนเอง
ป้องกันปัญหาเกี่ยวกับการเรียนและการออกกลางคันของผู้เรียน
4.1 ควรมีการเตรียมตัวผู้เรียนเป็นอย่างดีสาหรับการ
ลงทะเบียน ก่อนการลงทะเบียนทางโรงเรียนควรให้ผู้เรียนได้มี
ความรู้ความเข้าใจในวิชาการต่างๆ อย่างถ่องแท้
4.2 การเลือกวิชาเรียนของผู้เรียนแต่ละคนควรได้รับการ
ตรวจสอบจากครูคนใดคนหนึ่งที่มีความเข้าใจเป็นอย่างดี
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
4. การลงทะเบียนเรียน (ต่อ)
4.3 ผู้เรียนควรจะได้รับคาปรึกษาจากครูผู้ให้คาปรึกษาที่มี
ความชานาญ เพื่อช่วยในการเลือกและตัดสินในใจเกี่ยวกับการ
ลงทะเบียนเรียน เนื่องจากผู้เรียนไม่สามารถตัดสินใจได้ด้วยตนเอง
4.4 โรงเรียนไม่ควรขอร้องให้บิดามารดาเซ็นชื่อในใบ
ลงทะเบียนของผู้เรียนโดยไม่เข้าใจวิธีการ
4.5 กระบวนการในการลงทะเบียนควรเป็นอย่างง่ายๆ และ
ไม่รีบเร่ง ทางโรงเรียนควรส่งเสริมให้ผู้เรียนคิดอย่างรอบคอบ และ
คานึงถึงผลที่จะเกิดขึ้นจากการตกลงใจเลือกของตัวผู้เรียน
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
5. การจัดวางตัวบุคคลในกิจกรรมเสริมหลักสูตร
กิจกรรมเสริมหลักสูตรจะช่วยสนองความต้องการด้านการศึกษา
ของผู้เรียน ซึ่งจะส่งเสริมความสนใจและฝึกหัดเกี่ยวกับอาชีพต่างๆ
ส่งเสริมทักษะในการเข้าสังคมของผู้เรียน การจัดวางตัวบุคคลใน
กิจกรรมเสริมหลักสูตรอาจจะอยู่ในรูปแบบชุมนุมต่างๆ
5.1 พยายามศึกษาวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล เพื่อ
ทราบความสามารถ ความถนัด ความสนใจของผู้เรียน
5.2 ศึกษาถึงโอกาสและเวลาที่ผู้เรียนจะสามารถเข้าร่วม
กิจกรรมต่างๆ
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
5. การจัดวางตัวบุคคลในกิจกรรมเสริมหลักสูตร (ต่อ)
5.3 ครูควรเปิดโอกาสให้ผู้เรียนเข้าพบปะ เพื่อปรึกษาหารือ
เกี่ยวกับการเข้าร่วมในกิจกรรมเสริมหลักสูตรนั้นๆ
5.4 โรงเรียนอาจรวมกิจกรรมย่อยหลายอย่างที่เกี่ยวข้องกัน
อย่างใกล้ชิด รวมเข้าเป็นหน่วยงานใหญ่หน่วยงานหนึ่ง
5.5 พยายามส่งเสริมให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดง
ความสามารถและทดสอบความสามารถของตนได้อย่างเต็มที่
5.6 โรงเรียนควรจัดให้มีคณะครูทาหน้าที่รับผิดชอบ
ดาเนินการจัดโครงการ กิจกรรมเสริมหลักสูตร
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
6. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของผู้เรียนให้ดี
ขึ้น ช่วยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาเล่าเรียนโดยไม่มีอุปสรรคด้าน
สุขภาพ ทาให้เกิดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน การจัดวางตัวบุคคล
เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย สามารถดาเนินการได้ในรูปแบบของ
โครงการสุขภาพหรือโปรแกรมสุขภาพ
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
6. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (ต่อ)
มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยเสริมสร้างสุขภาพอนามัยของผู้เรียนให้ดีขึ้น
ช่วยให้ผู้เรียนสามารถศึกษาเล่าเรียนโดยไม่มีอุปสรรคด้านสุขภาพ
สามารถดาเนินการได้ดังนี้
6.1 การบริการด้านตรวจสุขภาพ เป็นบริการที่เกี่ยวกับการ
กาหนดสถานภาพของผู้เรียนเป็นรายบุคคล เช่น การตรวจสุขภาพ
ทั่วไป การตรวจวัดสายตา การตรวจวัดการได้ยิน เป็นต้น
6.2 การบริการด้านการพยาบาล การจัดให้มีการพยาบาลใน
กรณีของการให้ความช่วยเหลือผู้เรียนที่เจ็บป่วยหรือบาดเจ็บใน
โรงเรียน มีห้องพยาบาลหรือมุมพยาบาล
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
6. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย (ต่อ)
สามารถดาเนินการได้ดังนี้ (ต่อ)
6.3 การจัดกิจกรรมการออกกาลังกาย ช่วยเหลือผู้เรียนให้มี
สุขภาพแข็งแรง สมบูรณ์ทั้งในกลุ่มผู้เรียนที่มีภาวะโภชนาการเกิน
และทุพโภชนาการ โรงเรียนอาจจัดให้ในลักษณะกิจกรรมต่อเนื่อง
ระยะยาว หรือกิจกรรมที่แล้วเสร็จเรียบร้อยในแต่ละครั้ง เช่น การ
ออกกาลงกายหน้าเสาธงในตอนเช้า หรือตอนเย็นหลังเลิกเรียน การ
จัดออกกาลังกายในรูปแบบของชุมนุมกีฬาต่าง ๆ การออกกาลังกาย
ในกิจกรรมกีฬาภายในโรงเรียน เป็นต้น
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
7. การจัดโครงการอาหารกลางวัน
เป็นการช่วยเหลือส่งเสริมให้ผู้เรียน มีภาวะโภชนาการที่ดีและ
เหมาะสมแก่ผู้เรียน ช่วยให้ผู้เรียนได้รับอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อ
ร่างกาย ส่งผลต่อพัฒนาและการเจริญเติบโตที่สอดคล้องกับวัย การ
จัดโครงการอาหารกลางวันจึงมุ่งเน้นที่ผู้เรียน 2 กลุ่ม คือ ผู้เรียน
ยากจนที่ไม่มีอาหารกลางวันรับประทาน และผู้เรียนที่มีสุขนิสัยการ
ทานที่ไม่เหมาะสม
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
8. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับสวัสดิการ
มีจุดมุ่งหมายที่จะช่วยให้ผู้เรียนได้รับประโยชน์อย่างเต็มที่จาก
การอานวยความสะดวกต่างๆ ที่ทางโรงเรียนจัดให้
8.1 การจัดทุนการศึกษา ช่วยเหลือผู้เรียนให้สามารถดาเนิน
ชีวิตในการเรียน ด้วยภาวะปกติสุข
8.2 บริการหอพัก ในสภาพการศึกษาปัจจุบัน ผู้เรียนที่มา
ศึกษาในสถาบันการศึกษาต่างๆ ล้วนมาจากสถานที่ที่แตกต่างกัน
ผู้เรียนบางคนอาจมีบ้านพักอาศัยที่ไกลจากสถานศึกษา จึงไม่
สะดวกในการเดินทางมาเรียน
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
8. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับสวัสดิการ (ต่อ)
8.3 บริการด้านการไปรษณีย์ โทรศัพท์ ธนาคาร และการ
คมนาคม โรงเรียนควรจัดให้มีสถานที่และมีเจ้าหน้าที่อานวยความ
สะดวก
8.4 โรงเรียนขนาดใหญ่อาจจะมีรถบริการรับ-ส่ง ผู้เรียน
สาหรับ การเดินทางไป-กลับ เพื่อความสะดวกและปลอดภัยในการ
เดินทาง
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
9. บริการจัดหางานเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน
เป็นการช่วยให้ผู้เรียนที่ กาลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนและมีความ
ต้องการจะทางานในเวลาว่าง เพื่อเป็นการหารายได้ระหว่างเรียน
สาหรับเป็นค่าใช้จ่ายในการศึกษาเล่าเรียนของตน การให้ผู้เรียนได้
ทางานเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน ควรจะได้พิจารณาถึงสุขภาพ
ความปลอดภัย แล้วรวมทั้งเวลาเรียนของผู้เรียนด้วย ไม่ควรปล่อย
ให้ผู้เรียนทางานจนกระทั่งเกิดผลกระทบต่อ กิจกรรมอื่นๆ ที่ผู้เรียน
ปฏิบัติปกติวิสัยอยู่แล้ว
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
9. บริการจัดหางานเพื่อการมีรายได้ระหว่างเรียน (ต่อ)
การจัดหางานให้ผู้เรียนทาในเวลาว่างเป็นบริการจัดวางตัว
บุคคลทางอาชีพอย่างหนึ่ง มีหลักทั่วไป คือ
1) เพื่อปลูกฝังให้ผู้เรียนรู้จักโลกของงาน
2) การทางานในเวลาว่างนั้น อาจเพื่อหารายได้มาใช้จ่าย
เพื่อการศึกษาของตน หรือนามาเพื่อวัตถุประสงค์อื่นก็ได้
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
10. การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับด้านอารมณ์และสังคม
การบริการนี้มุ่งฝึกฝนให้ผู้เรียนรู้จักควบคุมอารมณ์ มีการพัฒนา
ความมั่นคงทางอารมณ์ รู้จักระงับและข่มอารมณ์ ไม่แสดงพฤติกรรม
อันไม่เหมาะไม่ควรออกไป การจัดกิจกรรมฝึกมารยาท การเข้าสังคม
สร้างมนุษยสัมพันธ์ การทางานร่วมกัน การจัดวางตัวบุคคลเกี่ยวกับ
อารมณ์และสังคม ช่วยให้ผู้เรียนสามารถปรับตัวและ ดารงชีวิตอยู่ใน
สังคมได้อย่างเป็นสุข ซึ่งต้องอาศัยครูอาจารย์ในโรงเรียนทุกคน
ร่วมมือด้วยจึงจะประสบผลสาเร็จได้เป็นอย่างดี
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือประกอบ
อาชีพ
การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปประกอบอาชีพ เป็นงาน
บริการเพื่อช่วยเหลือผู้เรียนที่เตรียมตัวจะออกจากโรงเรียนไปสู่โลก
อาชีพหรือการศึกษาต่อในระดับที่สูงขึ้น สาหรับผู้เรียนที่จะศึกษาต่อ
งานจัดวางตัวบุคคลจะทาหน้าที่ให้ความช่วยเหลือแก่ผู้เรียนเกี่ยวกับ
การเลือกสาขาวิชาเรียน การเลือกสถาบันวิชาชีพที่ผู้เรียนแต่ละคน
สนใจ กิจกรรมที่โรงเรียนควรยึดถือเอากลุ่มผู้เรียนเป็นหลัก ดังนี้
1. กลุ่มผู้เรียนที่มีประสงค์จะศึกษาต่อ กิจกรรมที่ควรจัด เช่น
กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนเลือกศึกษาต่อหรืออบรมวิชาชีพ
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือประกอบ
อาชีพ (ต่อ)
2. กลุ่มผู้เรียนที่ประสงค์จะออกไปประกอบอาชีพ กิจกรรมที่
ควรจัด เช่น กิจกรรมช่วยเหลือผู้เรียนเลือกอาชีพอย่างเหมาะสม
กิจกรรมสาหรับผู้เรียนที่จะเข้าทางานมีหลักการสาคัญ 4 ประการ คือ
1) ควรให้บริการนี้อยู่ในความรับผิดชอบของ
คณะกรรมการกลางของโรงเรียนมากกว่าจะให้ครูคนใดคนหนึ่งเป็น
ผู้รับผิดชอบ
2) การจัดวางตัวบุคคลในการทางาน ควรคานึงถึงผู้เรียน
ที่ออกจากโรงเรียนก่อนสาเร็จการศึกษาด้วย ผู้เรียนประเภทนี้
ต้องการความช่วยเหลือจากโรงเรียนเช่นกัน
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือประกอบ
อาชีพ (ต่อ)
หลักการสาคัญ 4 ประการ (ต่อ)
3) ทางโรงเรียนควรจัดให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์
ทางด้านการทางานที่เหมาะสมกับผู้เรียนด้วย
4) โรงเรียนจะต้องดาเนินการช่วยเหลือผู้เรียนทุกคน
หมายถึงบริการนี้ ไม่ควรจากัดเฉพาะผู้ที่ขอร้องให้ช่วยเหลือ
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือ
ประกอบอาชีพ (ต่อ)
การจัดให้ผู้เรียนทางานดังกล่าวควรมีใบสมัครเพื่อการหา
ประสบการณ์ในงาน ของผู้เรียนและจัดปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนส่งไป
หาประสบการณ์ในงาน หัวข้อสาหรับการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อน
ส่งไปหาประสบการณ์ในการทางาน ดังนี้
(1) ชี้แจงวัตถุประสงค์ของการจัดประสบการณ์ในการ
ทางาน
(2) ข้อมูลที่เกี่ยวกับแหล่งงาน
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือ
ประกอบอาชีพ (ต่อ)
หัวข้อสาหรับการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนส่งไปหา
ประสบการณ์ในการทางาน (ต่อ)
(3) ชื่อหน่วยงาน สถานที่ตั้ง ประเภทของกิจการ ประวัติ
ความเป็นมาของแหล่งงาน
(4) สภาพทั่วไปของแหล่งงาน
(5) อาคารสถานที่
(6) อุปกรณ์และเครื่องจักร
(7) บุคลากร
ลักษณะการจัดบริการวางตัวบุคคล (ต่อ)
11. การจัดวางตัวบุคคลเพื่อเตรียมตัวไปศึกษาต่อ หรือ
ประกอบอาชีพ (ต่อ)
หัวข้อสาหรับการปฐมนิเทศผู้เรียนก่อนส่งไปหา
ประสบการณ์ในการทางาน (ต่อ)
(8) คุณสมบัติเฉพาะตาแหน่งที่ผู้เรียนจะไปหา
ประสบการณ์
(9) ปัญหาอุปสรรค์ของแหล่งงานและวิธีแก้ไข
(10) การปฏิบัติตัวของผู้เรียน มารยาท ระเบียบวินัย
ระหว่างปฏิบัติงาน มนุษย์สัมพันธ์ การแต่งกาย
(11) คาแนะนาเกี่ยวกับความปลอดภัยในงาน
(12) ค่าใช้จ่ายหรือรายได้
การดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล
การบริการจัดวางตัวบุคคล ดาเนินงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. การร่วมมือกับฝ่ายต่างๆ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนเลือกวิชาเรียน
และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียน
2. การร่วมกับฝ่ายกิจกรรมผู้เรียนในการเลือกกิจกรรมของ
ผู้เรียน
3. การประสานงานกับผู้เรียนที่เกี่ยวข้องเกี่ยวกับการรับ
ทุนการศึกษา การหางานทาระหว่างเรียน
การดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
การบริการจัดวางตัวบุคคล ดาเนินงานในเรื่องต่างๆ ดังนี้ (ต่อ)
4. การจัดโครงการพิเศษสนองความต้องการในด้านต่างๆ ของ
ผู้เรียน เช่น โครงการอาหารกลางวัน
5. การจัดทาเนียบเพื่อการติดตามต่อเนื่องในงานบริการแนะแนว
ต่างๆ
6. การร่วมมือกับสถานพยาบาลต่างๆ เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพผู้เรียน
7. การติดตามประเมินผล
การดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
จากการดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคลดังกล่าว เป็น
การทางานที่เกี่ยวข้อง กับบุคคลหลายฝ่ายทั้งภายในและภายนอก
โรงเรียน จึงควรมีการดาเนินงานตามลาดับดังนี้
1. พิจารณาบุคคลผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน งานจัดวางตัว
บุคคลจะต้องมีบุคลาการที่เหมาะสมในการดาเนินงาน
2. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็น การพิจารณาองค์ประกอบด้าน
งานจัดวางตัวบุคคล ควรครอบคลุมถึงงานสานักงานและวัสดุอุปกรณ์
ที่จะจัดให้มี
3. การเตรียมแบบฟอร์มในการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล
จะต้องมีการเตรียม เอกสารต่างๆ ลักษณะของแบบฟอร์มจะขึ้นอยู่กับ
ลักษณะของงานที่ทา
การดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
4. พิจารณาขอบข่ายของงาน ในกรณีที่ริเริ่มบริการจัดวางตัว
บุคคล มีความจาเป็น จะต้องพิจารณาว่าจะจัดบริการอะไรได้บ้าง
มากน้อยแค่ไหน
5. จัดทาปฏิทินงานการจัดวางตัวบุคคล โดยกาหนดเวลาทา
กิจกรรม และผู้รับผิดชอบแต่ล่ะกิจกรรม สรุปในแต่ละภาคเรียนตลอด
ปีการศึกษา
6. จัดทาโครงการปฏิบัติงานเพื่อกาหนดวัตถุประสงค์
รายละเอียดและขั้นตอนของการดาเนินงานเพื่อให้งานเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพ บรรลุเป้าหมายที่กาหนดไว้
การดาเนินงานการจัดบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
7. การประชาสัมพันธ์เรื่องการจัดวางตัวบุคคล ผู้ที่รับผิดชอบ
จะต้องมีการประชาสัมพันธ์งานการชี้แจงการทาความเข้าใจและการ
ขอความร่วมมือกันผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทั้งในและนอกโรงเรียน
8. ติดตามผลและประเมินผลเพื่อเป็นการประเมินความสาเร็จ
ของงานว่าได้ผลมากน้อยเพียงใดมีส่วนใดที่ต้องปรับปรุงแก้ไข
การบริหารระบบบริการจัดวางตัวบุคคล
1. การบริหารจัดวางตัวบุคคลแบบกระจายหรือแยกหน้าที่
รับผิดชอบ (Decentralized Pattern)
เป็นการจัดระบบหรือการกระจายอานาจรับผิดชอบ มีการ
มอบอานาจหน้าที่ให้กับฝ่ายต่างๆ ดาเนินการ
2. การบริหารระบบบริการจัดวางตัวบุคคลแบบมีศูนย์
รับผิดชอบ (Centralized Pattern)
การจัดแบบมีศูนย์รับผิดชอบจะมีศูนย์กลางรับผิดชอบเรื่อง
การจัดวางตัวผู้เรียนตั้งแต่การเก็บข้อมูลหรือการสารวจข้อมูล
ผู้เรียน ติดต่อแหล่งงานที่ต้องการให้ผู้เรียนไปปฏิบัติงาน การจัด
กิจกรรมหรือโครงการต่างๆที่เกี่ยวกับการจัดวางตัวผู้เรียน
การบริหารระบบบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. การบริหารระบบบริการจัดวางตัวบุคคลแบบผสมผสาน
(Centralized - Decentralized Pattern)
เป็นการจัดโดยมีครูแนะแนวเป็นผู้รับผิดชอบเรื่องการจัด
วางตัวผู้เรียนโดยตรง ซึ่งบางโรงเรียนหัวหน้างานแนะแนวอาจ
มอบหมายให้ครูแนะแนวคนใดคนหนึ่ง หรือกลุ่มครูกลุ่มหนึ่งเป็น
ผู้รับผิดชอบ โดยจะนาบุคลากรฝ่ายต่าง ๆ ของโรงเรียนเข้ามามี
ส่วนร่วมในการจัดบริการจัดวางตัวบุคคลด้วย
ประโยชน์ของการบริการจัดวางตัวบุคคล
บริการจัดวางตัวบุคคลเป็นทั้งการจัดสวัสดิการ การช่วยเหลือ
การเติมเต็มให้บุคคลมีความสมบูรณ์ มีความสุขตามเอกัตภาพ ซึ่ง
ประโยชน์ของบริการจัดวางตัวบุคคลสามารถสรุปได้ดังต่อไปนี้
1. ได้เรียนในสิ่งที่ชอบและได้ทางานที่ถนัดซึ่งจะช่วยให้
บุคคลมีแรงจูงใจในการสร้างผลงาน และมีผลสัมฤทธิ์ในการเรียนและ
การทางานสูง
2. การจัดวางตัวบุคคลช่วยให้หลายคนได้มีโอกาสทางานใน
วันหยุดสุดสัปดาห์หรือทางานระหว่างปิดเรียน ช่วยเสริมรายได้ให้กับ
ตนเอง เป็นการรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
ประโยชน์ของการบริการจัดวางตัวบุคคล (ต่อ)
3. ทาให้มีเจตคติที่ดีในการทางาน สามารถเข้าใจได้ว่าการ
ทางานเป็นส่วนหนึ่งของชีวิต
4. เป็นการปลูกฝังนิสัยรักการทางาน มีความคุ้นเคยกับการ
ทางาน มีทักษะในการแก้ปัญหา และได้รับประสบการณ์ตรงอย่าง
กว้างขวาง
5. ได้ร่วมกิจกรรมทั้งในและนอกหลักสูตรที่สถานศึกษาจัด
ให้ซึ่งทาให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับไปใช้ใน
การปฏิบัติตนเมื่อออกจากสถานศึกษา
6. ช่วยให้บุคคลปรับตัวตามสถานการณ์และสภาพแวดล้อม
ได้อย่างเหมาะสมมีทักษะทางสังคมมีชีวิตอยู่ในสังคมอย่างมีความสุข
จบการนาเสนอ

More Related Content

What's hot

บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
Padvee Academy
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
KiiKz Krittiya
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
ssuserd40879
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
YingZaa TK
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
Iam Champooh
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้าtanakit pintong
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาprimpatcha
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
O-SOT Kanesuna POTATO
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
peter dontoom
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
พัน พัน
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
Iam Champooh
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
จตุรพล ชานันโท
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1Ocean'Funny Haha
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานKanistha Chudchum
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
พัน พัน
 

What's hot (20)

บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไรบทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
บทที่ 2 ปรัชญาคืออะไร
 
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
Powerpoint นำเสนอการประเมินวิทยฐานะครูชำนาญการ (คศ.2) - 15/09/2560
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย โครงงานภาษาไทย
โครงงานภาษาไทย
 
142968777910465
142968777910465142968777910465
142968777910465
 
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเราโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
โครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา
 
รายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้ารายงานการศึกษาค้นคว้า
รายงานการศึกษาค้นคว้า
 
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1ห้องสีขาว 1.1
ห้องสีขาว 1.1
 
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
โครงงานเว็บไซต์โทษของบุหรี่
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
แผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงานแผ่นพับโครงงาน
แผ่นพับโครงงาน
 
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคมโครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
โครงการจิตอาสาเพื่อชุมชนและสังคม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่น เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1โครงงานไอเอส1
โครงงานไอเอส1
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
หน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงานหน้าปกโครงงาน
หน้าปกโครงงาน
 
โครงการปันรัก
โครงการปันรักโครงการปันรัก
โครงการปันรัก
 

Similar to บริการจัดวางตัวบุคคล

Audit Hr
Audit Hr Audit Hr
Audit Hr
iamying
 
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบันแนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
Dulyarat Gronsang
 
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...Dulyarat Gronsang
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
koyrattanasri
 

Similar to บริการจัดวางตัวบุคคล (7)

งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2งานชิ้นที่ 2
งานชิ้นที่ 2
 
Audit Hr
Audit Hr Audit Hr
Audit Hr
 
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครูรายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
รายงานการเผยแพร่โทรทัศน์ครู
 
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบันแนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด้านประกันคุณภาพของกลุ่มสำนัก/สถาบัน
 
Report qa
Report qaReport qa
Report qa
 
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...
รายงานผลการสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เรื่อง “แนวทางปฏิบัติที่ดีในการดำเนินงานด...
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 

More from Chainarong Maharak

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
Chainarong Maharak
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
Chainarong Maharak
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
Chainarong Maharak
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
Chainarong Maharak
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
Chainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
Chainarong Maharak
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
Chainarong Maharak
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
Chainarong Maharak
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
Chainarong Maharak
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
Chainarong Maharak
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
Chainarong Maharak
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
Chainarong Maharak
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
Chainarong Maharak
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
Chainarong Maharak
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
Chainarong Maharak
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
Chainarong Maharak
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
Chainarong Maharak
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
Chainarong Maharak
 
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
Chainarong Maharak
 

More from Chainarong Maharak (20)

ขนมไทย
ขนมไทยขนมไทย
ขนมไทย
 
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoologyการจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
การจัดการเรียนการสอนผ่านเว็บ Schoology
 
โปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind mapโปรแกรม Edraw Mind map
โปรแกรม Edraw Mind map
 
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กรการติดต่อสื่อสารในองค์กร
การติดต่อสื่อสารในองค์กร
 
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้งกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง : ฟ้องแย้ง
 
ผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดกผู้จัดการมรดก
ผู้จัดการมรดก
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปมไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
ไวรัสคอมพิวเตอร์ เวิร์ม ม้าโทรจัน สแปม
 
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Wordการสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
การสร้างการ์ดอวยพรด้วยโปรแกรม Microsoft Word
 
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
บทที่9 การประเมินผลการเรียนรู้
 
โปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch upโปรแกรม Sketch up
โปรแกรม Sketch up
 
การสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analogการสื่อสารแบบ Analog
การสื่อสารแบบ Analog
 
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐานคู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
คู่มือการใช้งาน โปรแกรมคำนวณสถิติขั้นพื้นฐาน
 
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอนคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
คู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียช่วยสอน
 
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
ระบบฐานข้อมูลการซื้อขายสินค้าของสหกรณ์
 
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
ทฤษฎีการเชื่อมโยงของธอร์นไดค์
 
การเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้านการเยี่ยมบ้าน
การเยี่ยมบ้าน
 
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าวหลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
หลักสูตรท้องถิ่นนี้ เรื่อง การทำไม้กวาดทางมะพร้าว
 
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริเขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
เขื่อนขุนด่านปราการชล โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ
 
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
สถานที่ท่องเที่ยวในพื้นที่ลุ่มแม่น้ำบางปะกง (เขื่อนขุนด่านปราการชล)
 

บริการจัดวางตัวบุคคล