SlideShare a Scribd company logo
การศึกษาไทยในสมัยโบราณ
การศึกษาเป็นรากฐานที่มีความสาคัญที่สุดประการหนึ่งในการสร้างส
รรค์ความ เจ ริญก ้าว หน ้าแ ล ะแก ้ไ ขปั ญ หา ต่า ง ๆ ใน สังคม ไ ด้
โดยเฉพาะระบบการจัดการศึกษาซึ่งเป็นตัวกาหนดหลักสูตร จุดมุ่งหมาย
แ น ว น โ ย บ า ย ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า
เพื่อให้การศึกษาพัฒน าชีวิตของคนไ ปใน แน วทางที่พึงปร ะส งค์
สาหรับประเทศไทยมีวิวัฒนาการของการจัดการศึกษามาโดยตลอด
อาจจะเป็นเพราะมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทาให้สังคมมีการเ
ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก ล่ า ว คื อ
ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมั
ย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
ทั้ ง ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง
ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทาให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัยเพื่อ
ความ อ ยู่รอ ดและเกิดก ารพัฒนาให้ทัดเทียม กับนานาประ เ ท ศ
ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทาให้การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเรื่อยมา
ส า ห รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ใ น ส มั ย โ บ ร า ณ นั้ น
การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมาแต่เดิ
ม จาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ
ซึ่งการศึกษาในสมัยนี้มีบ ้านและวัดเป็นศูนย์กลางของการศึกษา เช่น
บ ้านเป็ นส ถานที่ อ บรมกล่อมเกลาจิตใจของส มาชิกภายในบ ้าน
โดยมีพ่อ และแม่ทาหน ้าที่ใน การถ่ายทอ ดอ าชีพและอ บรมลูกๆ
วั ง เ ป็ น ส ถ า น ที่ ร ว ม เ อ า นั ก ป ร า ช ญ์ ส า ข า ต่ า ง ๆ
ม า เ ป็ น ขุ น น า ง รั บ ใ ช ้ เ บื้ อ ง พ ร ะ ยุ ค ล บ า ท
โดยเฉพาะงานช่างศิลปหัตถกรรมเพื่อสร้างพระราชวังและประกอบพระราช
พิ ธี ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น ที่ ที่ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ
จ า ก ค น รุ่ น ห นึ่ ง ไ ป สู่ ค น อี ก รุ่ น ห นึ่ ง
ส่ ว น วั ด เ ป็ น ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ก ร ร ม ท า ง ศ า ส น า
พระจ ะทาหน ้าที่ใน ก ารอ บรม สั่งส อ น ธรรม ะแก่พุทธศาส นิก ชน
โดยเฉพาะผู้ช ายไ ทยมี โอ ก าส ไ ด้ศึก ษ า ธร รม ะแ ละ บ วช เ รี ย น
ในสังคมไทยจึงนิยมให้ผู้ชายบวชเรียนก่อนแต่งงานทาให้มีคุณธรรมและจิ
ต ใ จ มั่ น ค ง ส า ม า ร ถ ค ร อ ง เ รื อ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข
นอกจากนี้ผู้ที่มาบวชเรียนนอกจากมาแสวงหาความรู้เรื่องธรรมะในวัดแล้ว
ยังสามารถแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ในด้านศิลปวิทยาการต่าง ๆ
ที่ เ ค ย ไ ด้ อ บ ร ม จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ม า
จะเห็นได้ว่าสถาบันทั้งสามนี้ล้วนแต่มีบทบาทในการศึกษาอบรมสาหรับคน
ไทยในสมัยนั้นในการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง
น อ ก จ า ก นี้ ใ น ชุ ม ช น ต่ า ง ๆ
ก็มีภูมิปัญญามากมายซึ่งมีปราชญ์แต่ละสาขาวิชา เช่น ด้านการก่อสร้าง
หัตถกรรม ศิลปกรรม ประติมากรรม และแพทย์แผนโบราณ เป็นต้น
ส่วนพระมหากษัตริย์ในสมัยนี้มีพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์ต่อการจั
ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส มั ย นั้ น แ ล ะ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ม า ก ล่ า ว คื อ
พ่อขุนรามคาแหงมหาราชและพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระเจ ้าลิไท)
ซึ่งพระราชกรณียกิจที่สาคัญ เช่น การประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นครั้งแรก
โ ด ย ท ร ง ดั ด แ ป ล ง ม า จ า ก ตั ว ห นั ง สื อ ข อ ม แ ล ะ ม อ ญ
อันเป็นรากฐานด้านอักษรศาสตร์จนนามาสู่การพัฒนาปรับปรุงเป็นอักษรไ
ท ย ใ น ปั จ จุ บั น ศิ ล า จ า รึ ก ห ลั ก ที่ 1
จึงเป็นศิลาจารึกที่จารึกเป็นอักษรไทยให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็ นม
า ข อ ง สุ โ ข ทั ย ใ น ด้ า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์
ส่วนการบารุงพุทธศาสนาในรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 1 ( พระเจ ้าลิไท)
ท า ใ ห้ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ม า ก ใ น ส มั ย นี้
ด้วยเหตุผลที่ว่าพระองค์ทรงสละราชย์สมบัติออกบวชเป็นพระภิกษุชั่วระยะ
ห นึ่ ง นั บ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร บ ว ช เ รี ย น ใ น ส มั ย ต่ อ ม า
การที่พระองค์ทรงจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์โดยกาหนดให้การปกค
รองสงฆ์ออกเป็นสองคณะ กล่าวคือ คณะอรัญวาสีและคณะคามวาสี
แ ล ะ ก า ร ที่ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง พ ร ะ นิพ น ธ์ห นั ง สื อ ไ ต ร ภู มิพ ร ะ ร่ ว ง
ซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่มุ่งเน ้นการสอนศีลธรรมให้ราษฎร
ป ร ะ พ ฤ ติ แ ต่ สิ่ ง ที่ ดี ง า ม ล ะ เ ว ้ น ค ว า ม ชั่ ว
ผู้ป ร ะ พ ฤ ติ ดี จ ะ ไ ด้ขึ้ น ส ว ร ร ค์ ผู้ป ร ะ พ ฤ ติชั่ ว จ ะ ต้อ ง ต ก น ร ก
ซึ่ ง พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง บ ร ร ย า ย ไ ว ้ อ ย่ า ง น่ า ส ะ พ รึ ง ก ลั ว
นับเป็นวรรณคดีร้อยแก ้วที่มีความสาคัญที่สุดในสมัยสุโขทัย โดยกล่าวถึง
โ ล ก ม นุ ษ ย์
สวรรค์และนรกเป็นวรรณคดีที่ได้รับการกล่าวอ ้างถึงในวรรณกรรมต่างๆ
แ ล ะ เ ป็ น
วรรณคดีที่มีความสาคัญต่อคาสอนในพุทธศาสนามาจนถึงปัจจุบันนี้
การศึกษาในสมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781 – พ.ศ. 1921) มีลักษณะ
ดังนี้
1. รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย
1 . 1 ฝ่ า ย อ า ณ า จั ก ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ส่ ว น ไ ด้แ ก่
ส่วนที่หนึ่งเป็นการจัดการศึกษาสาหรับผู้ชายที่เป็นทหาร เช่น มวย กระบี่
ก ร ะ บ อ ง แ ล ะ อ า วุ ธ ต่ า ง ๆ ต ล อ ด จ น วิธี ก า ร บั ง คั บ ม ้า ช ้า ง
ตาราพิชัยสงครามซึ่งเป็ นวิชาชั้นสูงของผู้ที่จะเป็ นแม่ทัพนายก อ ง
และส่วนที่สอง พลเรือน เป็นการจัดการศึกษาให้แก่พลเรือนผู้ชายเรียน
คั ม ภี ร์ ไ ต ร เ พ ท โ ห ร า ศ า ส ต ร์ เ ว ช ก ร ร ม ฯ ล ฯ
ส่วนพลเรือนผู้หญิงให้เรียนวิชาช่างสตรี การปัก การย้อม การเย็บ
ก า ร ถัก ท อ น อ ก จ า ก นั้ น มี ก า ร อ บ ร ม บ่ม นิสั ย กิริย า ม า ร ย า ท
การทาอาหารการกินเพื่อเตรียมตัวเป็นแม่บ ้านแม่เรือนที่ดีต่อไป
1.2 ฝ่ ายศาสนจักร เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา
การจัดการศึกษาในสมัยสุโขทัยจึงเป็นการจัดการศึกษาที่เน ้นพระพุทธศา
ส น า แ ล ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์
สมัยนี้พ่อขุนรามคาแหงได้นาช่างชาวจีนเข้ามาเผยแพร่การทาถ ้วยชามสัง
ค โ ล ก ใ ห้ แ ก่ ค น ไ ท ย
และหลังจากที่ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยแล้วงานด้านอักษรศาสตร์เจริญขึ้
น มีการสอนภาษาไทยในพระบรมมหาราชวัง มีวรรณคดีที่สาคัญ คือ
หนังสือไตรภูมิพระร่วงและตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์
2. สถานศึกษา สาหรับสถานศึกษาในสมัยนี้ ประกอบด้วย
2 . 1 บ ้ า น
เป็นสถาบันสังคมพื้นฐานที่ช่วยทาหน ้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ
ต า ม บ ร ร พ บุ รุ ษ ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง บ ้ า น เ รื อ น
ศิลปะการป้องกันตัวสาหรับลูกผู้ชายและการบ ้านการเรือน เช่น การจีบพลู
การทาอาหารและการทอผ้าสาหรับลูกผู้หญิง เป็นต้น
2.2 สานักสงฆ์ เป็นสถานศึกษาที่สาคัญของราษฎรทั่วไป
เพื่อทาหน้าที่ขัดเกลาจิตใจ และแสวงหาธรรมะต่างๆ
2 . 3 ส า นั ก ร า ช บั ณ ฑิ ต
เป็นบ ้านของบุคคลที่ประชาชนยกย่องว่ามีความรู้สูง บางคนก็เป็นขุนนาง
มี ย ศ ถ า บ ร ร ด า ศั ก ดิ์ บ า ง ค น ก็ เ ค ย บ ว ช เ รี ย น แ ล้ว จึง มี ค วาม รู้
แตกฉานในแขนงต่างๆ
2 . 4 พ ร ะ ร า ช ส า นั ก
เป็นสถานศึกษาของพระราชวงศ์และบุตรหลานของขุนนางในราชสานัก
มีพราหมณ์หรือราชบัณฑิตเป็นครูสอน
3. วิชาที่สอน ไม่ได้กาหนดตายตัว สามารถแบ่งออกได้ดังนี้
3 . 1 วิ ช า ค ว า ม รู้ ส า มั ญ
สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช ้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการศึกษา
ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช ้เ
มื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน
3 . 2 วิช า ชีพ เ รี ย น กั น ต า ม แ บ บ อ ย่ า ง บ ร ร พ บุ รุ ษ
ตระกูลใดมีความชานาญด้านใดลูกหลานจะมีความถนัดและประกอบอาชีพ
ต า ม แ บ บ อ ย่ า ง กั น ม า เ ช่ น
ตระกูลใดเป็นแพทย์ก็จะสอนบุตรหลานให้เป็นแพทย์
3.3 วิชาจ ริยศึก ษ า ส อ น ให้เคารพนับถือ บรรพบุรุษ
ก ารรู้จัก ก ตัญญูรู้คุณ ก ารรัก ษ าขน บธรรม เนียมประเพณี ดั้งเดิม
และการรู้จักทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่างเข้าพรรษา เป็นต้น
3.4 วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช ้อาวุธ
การบังคับสัตว์ที่ใช ้เป็นพาหนะในการออกศึกและตาราพิชัยสงคราม
ความรู้เพิ่มเติมจากคาศัพท์ในเนื้อหา
1 . ค ณ ะ อ รั ญ ว า สี ( อ่ า น ว่ า อ ะ - รั น - ย ะ - ว า - สี )
เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในป่ าห่างชุมชน หมายถึง
ภิ ก ษุ ผู้ อ ยู่ ใ น ป่ า ห รื อ ที่ เ รี ย ก โ ด ย ทั่ ว ไ ป ว่ า พ ร ะ ป่ า
ซึ่งมีกิจวัตรประจาวันเน ้นหนักไปในทางวิปัสสนา ธุระคือ อบรมจิต
เ จ ริ ญ ปั ญ ญ า นุ่ ง ห่ ม ด้ ว ย ผ้ า สี ป อ น ห รื อ สี ก รั ก
มุ่ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร เ ผ ย แ ผ่ เ ป็ น ห ลั ก
ไ ม่เน ้น งาน ด้าน ก ารบริหารปก ครอ ง ก ารศึก ษ าพระปริยัติธรรม
และสาธารณูปการหรือการก่อสร้างพัฒนาวัด ปัจจุบัน “อรัญวาสี”
ถูกนามาใช ้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะขึ้นไปเ
พื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระป่า
2 . ค ณ ะ ค า ม ว า สี ( อ่ า น ว่ า ค า - ม ะ - ว า - สี )
เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในหมู่บ ้าน ชุมชน หรือ
ตัวเมือง หมายถึง ภิกษุที่พานักอยู่ตามวัดในหมู่บ ้านหรือในตัวเมือง
มี กิ จ วั ต ร ป ร ะ จ า เ น้ น ห นั ก ไ ป ใ น ท า ง คั น ถ ธุ ร ะ
คือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง
การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามเป็นหลัก
เรียกกันทั่วไปว่า พระบ ้าน พระเมือง ปัจจุบัน “คามวาสี” ถูกนามาใช ้เป็น
สร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป
เ พื่ อ แ ส ด ง ใ ห้รู้ว่า เ ป็ น พ ร ะ บ ้า น ทั้ง พ ร ะ ส ง ฆ์ฝ่ า ย ม ห า นิ ก า ย
และพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย
3 . คั ม ภี ร์ไ ต ร เ พ ท คื อ คั ม ภี ร์ที่ ก ล่ า ว ถึง พ ร ะ เ ว ท 3 อ ย่ า ง
ซึ่งเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของศาสนาพราหมณ์ ได้แก่
3.1 ฤคเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจ ้า
3.2 ยชุรเวท ประกอบด้วยบทสวดอ ้อนวอนในพิธีบูชายัญต่างๆ
3 . 3 ส า ม เ ว ท
ประมวลบทเพลงขับสาหรับสวดหรือร้องเป็นทานองในพิธีบูชายัญ
4. หนังสือตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เรียกอีกชื่อนึงว่า เรื่องนางนพมาศ
เป็นหนังสือที่เชื่อกันว่าแต่งขึ้นในสมัยสุโขทัย ผู้แต่งคือ นางนพมาศ หรือ
" ท้า ว ศ รี จุ ฬ า ลั ก ษ ณ์ " แ ต่ ห นั ง สื อ อ า จ ช า รุ ด เ สี ย ห า ย
และได้มีการแต่งขึ้นใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ แต่คงเนื้อหาเดิมของโบราณ
เพิ่งมีการชาระและตีพิม พ์เผยแพร่เป็ น ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2457
เริ่ม ต้นว่าด้วยก าเนิดมนุษย์ ชาติภาษ า พร้อ ม แนะนาตัวผู้เขียน
“ข้าน้อยผู้ได้นามบัญญัติชื่อว่า ศรีจุฬาลักษณ์” เล่าถึงกาเนิดอาณาจักรและ
จ าก นั้นก็ส รรเส ริญพระเกียรติส ม เด็จ พร ะร่ว งเจ ้า เล่าถึงผู้ค น
ชาติตระกูลใน สุโขทัย และมาถึงประวัติส่วน ตัวขอ งน างน พม าศ
พ ร ะ ม โ ห ส ถ พ ร า ห ม ณ์
บิดาขอ งน า ง น พ ม า ศไ ด้เล่ า นิท า น ส อ น ใจ แก่ น า งส าม สี่ เ รื่ อ ง
จ า ก นั้ น น า ง เ ร ว ดี ม า ร ด า ใ ห้ โ อ ว า ท ส อ น ม า ร ย า ท
แ ล้ ว น า ไ ป ถ ว า ย ตั ว พ ร ะ ร่ ว ง เ จ ้ า
ช่วงต่อมานางนพมาศเล่าถึงพิธีพราหมณ์ทั้งสิ้น 12 พิธี เริ่มตั้งแต่เดือน 12
พิ ธี จ อ ง เ ป รี ย ง ต ร ง กั บ ช่ ว ง “ วั น เ พ็ ญ เ ดื อ น 1 2
เป็นนักขัตฤกษ์ชักโคมลอยโคม” ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเรียกม าเป็ น
“ ล อ ย ก ร ะ ท ง ท ร ง ป ร ะ ที ป ”
และสืบทอดกันมาเป็นพิธีลอยกระทงจนถึงปัจจุบัน
การศึกษาไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310)
มีลักษณะ ดังนี้
ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ซึ่ง เ ป็ น ร า ช ธ า นี อั น ย า ว น า น ถึง 4 1 7 ปี
มีความเจริญทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง ระบบเศรษฐกิจและสังคม
สาหรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่เกิดขึ้นนั้นส่วนหนึ่งก็มีผลมาจากชนชาติ
ต่ า ง ๆ
ในเอเชียที่มีการเข้ามาติดต่อค้าขายและเข้ามาเพื่อตั้งหลักแหล่งหากินใน
ดินแดนไทย เช่น จีน มอญ ญวน เขมร อินเดีย และอาหรับ เป็นต้น
และตั้งแต่รัชสมัยพระรามาธิบดีที่ 2 ชาติตะวันตกได้เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขาย
เช่น ชาติโปรตุเกสเข้ามาเป็นชาติแรก และมีชนชาติอื่น ๆ ติดตามมา เช่น
ฮอลันดา ฝรั่งเศส อังกฤษ เป็นต้น มีผลให้การศึกษาไทยมีความเจริญขึ้น
โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระเจ ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์ม
หาราช
สาหรับในสมัยก รุงศรีอ ยุธยา (พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310)
การศึกษาได้มีการเปลี่ยนรูปแบบต่างไปจากการศึกษาในสมัยกรุงสุโขทัยเ
ล็ก น้อ ย จ ะมีก ารเรียน ก ารส อ น ใน วิช า ภาษ า บ าลี ภาษ าไ ท ย
และวิชาสามัญขั้นต้น โดยได้มีการแบ่งสานักเรียนออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่
วัด ที่เปิดสอนนักเรียนของบรรดาบุตรหลานขุนนางและราษฎรทั่วไป
และสานักราชบัณฑิตที่เปิดสอนแต่เฉพาะเจ ้านายและบุตรหลานข้าราชการ
เ ท่ า นั้ น ส า ห รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ทั่ ว ไ ป ที่ เ ปิ ด ส อ น ใ น วั ด
ราษฎรจะนิยมพาบุตรหลานไ ปฝากกับพระ เพื่อเล่าเรียนหนังสือ
พ ร ะ ก็ จ ะ รั บ เ ด็ ก ๆ ที่ ผู้ป ก ค ร อ ง ม า ฝ า ก ไ ว ้เ ป็ น ลู ก ศิ ษ ย์
เพื่อทาการอบรมในทางศาสนา สอนหนังสือภาษาไทย ภาษาบาลี
ตามสมควร เมื่อเด็กๆ เติบโตขึ้นอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ (ผู้ชาย)
ก็ จ ะ ต้ อ ง ท า ก า ร อุ ป ส ม บ ท เ ป็ น พ ร ะ ภิ ก ษุ
ซึ่งถือ ไ ด้ว่าเป็ น ประเพณี ที่ถูก ปฏิบัติสืบต่อ กัน ม าอ ย่างยาวนาน
โ ด ย สื บ เ นื่ อ ง ม า จ า ก แ ผ่ น ดิ น ใ น ส มั ย พ ร ะ เ จ ้า บ ร ม โ ก ศ
เ พ ร า ะ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง ก ว ด ขั น ก า ร ศึก ษ า ท า ง พ ร ะ ศ า ส น า ม า ก
บุ ต ร ห ล า น ข้า ร า ช ก า ร ค น ใ ด ที่ จ ะ ถ ว า ย ตั ว เ ข้า รั บ ร า ช ก า ร
ถ ้า ยั ง ไ ม่ ไ ด้อุ ป ส ม บ ท ก็ ไ ม่ ท ร ง แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้เ ป็ น ข้า ร า ช ก า ร
และประเพณีนี้ยังถือได้ว่าเป็นตัวกาหนดที่ทาให้ทุกวัดในสมัยนั้นต้องเป็นโ
รงเรียน และพระภิกษุทุกรูปจะมีหน ้าที่เป็นอาจารย์ผู้สอนหนังสือเด็กๆ
ไ ป ด้ ว ย แ ต่ ค า ว่ า “ โ ร ง เ รี ย น ”
ใ น เ ว ล า นั้น มี ลั ก ษ ณะ ต่ า ง กั บ โ รง เ รี ย นใ น ปั จ จุ บัน นี้ ก ล่ า วคือ
จ ะ ไ ม่ มี อ า ค า ร ป ลู ก ขึ้ น ส า ห รั บ ใ ช ้เ ป็ น ที่ เ รี ย น โ ด ย เ ฉ พ า ะ
หากเป็นศิษย์ของใครก็สอนอยู่ที่กุฎิของตนตามสะดวกและความพอใจ
พ ร ะ ภิ ก ษุ รู ป ห นึ่ ง ๆ
มี ศิษ ย์ไ ม่ กี่ ค น เ พ ร า ะ จ ะ ต้อ ง บิณ ฑ บ า ต ม า เ ลี้ ย ง ดู ศิษ ย์ ด้ว ย
ช า ว ยุ โ ร ป ที่ เ ข้ า ม า เ มื อ ง ไ ท ย ใ น ส มั ย ต่ า ง ๆ
ได้เล่าเรื่องการศึกษาของไทยไว ้ในหนังสือที่พวกเขาเหล่านั้นแต่งขึ้น
ยกตัวอย่างเช่น เมอร์ซิเออร์ เดอะ ลาลูแบร์
ราชทูตผู้หนึ่งในคณะฑูตฝรั่งเศสครั้งที่ 2 ของพระเจ ้าหลุยส์ที่ 14
ซึ่งเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรีในแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช
ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว ้ ใ น ห นั ง สื อ ร า ช อ า ณ า จั ก ร ส ย า ม ว่ า
" พ ร ะ ส อ น ห นั ง สื อ ใ ห้ แ ก่ เ ย า ว ช น
ดังที่ข้าพเจ ้าได้เล่าแล้วและท่านอธิบายคาสั่งสอนแก่ราษฎร์ตามที่เขียนไว ้
ในหนังสือบาลี"
หรือจะเป็ นหนังสือ “ราชอาณาจักรไทยหรือประเทศสยาม” ของ
ม อ ง เ ซ น เ ย อ ร์ ปั ล เ ล อ กัว ซ์ สั ง ฆ ร า ช แ ห่ ง มั ล ล อ ส
ใ น ค ณ ะ ส อ น ศ า ส น า โ ร มั น ค า ท อ ลิ ก ข อ ง ฝ รั่ ง เ ศ ส
ประจาประเทศไทยซึ่งพิมพ์ออกจาหน่าย เมื่อ พ.ศ. 2397 กล่าวว่า
" ภ า ย ห ลั ง ห รื อ บ า ง ที ก่ อ น พิ ธี โ ก น จุ ก
บิดาม ารดาส่งบุตรขอ งตน ไ ปอ ยู่วัดเพื่อ เรียน อ่าน และเขียน ณ
ที่ นั่ น เ ด็ ก เ ห ล่ า นี้ รั บ ใ ช ้ พ ร ะ พ า ย เ รื อ ใ ห้ พ ร ะ
แ ล ะ รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ซึ่ง บิณ ฑ บ า ต ม า ไ ด้ร่ ว ม กั บ พ ร ะ ด้ว ย
พระส อ น อ่าน หนังสือ ให้เพีย งเล็ก น ้อ ย วัน ล ะค รั้ง หรือ ส อ ง ค รั้ง
ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบแทน ส่วนการศึกษาของเด็กหญิงมีการสอนให้ทาครัว
ตาน้าพริก ทาขนมมวนบุหรี่และจีบพลู”
ต่ อ ม า ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช
ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ก็ ไ ด้ มี ค ว า ม เ จ ริ ญ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น
เพราะได้มีการเรียนการสอนทั้งภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร
พม่า มอญ และจีน ตามบันทึกแม ้กระทั่งนายประตูก็สามารถแต่งโคลงได้
แ ล ะ ไ ด้ป ร า ก ฏ ต า ม พ ง ศ า ว ด า ร ว่า ส ม เ ด็ จ เ จ้า ฟ
้ า ต รัส น้อย
โอรสองค์หนึ่งของ สมเด็จพระเพทราชา หรือ
ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า บุรุ ษ วิสุ ท ธิเ ด ช อุด ม บ ร ม จัก ร พ ร ร ดิศ ร
บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า อ ยู่ หั ว
(พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28) ได้ทรงศึกษาภาษาต่างๆ
จนชานาญทั้งภาษาบาลี สันสกฤต ฝรั่ง เขมร ลาว ญวน พม่า รามัญ
แ ล ะ จี น ทั้ ง ยั ง ท ร ง ศึ ก ษ า ด้ า น วิ ช า โ ห ร า ศ า ส ต ร์
และแพทยศาสตร์จากอาจารย์ต่าง ๆ เป็นอันมาก
ใ น ส่ ว น ข อ ง ส า นั ก เ รี ย น น อ ก จ า ก วัด ใ น บ า ง รั ช ก า ล ยั งมี
สานักราชบัณฑิต และโรงเรียนมิชชันนารี - สานักราชบัณฑิต
ก็จะมีพวกราชบัณฑิตที่เป็นอาจารย์สอนหนังสือคอยสอนหนังสือให้แก่ลูก
ศิษย์ ซึ่งสานักราชบัณฑิตนี้มีต่อ มาจน ถึงสมัยก รุงรัตน โก สิน ทร์
แ ม ้ ใ น ต้ น รั ช ก า ล ที่ 5
ก็ยังมีราชบัณฑิตที่เป็นอาจารย์สอนหนังสือพระเณรอยู่ในวัดพระศรีรัตนศา
ส ดาราม และวัดอื่น ๆ จ นเมื่อ มีโรงเรียนของกระทรวงธรรมการ
และโรงเรียนพระปริยัติธรรมแพร่หลายแล้ว สานักราชบัณฑิตจึงได้หมดไป
- โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี
เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดีย
ว กั น ก็ ส อ น วิ ช า ส า มั ญ ด้ ว ย
ชาวยุโรปที่เข้ามาค้าขายและได้สร้างโรงเรียนมิชชันนารีขึ้นเป็นชาติแรก
คื อ ช า ว โ ป ร ตุ เ ก ส
ในระยะนั้นไทยเป็นประเทศเดียวในแถบเอเชียตะวันออกที่ไม่รังเกียจศาสน
า ใ ด ศ า ส น า ห นึ่ ง เ ล ย
พวกฝรั่งเห็นเป็นโอกาสที่จะเกลี้ยกล่อมคนไทยให้เข้ารีตได้มากกว่าที่อื่น
ดั ง นั้ น บ า ท ห ล ว ง จึ ง ไ ด้ เ ดิ น ท า ง เ ข้ า ม า ม า ก ขึ้ น
พระเจ ้าแผ่นดินก็ทรงให้ความอุปถัมภ์พวกบาทหลวงถึงแก่พระราชทานทรั
พ ย์ ใ ห้ ส ร้ า ง โ บ ส ถ์ ก็ มี ดั ง เ ช่ น
สมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่ได้พระราชทานทรัพย์ให้แก่บาทหลวงฝรั่งเศ
ส เป็นต้น
ในเวลาต่อมา เมื่อวิชาภาษาไทยได้มีการวางรากฐานที่ดีแล้ว
พระโหราธิบดี ก็ได้ประพันธ์หนังสือ “จินดามณี” ขึ้นมาในปี พ.ศ.
2 2 1 5 เ พื่ อ ถ ว า ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช
โดยมีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่องของการใช ้สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์
การแจกลูก (การสะกดคา) การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข
แ ล ะ ก า ร ส ะ ก ด ก า รั น ต์ ฯ ล ฯ
และได้ถูกนามาใช ้เป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทยสืบต่อมาเป็นเวลานาน
รูปแบบการจัดการศึกษาไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 –
พ.ศ. 2310) มีลักษณะ ดังนี้
1. การศึกษาวิชาสามัญ
เ น้น ก า ร อ่ า น เ ขี ย น เ รี ย น เ ล ข อั น เ ป็ น วิช า พื้ น ฐ า น
ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ ก อ บ สั ม ม า อ า ชี พ ข อ ง ค น ไ ท ย
โดยได้มีการใช ้หนังสือจินดามณีในการเรียนการสอน
2. การศึกษาทางด้านศาสนา
วัดยังมีบทบาทม าก ในส มัยส ม เด็จ พระเจ ้าอ ยู่หัวบรม โก ศ
พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ส่ ง เ ส ริ ม พุ ท ธ ศ า ส น า
โดยทรงวางกฎเกณฑ์ไว ้ว่าประชาชนคนใดไม่เคยบวชเรียนเขียนอ่านมาก่อ
น จ ะ ไ ม่ ท ร ง แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้ เ ป็ น ข้ า ร า ช ก า ร
แ ล ะ ใ น ส มั ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช เ ป็ น ต้ น ม า
มีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและวิชาอื่นๆ
ขึ้ น เ รี ย ก โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี นี้ ว่ า “ โ ร ง เ รี ย น ส า ม เ ณ ร ”
เพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์
3. การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี
ปรากฎว่า มีการสอนทั้งภาษาไทยบาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า
ม อ ญ แ ล ะ ภ า ษ า จี น
ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ม หาราชมีวรรณคดีหลายเล่ม เช่น
เ สื อ โ ค ค า ฉั น ท์ ส มุ ท ร โ ฆ ษ ค า ฉั น ท์ อ นิ รุ ท ธ์ ค า ฉั น ท์
และกาสรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น
4. การศึกษาของผู้หญิง
มีการเรียนวิชาชีพ การเรือนการครัว ทอผ้า ตลอดจนกิริยามารยาท
เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้เ ขี ย น เ พ ล ง ย า ว โ ต้ ต อ บ กั บ ผู้ช า ย
แต่ผู้หญิงที่อยู่ในราชตระกูลเริ่มเรียนภาษาไทยตลอดทั้งการประพันธ์ด้วย
ในสมัยนี้โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่นาวิธีการทาขนมหวานที่ใช ้ไข่มาเป็นส่วน
ผ ส ม เ ช่ น ท อ ง ห ยิ บ ฝ อ ย ท อ ง
มาเผยแพร่จนขนมเหล่านี้เป็นเอกลักษณ์ขนมหวานของไทยในปัจจุบัน
5. การศึกษาวิชาการด้านทหาร
มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถท
ร ง แ ย ก ร า ช ก า ร ฝ่ า ย ท ห า ร แ ล ะ ฝ่ า ย พ ล เ รื อ น อ อ ก จ า ก กั น
หัวหน้าฝ่ ายทหารเรียก ว่า “สมุหกลาโหม” ฝ่ ายพลเรือนเรียก ว่า
“ส มุหนายก ” ในรัชส มัยพระราม าธิบดีที่ 2
ท ร ง จั ด ว า ง ร ะ เ บี ย บ ท า ง ด้ า น ก า ร ท ห า ร
มีการทาบัญชีคือการเกณฑ์คนเข้ารับราชการทหาร ผู้ชายอายุตั้งแต่ 13
ปี ขึ้ น ไ ป ถึ ง 6 0 ปี เ รี ย ก ว่ า ไ พ ร่ ห ล ว ง
เชื่อว่าต้องมีการศึกษาวิชาการทหารเป็นการศึกษาด้านพลศึกษาสาหรับผู้
ชาย ฝึกระเบียบวินัยเพื่อฝึกอบรมให้เป็นกาลังสาคัญของชาติ
สถานศึกษา
ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยแต่ที่แตกต่างออก
ไ ป ก็ คื อ มี “ โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี ”
เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดีย
วกันก็สอนวิชาสามัญด้วย
เนื้อหาวิชาที่ใช้ในการเรียนการสอน
1 . วิ ช า ส า มั ญ มี ก า ร เ รี ย น วิ ช า ก า ร อ่ า น เ ขี ย น เ ล ข
ใช ้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี (สอนโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน)
2. วิชาชีพเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สาหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน
แ ก ะ ส ลั ก แ ล ะ ช่ า ง ฝี มื อ ต่ า ง ๆ ที่ พ ร ะ ส ง ฆ์เ ป็ น ผู้ส อ น ใ ห้
ส่ ว น เ ด็ ก ผู้ห ญิ ง เ รี ย น รู้ก า ร บ ้า น ก า ร เ รื อ น จ า ก พ่ อ แ ม่
สมัยต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น
ดาราศาสตร์ การทาน้าประปา การทาปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์
ตารายา การก่อสร้าง ตาราอาหาร เป็นต้น
3 . ด้า น อั ก ษ ร ศ า ส ต ร์ มี ก า ร ศึ ก ษ า ด้า น อั ก ษ ร ศ า ส ต ร์
มี ว ร ร ณ ค ดี ห ล า ย เ ล่ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ ช่ น ส มุ ท ร โ ฆ ษ ค า ฉั น ท์
และกาศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น อีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต
ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน
4. วิชาจ ริยศึก ษ า เน ้น ก ารศึก ษ าด้าน พระพุทธศาส น าม าก ขึ้น
เ ช่ น ใ น ส มั ย พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู่ หั ว บ ร ม โ ก ศ
ทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาม าก
มีการกาหนดให้ผู้ชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้องเคยบวชเรียนมาแล้ว
เ กิ ด ป ร ะ เ พ ณี ก า ร อุ ป ส ม บ ท เ มื่ อ อ า ยุ ค ร บ 2 0 ปี
นอกจากนี้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนา
ท ร ง อุ ป ถั ม ภ์ พ ว ก ส อ น ศ า ส น า
เพราะทรงเห็นว่าศาสนาทุกศาสนาต่างสอนให้คนเป็นคนดี
5. วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย เน้นสอนด้านการทหาร
การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311 –
พ.ศ. 2411)
1. สภาพการจัดการศึกษา
ในสมัยกรุงธนบุรีเป็นระยะเวลาสั้นมาก คือ 15 ปี (พ.ศ. 2310-2326)
และบ ้านเมืองก็ยังอ ยู่ใน ระหว่างเสื่อมโทรม จากส งครามกั บพม่า
ฉะนั้น ส ภาพก ารศึก ษ าขอ งป ระ ชา ชน ค งไ ม่ไ ด้ฟื้ น ฟูเท่ า ที่ ค ว ร
วัดก็คงยังเป็นสถานศึกษาที่สาคัญสาหรับประชาชนเช่นเดียวกับสมัยกรุงศ
รีอยุธยา
ค รั้ น รั ช ส มั ย ร . 1 แ ล ะ ร . 2 บ ้า น เ มื อ ง ส ง บ สุ ข ม า ก ขึ้น
ไ ด้ มี ก า ร ฟื้ น ฟู ส ร ร พ วิ ท ย า ก า ร ต่ า ง ๆ
ที่ สู ญ ห า ย ไ ป ส มั ย เ สี ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ค รั้ ง ที่ 2
และใด้มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตมากขึ้นทั้งฝ่ ายวัดและฝ่ ายราชสานัก
จึงพบว่าได้มีการรวบรวมชาระ แต่งซ่อมเสริมวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายเช่น
ชาาระรวบรวมไตรปิฎก และชาระกฎหมายที่เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง
รวมทั้งวรรณกรรมสาคัญ ๆ เช่น ราชาธิราช สามก๊ก บทละครเรื่องรามเกียรติ์
บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่องอุณรุท และบทละครเรื่องสังข์ทอง ฯลฯ
(ในรัชส มัย ร.2 ไ ด้มีวรรณก รรม ประเภทบทละคร จ านวนม าก)
ซึ่งเหล่านี้แสดงให้เห็น ว่าประชาชนไ ด้มีการศึกษ าเล่าเรีย น ดีขึ้น
และคงมีสานักเรียนที่มีชื่อเสียงมากขึ้นทั้งในราชสานักและตามวัดต่าง ๆ
อีกประการหนึ่งน่าจะมีแบบเรียนที่เหมาะสมแก่การศึกษาเล่าเรียนในชั้นมูล
ฐาน จึงมีส่วนให้สร้างนักปราชญ์ขึ้นมามากมายในระยะเวลาอันรวดเร็ว
แต่อย่างไรก็ตามผลงานทางด้านวรรณกรรมในสมัยนี้มักจะเป็นผลงานของ
นั ก ป ร า ช ญ์ ใ น ร า ช ส า นั ก ม า ก ก ว่ า ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป
ส่ ว น วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ ล่ า เ รี ย น นั้ น
ยังไ ม่อ าจ จ ะส รุปใด้ว่ามีก ารพัฒนาดีขึ้นก ว่าส มัยก รุงศรีอยุธยา
กล่าวคือยังอยู่ในลักษณะวัดเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนเฉพาะกุลบุตรกุลธิดาที่ส
น ใ จ ห รื อ ใ ฝ่ ใ จ ที่ จ ะ ศึ ก ษ า เ ล่ า เ รี ย น
แต่การที่มีแบบเรียนที่เหมาะแก่การศึกษาเล่าเรียนภาษาไทย เช่น ประถม
ก . ก า แ ล ะ ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ต อ่ า น
ย่อมทาให้กุลบุตรกุลธิดาเรียนรู้การเขียนการอ่านได้รวดเร็วยิ่งขึ้น
ต่ อ ม า ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 3
การจัดการศึกษายังคงอยู่ในรูปแบบเดิมคือวัดยังคงมีบทบาทสาคัญในการ
จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ก่ ป ร ะ ช า ช น
ครั้นเมื่อได้มีการบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) รัชกาลที่ 3
ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะให้เป็นแหล่งความรู้ทั่วไปสาหรับประชาชนจึงโป
รดเกล้าให้จารึกบทกวีนิพนธ์และตาราแพทย์แผนโบราณของไทยซึ่งเป็นปั
จจัยหนึ่งที่ส่งเสริมให้ประชาชนใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนเพื่อที่จะได้มาศึ
ก ษ าหาความ รู้เพิ่ม เติม จ าก ส รรพ วิทยาก ารที่จ ารึก ไ ว ้เหล่านั้น
นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งวิชาการที่ประชาชนทั่วไปอาจจะแสวงหาได้ด้วยตน
เอ งเพราะเหตุว่าใน ส มัยนั้น คนไ ท ยมัก จ ะ ปิ ด บัง คว าม รู้กั น อ ยู่
ก า ร ที่ น า วิ ท ย า ก า ร ต่ า ง ๆ
มาจารึกไว ้ในที่เปิดเผยเช่นนี้ทาให้ประชาชนเริ่มเห็นประโยชน์ที่จะศึกษาเ
ล่าเรียนเพื่ออ่านเขียนหนังสือได้
รั ช ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 4
เริ่มเห็นความสาคัญในการศึกษาภาษาต่างประเทศซึ่งเป็นผลมาจากสมัยรั
ช ก า ล ที่ 2 ต อ น ป ล า ย พ . ศ 2 3 6 5
บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษอยากจะขยายการค้าขายมาถึงกรุงเทพ
ฯ ในครั้งนั้นการติดต่อค้าขายจาเป็นที่จะต้องมีการแปรผ่านล่ามถึง 2
ครั้งคืออังกฤษเป็นมลายูและมลายูเป็นไทยด้วยเหตุนี้เจ ้านายไทยจึงเริ่มเห็
นความสาคัญในก ารเรียน รู้ภาษ าอังก ฤษ โดยเฉพาะรัชก าลที่ 4
ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ตั้ง แ ต่ ส มั ย ที่ ท ร ง ผ น ว ช อ ยู่
ครั้นเมื่อพระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติพระองค์ก็ได้จ ้างแหม่มแอนนามาสอนภ
า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ก่ ร า ช โ อ ร ส
และราชธิดาในราชสานักแต่อย่างไรก็ตามการศึกษาของประชาชนก็คงอยู่ใ
นสภาพเดิมคือวัดเป็นผู้จัดการศึกษาตามสภาพที่อานวยและยังไม่เห็นถึงก
า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ดี ขึ้ น จ า ก ส มั ย ก่ อ น ๆ
ส่วนหมอศาสนาคริสต์กลุ่มแบบติสได้จัดโรงเรียนมิชชันนารีขึ้นมาและได้รั
บความสนใจจากชาวไทยพอสมควรแต่อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของ
กลุ่มสอนศาสนาคริสต์นี้เป็นผลให้เกิดการพัฒนาการศึกษาในสมัยรัชกาลที่
5 และเป็นการพัฒนาการศึกษาของไทยเข้าสู่ระบบโรงเรียน
ในการเรียนการสอนในระยะสมัยกรุงธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นนอ
ก จ า ก จ ะ ใ ช ้ จิ น ด า ม ณี ฉ บั บ
พระโหราธิบดีและจินดามณีฉบับสมัยพระเจ ้าบรมโกศแล้วปรากฏว่ามีหนังสื
อ แ บ บ เ รี ย น อื่ น ๆ
เพิ่มมาอีกหลายเล่มซึ่งจากในหนังสือบันทึกโบราณศึกษาบอกไว ้ว่าแบบเรี
ยนที่ศึกษากันในสมัยนี้มีอยู่ 5 เล่มคือประถม ก.กา สุบินทกุมาร
ประถม ม าลา ประถม จินดาม ณี เล่ม 1 ประถม จินดาม ณี เล่ม 2
ห นั ง สื อ ที่ ก ล่ า ว ข้า ง ต้น นี้ นั ก เ รี ย น จ ะ ต้อ ง เ รี ย น เ ป็ น ขั้ น ๆ
ขึ้ น ไ ป เ ริ่ ม ต้ น ด้ ว ย ป ร ะ ถ ม ก . ก า
ก่อนแล้วจึงจะอ่านสุบินทกุมารและเรียนประถมมาลาต่อจากนั้นจึงเรียนจิน
ดามณีเล่ม 1 ตามด้วยจินดามณีเล่ม 2 และหนังสืออ่านปร ะก อ บ
แ ต่ ก่ อ น ที่ จ ะ เ รี ย น ห นั ง สื อ ต่ า ง ๆ
นั้นครูจะต้องสอนให้อ่านบนกระดานดาและหัดเขียนตามตัวอย่างก่อนเรียก
ว่า นโม ก.ข. ในขั้นตอนนี้ไม่ต้องมีหนังสือเรียน
น อ ก จ าก นี้ยังอ าจ จ ะมีหนังสือ อื่นๆประก อ บอีก โดยเฉพาะ
กาพย์พระไชยสุริยาและหนังสือกลอนสวดอื่นๆเพื่อเป็นการทบทวนฝึกฝนก
า ร อ่ า น แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ป ด้ ว ย
ตัวหนังสือโบราณศึกษาได้กล่าวว่าหนังสืออ่านประกอบเพื่อให้นักเรียนอ่า
นหนังสือได้คล่องมีอีกหลายเล่ม เช่น เสือโค จันทโครพ อนิรุธ สมุทรโฆษ
เพชรมงกุฎ สังข์ทอง กากี และอื่นๆ
สรุปท้ายบท (สิ่งที่ควรจา)
- ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี แ ล ะ รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ต อ น ต้ น
วัดยังคงเป็ น ส ถาน ที่ศึก ษ าเล่าเ รียน ขอ งปร ะช าชน ทั่ ว ไ ป
พระภิกษุที่มีความรู้เป็นครูสอนหนังสือแก่กุลบุตรไทย
- สมัย ร.3 ได้สร้างจารึกวัดโพธิ์ (วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม )
เป็นแหล่งวิทยาการเป็นปัจจัยให้วิชาการของไทยแพร่หลายมากขึ้น
และไม่จาเป็นจะต้องปิดบังเหมือนสมัยก่อนหน้านี้
- โรงเรียนที่เป็นระบบของพวกมิชชันนารี เปิดครั้งแรกปลายรัชสมัย
ร.3 แล้วถูกปิด เปิดกิจการใหม่สมัย ร.4
- หนังสือแบบเรียนที่สาคัญสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน ได้แก่ จินดามณี
ประถม ก.กา (และ ประถม ก.กา หัดอ่าน) ประถมมาลา สุบินทกุมาร
ประถมจินดามณี เล่ม 2
- ป ร ะ ถ ม ก . ก า แ ต่ ง ขั้ น ต อ น ป ล า ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า
และมานิยมมากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน
- ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ด อ่ า น เ ป็ น ห นั ง สื อ อ่ า น ป ร ะ ก อ บ
แบบเสริมประสบการณ์คู่กับประถม ก.กา
- ประถม ก.กา เป็นหนังสือแบบเรียนที่ปรับปรุงจากจินดามณีให้ง่ายขึ้น
- ธรรมเนียมการประพันธ์ (ศิลปะการเรียบเรียง) หนังสือประถม ก.กา
เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ ง่ า ย คื อ แ ม่ ก . ก า เ ป็ น ต้น ไ ป
แต่ละแม่สะกดนั้นมีการเทรกบทประพันธ์ประเภทกาพย์เป็นการทบท
วนและเป็นแบบฝึกหัด
- ห นั ง สื อ ป ร ะ ถ ม ก . ก า
ใ น ต อ น ท้า ย ที่ ก ล่ า ว ถึง ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ท า ง ด้น อั ก ข ร วิ ธี นั้ น
เข้าใจว่าบางส่วนได้มีการคัดลอกเพิ่มเติมสมัยที่ฝรั่งเข้ามาอยู่ในกรุงเ
ทพฯ มากขึ้น และเริ่มสนใจศึกษาภาษาไทย
- ประถม ก.กา มีเรื่องเครื่องหมายวรรคตอนของอังกฤษด้วย
- ประถม ก .ก า หัดอ่าน แต่งขึ้นส มัยเดี ยวกับประถม ก .ก า
หรือในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน
- ประถม ก.กา หัดอ่าน แต่งเป็นกาพย์ล้วน ที่เรียกว่า "กลอนสวด"
- ประถม ก.กา หัดอ่านแต่งขึ้นหลังหนังสือกาพย์สุบิน ทกุม าร
เพราะมีการกล่าวถึงเรื่องสุบินทกุมาร
- ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ด อ่ า น
นอกจากจะเป็นหนังสืออ่านเสริมประสบการณ์แล้วยังสอนใจเด็กอีกด้
วย คือ ส อ นจ ริยธรรม ส อ บวัตรปฏิบัติต่อ พระภิก ษุ (ครู)
และสอนการทามาหากินอีกด้วย
- สุ บิ น ท กุ ม า ร เ ป็ น ห นั ง สื อ ป ร ะ เ ภ ท ก ล อ น ส ว ด
และนิยมนามาสวดในที่ประชุมชนและสวดฟังคนเดียวในสมัยก่อน
- ก า พ ย์ สุ บิ น แ ต่ ง ขึ้ น ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ต อ น ป ล า ย
และแพร่หลายมากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน
- ก า พ ย์เ รื่ อ ง สุ บิน เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร น า ม า ใ ห้เ ด็ ก อ่ า น ม า ก
เพระเป็นกลอนสวดมีจังหวะลีลาคล้ายกับกลอนประกอบการเล่นของเ
ด็ ก ๆ
และที่สาคัญมากเพราะตัวเอกของเรื่องเป็นเด็กที่เป็นแบบอย่างที่ดี
- เ นื้ อ เ รื่ อ ง สุ บิ น
มีส่วนในการ์ปลูกฝังทัศนคติของเด็กให้เสื่อมใสในพุทธศาสนา
- ประถมมาลา เชื่อกันว่าพระเทพโมลี ( ผึ้ง หรือพึ่ง) วัดราชบูรณะ
แต่งขึ้นในสมัย ร.3
- วิธีก า ร ป ร ะ พั น ธ์ป ร ะ ถ ม ม า ล า แ ต่ ง เ ป็ น ก า พ ย์ต ล อ ดเล่ม
เนื้อหากล่าวถึงกฎเกณฑ์ทางด้านอักขรวิธีไทย
- ใ น ต อ น ท้ า ย ข อ ง ห นั ง สื อ ป ร ะ ถ ม ม า ล า
ได้กล่าวถึงวิธีการแต่งคาประพันธ์เล็กน้อย (ฉันท-ลักษณ์)
- หนังสือประถมจินดามณี เล่ม 2 กรมหลวงวงศาธิราชสนิทแต่งขึ้น
เมื่อ พ.ศ. 2392
- ประถมจินดามณีเล่ม 2 แต่งเลียนแบบจินดามณีของพระโหราธิบดี
เพียงแต่ปรับปรุงให้ง่ายขึ้น
- เนื้อหาโดยทั่วไปคล้ายกลึงกับหนังสือแบบเรียนอื่น ๆ คือประถม
ก.กา ประถมมาลา
- หนังสือแบบเรียนที่นิยมใช ้มากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คือ
จินดามณีฉบับของพระโหราธิบดี
- ห นั ง สื อ แ บ บ เ รี ย น เ ล่ ม อื่ น ๆ ใ ช ้ กั น บ ้ า ง
แต่ยังถือจินดามณีฉบับของพระโหราธิบดี เป็นหลัก
- เมื่อนักเรียนอ่านหนังสือได้พอควรแล้ว ครูมักจะให้อ่านหนังสืออื่น ๆ
เพิ่มเติม ส่วนใหญ่จะเป็ นหนังสือที่เกี่ยวด้วยศาสนา ที่เรียกว่า
ธรรมนิทาน หรือชาดก
- บางสานักมีหนังสือวรรณคดีอื่น ๆ ก็นามาให้ลูกศิษย์ฝึกฝนในการอ่าน
เช่น สังข์ทอง ไกรทอง มณีพิชัย พระอภัยมณี กาพย์พระไชยสุริยา
ฯลฯ
เอกสารอ้างอิง
พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (2547). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/374332.
(วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
ประวัติปกครองคณะสงฆ์ไทย. (2551). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/reli/37.ht
m. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
มงคล สุตัญตั้งใจ. (2553). อีเลินนิ่ง: ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์
หรือตารับนางนพมาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.mtk.ac.th/ebook/forum_posts.asp?TID=1755&
PN=1. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
คนสมัยก่อนเขาเรียนวิชาอะไรกันบ้าง? ย้อนประวัติศาสตร์
การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา. (2561). [ออนไลน์].
เข้าถึงได้จาก : https://campus.campus-
star.com/variety/65904.html. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
การศึกสมัยโบราณ. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://sites.google.com/site/wanlop7777/kar- suk-thiy-ni-
xdit/ni-smay-xyuthya. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
https://www.baanjomyut.com/library_3/extension-
1/study_of_thailand/03.html (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
แบบเรียนสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 4.
(2550). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://old-book.ru.ac.th/e-
book/t/TH245(50)/TH245-3.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 26 สิงหาคม 2564)
ผ่าหนังสือ “แบบเรียน” ยุคสุโขทัยถึงคณะราษฎร
การศึกษาเจริญช้า เกี่ยวกับแบบเรียนไหม?. (2562).
[ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa-
mag.com/history/article_33105 (วันที่ค้นข้อมูล 27 สิงหาคม 2564)
สมาชิกในกลุ่ม
✘ 1. นางสาวชนิดา จาปาศรี รหัสนักศึกษา
6419050003
✘ 2. นายปิยะวัฒน์ รักราวี รหัสนักศึกษา 6419050006
✘ 3. นายวุฒิพงษ์ คงคาวงศ์ รหัสนักศึกษา
6419050011
✘ 4. นางสาวลดาวัลย์ สุวรรโณ รหัสนักศึกษา
6419050031
✘ 5. นายสมโภชน์ ไชยสิริวรากรณ์ รหัสนักศึกษา
6419050032

More Related Content

What's hot

บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี นายจักราวุธ คำทวี
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจkhuwawa2513
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกSomchart Phaeumnart
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
niralai
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
DuangdenSandee
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำPattanachai Jai
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
Supaporn Khiewwan
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
Pongpan Pairojana
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Prachyanun Nilsook
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
Thanawut Rattanadon
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
niralai
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
kashinova
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
Aon Narinchoti
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
neeranuch wongkom
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
Kull Ch.
 
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1pageใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
Prachoom Rangkasikorn
 

What's hot (20)

บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
บทที่ ๑ ๔ รายงานประเมินตนเองสถานศึกษาพอเพียง ปี ๕๗ จักราวุธ คำทวี
 
การวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจการวิจัยเชิงสำรวจ
การวิจัยเชิงสำรวจ
 
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิกM93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
M93โครงการชุมนุม วาดภาพกราฟิก
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
Cippa model
Cippa modelCippa model
Cippa model
 
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
การอ่านวรรณคดี ม.๕[1]
 
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำสำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
สำรวจความสะอาดของห้องน้ำ
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
โครงงานเเยมกล้วย(Complete)
 
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐานการวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
การวัดและประเมินผลตามการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
 
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
พุทธศาสนิกชนตัวอย่าง ส16101 สังคม ป.6
 
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
คำขอขมาพระอาจารย์และครูอาจารย์
 
บทไหว้ครู
บทไหว้ครูบทไหว้ครู
บทไหว้ครู
 
การแก้สมการ
การแก้สมการการแก้สมการ
การแก้สมการ
 
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้
 
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญบทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
บทที่ 1 ที่มาและความสำคัญ
 
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
บทที่ 3 วิธีการดำเนินงาน [โครงการอ่านหนังสือให้กับผู้พิการทางสายตา]
 
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
ตัวอย่าง 5 บท โครงงานคอมฯ
 
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1pageใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
ใบความรู้ ชาดก(มหาอุกกุสชาดก) ป.4+467+dltvsocp4+54soc p04 f14-1page
 

Similar to การศึกษาไทยในสมัยโบราณ

Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยhall999
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
sumanan vanict
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์Tongsamut vorasan
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวSRINAKARIN MOTHER PRINCESS SCHOOL
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
Chainarong Maharak
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
SakaeoPlan
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
wanpenrd
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1krunoree.wordpress.com
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
Rung Kru
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing
 

Similar to การศึกษาไทยในสมัยโบราณ (20)

พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรมพัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
พัฒนาการทางด้านสังคม วัฒนธรรม
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทยนำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
นำเสนอประวัติการศึกษาของไทย
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์เวสสันดรวิเคราะห์
เวสสันดรวิเคราะห์
 
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
9789740328667
97897403286679789740328667
9789740328667
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
Powerpoint.ppt พุทธศาสนากับวรรณคดี.ppt1
 
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทยการนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
การนำชาดกเข้ามาในประเทศไทย
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 

การศึกษาไทยในสมัยโบราณ

  • 1. การศึกษาไทยในสมัยโบราณ การศึกษาเป็นรากฐานที่มีความสาคัญที่สุดประการหนึ่งในการสร้างส รรค์ความ เจ ริญก ้าว หน ้าแ ล ะแก ้ไ ขปั ญ หา ต่า ง ๆ ใน สังคม ไ ด้ โดยเฉพาะระบบการจัดการศึกษาซึ่งเป็นตัวกาหนดหลักสูตร จุดมุ่งหมาย แ น ว น โ ย บ า ย ใ น ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เพื่อให้การศึกษาพัฒน าชีวิตของคนไ ปใน แน วทางที่พึงปร ะส งค์ สาหรับประเทศไทยมีวิวัฒนาการของการจัดการศึกษามาโดยตลอด อาจจะเป็นเพราะมีปัจจัยทั้งภายในและภายนอกประเทศทาให้สังคมมีการเ ป ลี่ ย น แ ป ล ง ก ล่ า ว คื อ ปัจจัยภายในเกิดจากความต้องการพัฒนาสังคมให้มีความเจริญและทันสมั ย ส่วนปัจจัยภายนอกเกิดจากกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ทั้ ง ท า ง ด้ า น เ ศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ ก า ร เ มื อ ง ตลอดจนการติดต่อสื่อสารกันทาให้ประเทศไทยต้องปรับตัวให้ทันสมัยเพื่อ ความ อ ยู่รอ ดและเกิดก ารพัฒนาให้ทัดเทียม กับนานาประ เ ท ศ ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทาให้การจัดการศึกษาของไทยมีวิวัฒนาการเรื่อยมา ส า ห รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ใ น ส มั ย โ บ ร า ณ นั้ น การศึกษาสมัยนี้เป็นการศึกษาแบบสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีที่มีมาแต่เดิ ม จาเป็นที่คนไทยในสมัยนั้นต้องขวนขวายหาความรู้จากผู้รู้ในชุมชนต่างๆ ซึ่งการศึกษาในสมัยนี้มีบ ้านและวัดเป็นศูนย์กลางของการศึกษา เช่น บ ้านเป็ นส ถานที่ อ บรมกล่อมเกลาจิตใจของส มาชิกภายในบ ้าน โดยมีพ่อ และแม่ทาหน ้าที่ใน การถ่ายทอ ดอ าชีพและอ บรมลูกๆ วั ง เ ป็ น ส ถ า น ที่ ร ว ม เ อ า นั ก ป ร า ช ญ์ ส า ข า ต่ า ง ๆ ม า เ ป็ น ขุ น น า ง รั บ ใ ช ้ เ บื้ อ ง พ ร ะ ยุ ค ล บ า ท โดยเฉพาะงานช่างศิลปหัตถกรรมเพื่อสร้างพระราชวังและประกอบพระราช พิ ธี ต่ า ง ๆ ซึ่ ง เ ป็ น ส ถ า น ที่ ที่ ถ่ า ย ท อ ด ค ว า ม รู้ ต่ า ง ๆ จ า ก ค น รุ่ น ห นึ่ ง ไ ป สู่ ค น อี ก รุ่ น ห นึ่ ง ส่ ว น วั ด เ ป็ น ส ถ า น ที่ ป ร ะ ก อ บ พิ ธี ก ร ร ม ท า ง ศ า ส น า พระจ ะทาหน ้าที่ใน ก ารอ บรม สั่งส อ น ธรรม ะแก่พุทธศาส นิก ชน โดยเฉพาะผู้ช ายไ ทยมี โอ ก าส ไ ด้ศึก ษ า ธร รม ะแ ละ บ วช เ รี ย น ในสังคมไทยจึงนิยมให้ผู้ชายบวชเรียนก่อนแต่งงานทาให้มีคุณธรรมและจิ ต ใ จ มั่ น ค ง ส า ม า ร ถ ค ร อ ง เ รื อ น ไ ด้ อ ย่ า ง มี ค ว า ม สุ ข นอกจากนี้ผู้ที่มาบวชเรียนนอกจากมาแสวงหาความรู้เรื่องธรรมะในวัดแล้ว
  • 2. ยังสามารถแลกเปลี่ยนและถ่ายทอดความรู้ในด้านศิลปวิทยาการต่าง ๆ ที่ เ ค ย ไ ด้ อ บ ร ม จ า ก ค ร อ บ ค รั ว ม า จะเห็นได้ว่าสถาบันทั้งสามนี้ล้วนแต่มีบทบาทในการศึกษาอบรมสาหรับคน ไทยในสมัยนั้นในการถ่ายทอดความรู้จากคนรุ่นหนึ่งไปสู่คนอีกรุ่นหนึ่ง น อ ก จ า ก นี้ ใ น ชุ ม ช น ต่ า ง ๆ ก็มีภูมิปัญญามากมายซึ่งมีปราชญ์แต่ละสาขาวิชา เช่น ด้านการก่อสร้าง หัตถกรรม ศิลปกรรม ประติมากรรม และแพทย์แผนโบราณ เป็นต้น ส่วนพระมหากษัตริย์ในสมัยนี้มีพระราชกรณียกิจอันเป็นประโยชน์ต่อการจั ด ก า ร ศึ ก ษ า ใ น ส มั ย นั้ น แ ล ะ มี อิ ท ธิ พ ล ต่ อ ม า ก ล่ า ว คื อ พ่อขุนรามคาแหงมหาราชและพระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระเจ ้าลิไท) ซึ่งพระราชกรณียกิจที่สาคัญ เช่น การประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นครั้งแรก โ ด ย ท ร ง ดั ด แ ป ล ง ม า จ า ก ตั ว ห นั ง สื อ ข อ ม แ ล ะ ม อ ญ อันเป็นรากฐานด้านอักษรศาสตร์จนนามาสู่การพัฒนาปรับปรุงเป็นอักษรไ ท ย ใ น ปั จ จุ บั น ศิ ล า จ า รึ ก ห ลั ก ที่ 1 จึงเป็นศิลาจารึกที่จารึกเป็นอักษรไทยให้ความรู้เกี่ยวกับประวัติความเป็ นม า ข อ ง สุ โ ข ทั ย ใ น ด้ า น ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร์ ส่วนการบารุงพุทธศาสนาในรัชกาลพระมหาธรรมราชาที่ 1 ( พระเจ ้าลิไท) ท า ใ ห้ พ ร ะ พุ ท ธ ศ า ส น า เ จ ริ ญ รุ่ ง เ รื อ ง ม า ก ใ น ส มั ย นี้ ด้วยเหตุผลที่ว่าพระองค์ทรงสละราชย์สมบัติออกบวชเป็นพระภิกษุชั่วระยะ ห นึ่ ง นั บ เ ป็ น แ บ บ อ ย่ า ง ข อ ง ก า ร บ ว ช เ รี ย น ใ น ส มั ย ต่ อ ม า การที่พระองค์ทรงจัดระเบียบการปกครองคณะสงฆ์โดยกาหนดให้การปกค รองสงฆ์ออกเป็นสองคณะ กล่าวคือ คณะอรัญวาสีและคณะคามวาสี แ ล ะ ก า ร ที่ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง พ ร ะ นิพ น ธ์ห นั ง สื อ ไ ต ร ภู มิพ ร ะ ร่ ว ง ซึ่งเป็นหนังสือเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาที่มุ่งเน ้นการสอนศีลธรรมให้ราษฎร ป ร ะ พ ฤ ติ แ ต่ สิ่ ง ที่ ดี ง า ม ล ะ เ ว ้ น ค ว า ม ชั่ ว ผู้ป ร ะ พ ฤ ติ ดี จ ะ ไ ด้ขึ้ น ส ว ร ร ค์ ผู้ป ร ะ พ ฤ ติชั่ ว จ ะ ต้อ ง ต ก น ร ก ซึ่ ง พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง บ ร ร ย า ย ไ ว ้ อ ย่ า ง น่ า ส ะ พ รึ ง ก ลั ว นับเป็นวรรณคดีร้อยแก ้วที่มีความสาคัญที่สุดในสมัยสุโขทัย โดยกล่าวถึง โ ล ก ม นุ ษ ย์
  • 3. สวรรค์และนรกเป็นวรรณคดีที่ได้รับการกล่าวอ ้างถึงในวรรณกรรมต่างๆ แ ล ะ เ ป็ น วรรณคดีที่มีความสาคัญต่อคาสอนในพุทธศาสนามาจนถึงปัจจุบันนี้ การศึกษาในสมัยสุโขทัย (พ.ศ. 1781 – พ.ศ. 1921) มีลักษณะ ดังนี้ 1. รูปแบบการจัดการศึกษา แบ่งออกเป็น 2 ฝ่าย 1 . 1 ฝ่ า ย อ า ณ า จั ก ร แ บ่ ง อ อ ก เ ป็ น 2 ส่ ว น ไ ด้แ ก่ ส่วนที่หนึ่งเป็นการจัดการศึกษาสาหรับผู้ชายที่เป็นทหาร เช่น มวย กระบี่ ก ร ะ บ อ ง แ ล ะ อ า วุ ธ ต่ า ง ๆ ต ล อ ด จ น วิธี ก า ร บั ง คั บ ม ้า ช ้า ง ตาราพิชัยสงครามซึ่งเป็ นวิชาชั้นสูงของผู้ที่จะเป็ นแม่ทัพนายก อ ง และส่วนที่สอง พลเรือน เป็นการจัดการศึกษาให้แก่พลเรือนผู้ชายเรียน คั ม ภี ร์ ไ ต ร เ พ ท โ ห ร า ศ า ส ต ร์ เ ว ช ก ร ร ม ฯ ล ฯ ส่วนพลเรือนผู้หญิงให้เรียนวิชาช่างสตรี การปัก การย้อม การเย็บ ก า ร ถัก ท อ น อ ก จ า ก นั้ น มี ก า ร อ บ ร ม บ่ม นิสั ย กิริย า ม า ร ย า ท การทาอาหารการกินเพื่อเตรียมตัวเป็นแม่บ ้านแม่เรือนที่ดีต่อไป 1.2 ฝ่ ายศาสนจักร เป็ นการศึกษาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา การจัดการศึกษาในสมัยสุโขทัยจึงเป็นการจัดการศึกษาที่เน ้นพระพุทธศา ส น า แ ล ะ ศิ ล ป ศ า ส ต ร์ สมัยนี้พ่อขุนรามคาแหงได้นาช่างชาวจีนเข้ามาเผยแพร่การทาถ ้วยชามสัง ค โ ล ก ใ ห้ แ ก่ ค น ไ ท ย และหลังจากที่ทรงคิดประดิษฐ์อักษรไทยแล้วงานด้านอักษรศาสตร์เจริญขึ้ น มีการสอนภาษาไทยในพระบรมมหาราชวัง มีวรรณคดีที่สาคัญ คือ หนังสือไตรภูมิพระร่วงและตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ 2. สถานศึกษา สาหรับสถานศึกษาในสมัยนี้ ประกอบด้วย 2 . 1 บ ้ า น เป็นสถาบันสังคมพื้นฐานที่ช่วยทาหน ้าที่ในการถ่ายทอดความรู้ด้านอาชีพ ต า ม บ ร ร พ บุ รุ ษ ก า ร ก่ อ ส ร้ า ง บ ้ า น เ รื อ น
  • 4. ศิลปะการป้องกันตัวสาหรับลูกผู้ชายและการบ ้านการเรือน เช่น การจีบพลู การทาอาหารและการทอผ้าสาหรับลูกผู้หญิง เป็นต้น 2.2 สานักสงฆ์ เป็นสถานศึกษาที่สาคัญของราษฎรทั่วไป เพื่อทาหน้าที่ขัดเกลาจิตใจ และแสวงหาธรรมะต่างๆ 2 . 3 ส า นั ก ร า ช บั ณ ฑิ ต เป็นบ ้านของบุคคลที่ประชาชนยกย่องว่ามีความรู้สูง บางคนก็เป็นขุนนาง มี ย ศ ถ า บ ร ร ด า ศั ก ดิ์ บ า ง ค น ก็ เ ค ย บ ว ช เ รี ย น แ ล้ว จึง มี ค วาม รู้ แตกฉานในแขนงต่างๆ 2 . 4 พ ร ะ ร า ช ส า นั ก เป็นสถานศึกษาของพระราชวงศ์และบุตรหลานของขุนนางในราชสานัก มีพราหมณ์หรือราชบัณฑิตเป็นครูสอน 3. วิชาที่สอน ไม่ได้กาหนดตายตัว สามารถแบ่งออกได้ดังนี้ 3 . 1 วิ ช า ค ว า ม รู้ ส า มั ญ สันนิษฐานว่าในช่วงต้นสุโขทัยใช ้ภาษาบาลีและสันสกฤตในการศึกษา ต่อมาในสมัยหลังจากที่พ่อขุนรามคาแหงได้ทรงประดิษฐ์อักษรไทยขึ้นใช ้เ มื่อ พ.ศ. 1826 จึงมีการเรียนภาษาไทยกัน 3 . 2 วิช า ชีพ เ รี ย น กั น ต า ม แ บ บ อ ย่ า ง บ ร ร พ บุ รุ ษ ตระกูลใดมีความชานาญด้านใดลูกหลานจะมีความถนัดและประกอบอาชีพ ต า ม แ บ บ อ ย่ า ง กั น ม า เ ช่ น ตระกูลใดเป็นแพทย์ก็จะสอนบุตรหลานให้เป็นแพทย์ 3.3 วิชาจ ริยศึก ษ า ส อ น ให้เคารพนับถือ บรรพบุรุษ ก ารรู้จัก ก ตัญญูรู้คุณ ก ารรัก ษ าขน บธรรม เนียมประเพณี ดั้งเดิม และการรู้จักทาบุญให้ทาน ถือศีลในระหว่างเข้าพรรษา เป็นต้น 3.4 วิชาศิลปะป้องกันตัว เป็นการสอนให้รู้จักการใช ้อาวุธ การบังคับสัตว์ที่ใช ้เป็นพาหนะในการออกศึกและตาราพิชัยสงคราม
  • 5. ความรู้เพิ่มเติมจากคาศัพท์ในเนื้อหา 1 . ค ณ ะ อ รั ญ ว า สี ( อ่ า น ว่ า อ ะ - รั น - ย ะ - ว า - สี ) เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในป่ าห่างชุมชน หมายถึง ภิ ก ษุ ผู้ อ ยู่ ใ น ป่ า ห รื อ ที่ เ รี ย ก โ ด ย ทั่ ว ไ ป ว่ า พ ร ะ ป่ า ซึ่งมีกิจวัตรประจาวันเน ้นหนักไปในทางวิปัสสนา ธุระคือ อบรมจิต เ จ ริ ญ ปั ญ ญ า นุ่ ง ห่ ม ด้ ว ย ผ้ า สี ป อ น ห รื อ สี ก รั ก มุ่ ง ก า ร ป ฏิ บั ติ ธ ร ร ม แ ล ะ ก า ร เ ผ ย แ ผ่ เ ป็ น ห ลั ก ไ ม่เน ้น งาน ด้าน ก ารบริหารปก ครอ ง ก ารศึก ษ าพระปริยัติธรรม และสาธารณูปการหรือการก่อสร้างพัฒนาวัด ปัจจุบัน “อรัญวาสี” ถูกนามาใช ้เป็นสร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะขึ้นไปเ พื่อแสดงให้รู้ว่าเป็นพระป่า 2 . ค ณ ะ ค า ม ว า สี ( อ่ า น ว่ า ค า - ม ะ - ว า - สี ) เป็นชื่อเรียกคณะสงฆ์โบราณคณะหนึ่งซึ่งตั้งอยู่ในหมู่บ ้าน ชุมชน หรือ ตัวเมือง หมายถึง ภิกษุที่พานักอยู่ตามวัดในหมู่บ ้านหรือในตัวเมือง มี กิ จ วั ต ร ป ร ะ จ า เ น้ น ห นั ก ไ ป ใ น ท า ง คั น ถ ธุ ร ะ คือศึกษาเล่าเรียนพระปริยัติธรรม มีภารกิจคือการบริหารปกครอง การเผยแผ่ธรรม และการก่อสร้างปฏิสังขรณ์ วัดวาอารามเป็นหลัก เรียกกันทั่วไปว่า พระบ ้าน พระเมือง ปัจจุบัน “คามวาสี” ถูกนามาใช ้เป็น สร้อยนามสมณศักดิ์ของพระสงฆ์ระดับพระราชาคณะชั้นราชขึ้นไป เ พื่ อ แ ส ด ง ใ ห้รู้ว่า เ ป็ น พ ร ะ บ ้า น ทั้ง พ ร ะ ส ง ฆ์ฝ่ า ย ม ห า นิ ก า ย และพระสงฆ์ฝ่ายธรรมยุติกนิกาย
  • 6. 3 . คั ม ภี ร์ไ ต ร เ พ ท คื อ คั ม ภี ร์ที่ ก ล่ า ว ถึง พ ร ะ เ ว ท 3 อ ย่ า ง ซึ่งเป็นคัมภีร์ศักดิ์สิทธิ์สูงสุดของศาสนาพราหมณ์ ได้แก่ 3.1 ฤคเวท ประมวลบทสวดสรรเสริญเทพเจ ้า 3.2 ยชุรเวท ประกอบด้วยบทสวดอ ้อนวอนในพิธีบูชายัญต่างๆ 3 . 3 ส า ม เ ว ท ประมวลบทเพลงขับสาหรับสวดหรือร้องเป็นทานองในพิธีบูชายัญ 4. หนังสือตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ เรียกอีกชื่อนึงว่า เรื่องนางนพมาศ เป็นหนังสือที่เชื่อกันว่าแต่งขึ้นในสมัยสุโขทัย ผู้แต่งคือ นางนพมาศ หรือ " ท้า ว ศ รี จุ ฬ า ลั ก ษ ณ์ " แ ต่ ห นั ง สื อ อ า จ ช า รุ ด เ สี ย ห า ย และได้มีการแต่งขึ้นใหม่ในสมัยรัตนโกสินทร์ แต่คงเนื้อหาเดิมของโบราณ เพิ่งมีการชาระและตีพิม พ์เผยแพร่เป็ น ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2457 เริ่ม ต้นว่าด้วยก าเนิดมนุษย์ ชาติภาษ า พร้อ ม แนะนาตัวผู้เขียน “ข้าน้อยผู้ได้นามบัญญัติชื่อว่า ศรีจุฬาลักษณ์” เล่าถึงกาเนิดอาณาจักรและ จ าก นั้นก็ส รรเส ริญพระเกียรติส ม เด็จ พร ะร่ว งเจ ้า เล่าถึงผู้ค น ชาติตระกูลใน สุโขทัย และมาถึงประวัติส่วน ตัวขอ งน างน พม าศ พ ร ะ ม โ ห ส ถ พ ร า ห ม ณ์ บิดาขอ งน า ง น พ ม า ศไ ด้เล่ า นิท า น ส อ น ใจ แก่ น า งส าม สี่ เ รื่ อ ง จ า ก นั้ น น า ง เ ร ว ดี ม า ร ด า ใ ห้ โ อ ว า ท ส อ น ม า ร ย า ท แ ล้ ว น า ไ ป ถ ว า ย ตั ว พ ร ะ ร่ ว ง เ จ ้ า ช่วงต่อมานางนพมาศเล่าถึงพิธีพราหมณ์ทั้งสิ้น 12 พิธี เริ่มตั้งแต่เดือน 12 พิ ธี จ อ ง เ ป รี ย ง ต ร ง กั บ ช่ ว ง “ วั น เ พ็ ญ เ ดื อ น 1 2 เป็นนักขัตฤกษ์ชักโคมลอยโคม” ซึ่งต่อมาได้เปลี่ยนชื่อเรียกม าเป็ น “ ล อ ย ก ร ะ ท ง ท ร ง ป ร ะ ที ป ” และสืบทอดกันมาเป็นพิธีลอยกระทงจนถึงปัจจุบัน การศึกษาไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310) มีลักษณะ ดังนี้ ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ซึ่ง เ ป็ น ร า ช ธ า นี อั น ย า ว น า น ถึง 4 1 7 ปี มีความเจริญทั้งทางด้านการเมือง การปกครอง ระบบเศรษฐกิจและสังคม
  • 7. สาหรับการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวที่เกิดขึ้นนั้นส่วนหนึ่งก็มีผลมาจากชนชาติ ต่ า ง ๆ ในเอเชียที่มีการเข้ามาติดต่อค้าขายและเข้ามาเพื่อตั้งหลักแหล่งหากินใน ดินแดนไทย เช่น จีน มอญ ญวน เขมร อินเดีย และอาหรับ เป็นต้น และตั้งแต่รัชสมัยพระรามาธิบดีที่ 2 ชาติตะวันตกได้เริ่มเข้ามาติดต่อค้าขาย เช่น ชาติโปรตุเกสเข้ามาเป็นชาติแรก และมีชนชาติอื่น ๆ ติดตามมา เช่น ฮอลันดา ฝรั่งเศส อังกฤษ เป็นต้น มีผลให้การศึกษาไทยมีความเจริญขึ้น โดยเฉพาะในรัชสมัยสมเด็จพระเจ ้าปราสาททองและสมเด็จพระนารายณ์ม หาราช สาหรับในสมัยก รุงศรีอ ยุธยา (พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310) การศึกษาได้มีการเปลี่ยนรูปแบบต่างไปจากการศึกษาในสมัยกรุงสุโขทัยเ ล็ก น้อ ย จ ะมีก ารเรียน ก ารส อ น ใน วิช า ภาษ า บ าลี ภาษ าไ ท ย และวิชาสามัญขั้นต้น โดยได้มีการแบ่งสานักเรียนออกเป็น 2 แห่ง ได้แก่ วัด ที่เปิดสอนนักเรียนของบรรดาบุตรหลานขุนนางและราษฎรทั่วไป และสานักราชบัณฑิตที่เปิดสอนแต่เฉพาะเจ ้านายและบุตรหลานข้าราชการ เ ท่ า นั้ น ส า ห รั บ ก า ร ศึ ก ษ า ทั่ ว ไ ป ที่ เ ปิ ด ส อ น ใ น วั ด ราษฎรจะนิยมพาบุตรหลานไ ปฝากกับพระ เพื่อเล่าเรียนหนังสือ พ ร ะ ก็ จ ะ รั บ เ ด็ ก ๆ ที่ ผู้ป ก ค ร อ ง ม า ฝ า ก ไ ว ้เ ป็ น ลู ก ศิ ษ ย์ เพื่อทาการอบรมในทางศาสนา สอนหนังสือภาษาไทย ภาษาบาลี ตามสมควร เมื่อเด็กๆ เติบโตขึ้นอายุครบ 20 ปี บริบูรณ์ (ผู้ชาย) ก็ จ ะ ต้ อ ง ท า ก า ร อุ ป ส ม บ ท เ ป็ น พ ร ะ ภิ ก ษุ ซึ่งถือ ไ ด้ว่าเป็ น ประเพณี ที่ถูก ปฏิบัติสืบต่อ กัน ม าอ ย่างยาวนาน โ ด ย สื บ เ นื่ อ ง ม า จ า ก แ ผ่ น ดิ น ใ น ส มั ย พ ร ะ เ จ ้า บ ร ม โ ก ศ เ พ ร า ะ พ ร ะ อ ง ค์ท ร ง ก ว ด ขั น ก า ร ศึก ษ า ท า ง พ ร ะ ศ า ส น า ม า ก บุ ต ร ห ล า น ข้า ร า ช ก า ร ค น ใ ด ที่ จ ะ ถ ว า ย ตั ว เ ข้า รั บ ร า ช ก า ร ถ ้า ยั ง ไ ม่ ไ ด้อุ ป ส ม บ ท ก็ ไ ม่ ท ร ง แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้เ ป็ น ข้า ร า ช ก า ร และประเพณีนี้ยังถือได้ว่าเป็นตัวกาหนดที่ทาให้ทุกวัดในสมัยนั้นต้องเป็นโ รงเรียน และพระภิกษุทุกรูปจะมีหน ้าที่เป็นอาจารย์ผู้สอนหนังสือเด็กๆ ไ ป ด้ ว ย แ ต่ ค า ว่ า “ โ ร ง เ รี ย น ” ใ น เ ว ล า นั้น มี ลั ก ษ ณะ ต่ า ง กั บ โ รง เ รี ย นใ น ปั จ จุ บัน นี้ ก ล่ า วคือ
  • 8. จ ะ ไ ม่ มี อ า ค า ร ป ลู ก ขึ้ น ส า ห รั บ ใ ช ้เ ป็ น ที่ เ รี ย น โ ด ย เ ฉ พ า ะ หากเป็นศิษย์ของใครก็สอนอยู่ที่กุฎิของตนตามสะดวกและความพอใจ พ ร ะ ภิ ก ษุ รู ป ห นึ่ ง ๆ มี ศิษ ย์ไ ม่ กี่ ค น เ พ ร า ะ จ ะ ต้อ ง บิณ ฑ บ า ต ม า เ ลี้ ย ง ดู ศิษ ย์ ด้ว ย ช า ว ยุ โ ร ป ที่ เ ข้ า ม า เ มื อ ง ไ ท ย ใ น ส มั ย ต่ า ง ๆ ได้เล่าเรื่องการศึกษาของไทยไว ้ในหนังสือที่พวกเขาเหล่านั้นแต่งขึ้น ยกตัวอย่างเช่น เมอร์ซิเออร์ เดอะ ลาลูแบร์ ราชทูตผู้หนึ่งในคณะฑูตฝรั่งเศสครั้งที่ 2 ของพระเจ ้าหลุยส์ที่ 14 ซึ่งเข้ามาเจริญทางพระราชไมตรีในแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราช ไ ด้ ก ล่ า ว ไ ว ้ ใ น ห นั ง สื อ ร า ช อ า ณ า จั ก ร ส ย า ม ว่ า " พ ร ะ ส อ น ห นั ง สื อ ใ ห้ แ ก่ เ ย า ว ช น ดังที่ข้าพเจ ้าได้เล่าแล้วและท่านอธิบายคาสั่งสอนแก่ราษฎร์ตามที่เขียนไว ้ ในหนังสือบาลี" หรือจะเป็ นหนังสือ “ราชอาณาจักรไทยหรือประเทศสยาม” ของ ม อ ง เ ซ น เ ย อ ร์ ปั ล เ ล อ กัว ซ์ สั ง ฆ ร า ช แ ห่ ง มั ล ล อ ส ใ น ค ณ ะ ส อ น ศ า ส น า โ ร มั น ค า ท อ ลิ ก ข อ ง ฝ รั่ ง เ ศ ส ประจาประเทศไทยซึ่งพิมพ์ออกจาหน่าย เมื่อ พ.ศ. 2397 กล่าวว่า " ภ า ย ห ลั ง ห รื อ บ า ง ที ก่ อ น พิ ธี โ ก น จุ ก บิดาม ารดาส่งบุตรขอ งตน ไ ปอ ยู่วัดเพื่อ เรียน อ่าน และเขียน ณ ที่ นั่ น เ ด็ ก เ ห ล่ า นี้ รั บ ใ ช ้ พ ร ะ พ า ย เ รื อ ใ ห้ พ ร ะ แ ล ะ รั บ ป ร ะ ท า น อ า ห า ร ซึ่ง บิณ ฑ บ า ต ม า ไ ด้ร่ ว ม กั บ พ ร ะ ด้ว ย พระส อ น อ่าน หนังสือ ให้เพีย งเล็ก น ้อ ย วัน ล ะค รั้ง หรือ ส อ ง ค รั้ง ทั้งนี้เพื่อเป็นการตอบแทน ส่วนการศึกษาของเด็กหญิงมีการสอนให้ทาครัว ตาน้าพริก ทาขนมมวนบุหรี่และจีบพลู” ต่ อ ม า ใ น รั ช ส มั ย ข อ ง ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ไ ท ย ก็ ไ ด้ มี ค ว า ม เ จ ริ ญ ม า ก ยิ่ ง ขึ้ น เพราะได้มีการเรียนการสอนทั้งภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน ตามบันทึกแม ้กระทั่งนายประตูก็สามารถแต่งโคลงได้ แ ล ะ ไ ด้ป ร า ก ฏ ต า ม พ ง ศ า ว ด า ร ว่า ส ม เ ด็ จ เ จ้า ฟ ้ า ต รัส น้อย โอรสองค์หนึ่งของ สมเด็จพระเพทราชา หรือ
  • 9. ส ม เ ด็ จ พ ร ะ ม ห า บุรุ ษ วิสุ ท ธิเ ด ช อุด ม บ ร ม จัก ร พ ร ร ดิศ ร บ ร ม น า ถ บ พิ ต ร ส ม เ ด็ จ พ ร ะ พุ ท ธ เ จ้ า อ ยู่ หั ว (พระมหากษัตริย์ไทยรัชกาลที่ 28) ได้ทรงศึกษาภาษาต่างๆ จนชานาญทั้งภาษาบาลี สันสกฤต ฝรั่ง เขมร ลาว ญวน พม่า รามัญ แ ล ะ จี น ทั้ ง ยั ง ท ร ง ศึ ก ษ า ด้ า น วิ ช า โ ห ร า ศ า ส ต ร์ และแพทยศาสตร์จากอาจารย์ต่าง ๆ เป็นอันมาก ใ น ส่ ว น ข อ ง ส า นั ก เ รี ย น น อ ก จ า ก วัด ใ น บ า ง รั ช ก า ล ยั งมี สานักราชบัณฑิต และโรงเรียนมิชชันนารี - สานักราชบัณฑิต ก็จะมีพวกราชบัณฑิตที่เป็นอาจารย์สอนหนังสือคอยสอนหนังสือให้แก่ลูก ศิษย์ ซึ่งสานักราชบัณฑิตนี้มีต่อ มาจน ถึงสมัยก รุงรัตน โก สิน ทร์ แ ม ้ ใ น ต้ น รั ช ก า ล ที่ 5 ก็ยังมีราชบัณฑิตที่เป็นอาจารย์สอนหนังสือพระเณรอยู่ในวัดพระศรีรัตนศา ส ดาราม และวัดอื่น ๆ จ นเมื่อ มีโรงเรียนของกระทรวงธรรมการ และโรงเรียนพระปริยัติธรรมแพร่หลายแล้ว สานักราชบัณฑิตจึงได้หมดไป - โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดีย ว กั น ก็ ส อ น วิ ช า ส า มั ญ ด้ ว ย ชาวยุโรปที่เข้ามาค้าขายและได้สร้างโรงเรียนมิชชันนารีขึ้นเป็นชาติแรก คื อ ช า ว โ ป ร ตุ เ ก ส ในระยะนั้นไทยเป็นประเทศเดียวในแถบเอเชียตะวันออกที่ไม่รังเกียจศาสน า ใ ด ศ า ส น า ห นึ่ ง เ ล ย พวกฝรั่งเห็นเป็นโอกาสที่จะเกลี้ยกล่อมคนไทยให้เข้ารีตได้มากกว่าที่อื่น ดั ง นั้ น บ า ท ห ล ว ง จึ ง ไ ด้ เ ดิ น ท า ง เ ข้ า ม า ม า ก ขึ้ น พระเจ ้าแผ่นดินก็ทรงให้ความอุปถัมภ์พวกบาทหลวงถึงแก่พระราชทานทรั พ ย์ ใ ห้ ส ร้ า ง โ บ ส ถ์ ก็ มี ดั ง เ ช่ น สมเด็จพระนารายณ์มหาราชที่ได้พระราชทานทรัพย์ให้แก่บาทหลวงฝรั่งเศ ส เป็นต้น ในเวลาต่อมา เมื่อวิชาภาษาไทยได้มีการวางรากฐานที่ดีแล้ว พระโหราธิบดี ก็ได้ประพันธ์หนังสือ “จินดามณี” ขึ้นมาในปี พ.ศ. 2 2 1 5 เ พื่ อ ถ ว า ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช
  • 10. โดยมีเนื้อหาครอบคลุมในเรื่องของการใช ้สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ การแจกลูก (การสะกดคา) การผันอักษร อักษรศัพท์ อักษรเลข แ ล ะ ก า ร ส ะ ก ด ก า รั น ต์ ฯ ล ฯ และได้ถูกนามาใช ้เป็นแบบเรียนเล่มแรกของไทยสืบต่อมาเป็นเวลานาน รูปแบบการจัดการศึกษาไทยในสมัยกรุงศรีอยุธยา (พ.ศ. 1893 – พ.ศ. 2310) มีลักษณะ ดังนี้ 1. การศึกษาวิชาสามัญ เ น้น ก า ร อ่ า น เ ขี ย น เ รี ย น เ ล ข อั น เ ป็ น วิช า พื้ น ฐ า น ส า ห รั บ ก า ร ป ร ะ ก อ บ สั ม ม า อ า ชี พ ข อ ง ค น ไ ท ย โดยได้มีการใช ้หนังสือจินดามณีในการเรียนการสอน 2. การศึกษาทางด้านศาสนา วัดยังมีบทบาทม าก ในส มัยส ม เด็จ พระเจ ้าอ ยู่หัวบรม โก ศ พ ร ะ อ ง ค์ ท ร ง ส่ ง เ ส ริ ม พุ ท ธ ศ า ส น า โดยทรงวางกฎเกณฑ์ไว ้ว่าประชาชนคนใดไม่เคยบวชเรียนเขียนอ่านมาก่อ น จ ะ ไ ม่ ท ร ง แ ต่ ง ตั้ ง ใ ห้ เ ป็ น ข้ า ร า ช ก า ร แ ล ะ ใ น ส มั ย ส ม เ ด็ จ พ ร ะ น า ร า ย ณ์ ม ห า ร า ช เ ป็ น ต้ น ม า มีนักสอนศาสนาหรือมิชชันนารีได้จัดตั้งโรงเรียนสอนหนังสือและวิชาอื่นๆ ขึ้ น เ รี ย ก โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี นี้ ว่ า “ โ ร ง เ รี ย น ส า ม เ ณ ร ” เพื่อชักจูงให้ชาวไทยหันไปนับถือศาสนาคริสต์ 3. การศึกษาทางด้านภาษาศาสตร์และวรรณคดี ปรากฎว่า มีการสอนทั้งภาษาไทยบาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า ม อ ญ แ ล ะ ภ า ษ า จี น ในรัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์ม หาราชมีวรรณคดีหลายเล่ม เช่น เ สื อ โ ค ค า ฉั น ท์ ส มุ ท ร โ ฆ ษ ค า ฉั น ท์ อ นิ รุ ท ธ์ ค า ฉั น ท์ และกาสรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น 4. การศึกษาของผู้หญิง
  • 11. มีการเรียนวิชาชีพ การเรือนการครัว ทอผ้า ตลอดจนกิริยามารยาท เ พื่ อ ป้ อ ง กั น ไ ม่ ใ ห้เ ขี ย น เ พ ล ง ย า ว โ ต้ ต อ บ กั บ ผู้ช า ย แต่ผู้หญิงที่อยู่ในราชตระกูลเริ่มเรียนภาษาไทยตลอดทั้งการประพันธ์ด้วย ในสมัยนี้โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่นาวิธีการทาขนมหวานที่ใช ้ไข่มาเป็นส่วน ผ ส ม เ ช่ น ท อ ง ห ยิ บ ฝ อ ย ท อ ง มาเผยแพร่จนขนมเหล่านี้เป็นเอกลักษณ์ขนมหวานของไทยในปัจจุบัน 5. การศึกษาวิชาการด้านทหาร มีการจัดระเบียบการปกครองในแผ่นดินสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถท ร ง แ ย ก ร า ช ก า ร ฝ่ า ย ท ห า ร แ ล ะ ฝ่ า ย พ ล เ รื อ น อ อ ก จ า ก กั น หัวหน้าฝ่ ายทหารเรียก ว่า “สมุหกลาโหม” ฝ่ ายพลเรือนเรียก ว่า “ส มุหนายก ” ในรัชส มัยพระราม าธิบดีที่ 2 ท ร ง จั ด ว า ง ร ะ เ บี ย บ ท า ง ด้ า น ก า ร ท ห า ร มีการทาบัญชีคือการเกณฑ์คนเข้ารับราชการทหาร ผู้ชายอายุตั้งแต่ 13 ปี ขึ้ น ไ ป ถึ ง 6 0 ปี เ รี ย ก ว่ า ไ พ ร่ ห ล ว ง เชื่อว่าต้องมีการศึกษาวิชาการทหารเป็นการศึกษาด้านพลศึกษาสาหรับผู้ ชาย ฝึกระเบียบวินัยเพื่อฝึกอบรมให้เป็นกาลังสาคัญของชาติ สถานศึกษา ในสมัยกรุงศรีอยุธยานี้ยังคงเหมือนกับสมัยสุโขทัยแต่ที่แตกต่างออก ไ ป ก็ คื อ มี “ โ ร ง เ รี ย น มิ ช ชั น น า รี ” เป็นโรงเรียนที่ชาวตะวันตกได้เข้ามาสร้างเพื่อเผยแพร่ศาสนาและขณะเดีย วกันก็สอนวิชาสามัญด้วย เนื้อหาวิชาที่ใช้ในการเรียนการสอน 1 . วิ ช า ส า มั ญ มี ก า ร เ รี ย น วิ ช า ก า ร อ่ า น เ ขี ย น เ ล ข ใช ้แบบเรียนภาษาไทยจินดามณี (สอนโคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน) 2. วิชาชีพเรียนรู้กันในวงศ์ตระกูล สาหรับเด็กผู้ชายได้เรียนวิชาวาดเขียน แ ก ะ ส ลั ก แ ล ะ ช่ า ง ฝี มื อ ต่ า ง ๆ ที่ พ ร ะ ส ง ฆ์เ ป็ น ผู้ส อ น ใ ห้ ส่ ว น เ ด็ ก ผู้ห ญิ ง เ รี ย น รู้ก า ร บ ้า น ก า ร เ รื อ น จ า ก พ่ อ แ ม่
  • 12. สมัยต่อมาหลังชาติตะวันตกเข้ามาแล้วมีการเรียนวิชาชีพชั้นสูงด้วย เช่น ดาราศาสตร์ การทาน้าประปา การทาปืน การพาณิชย์ แพทยศาสตร์ ตารายา การก่อสร้าง ตาราอาหาร เป็นต้น 3 . ด้า น อั ก ษ ร ศ า ส ต ร์ มี ก า ร ศึ ก ษ า ด้า น อั ก ษ ร ศ า ส ต ร์ มี ว ร ร ณ ค ดี ห ล า ย เ ล่ ม ที่ เ กิ ด ขึ้ น เ ช่ น ส มุ ท ร โ ฆ ษ ค า ฉั น ท์ และกาศรวลศรีปราชญ์ เป็นต้น อีกทั้งมีการสอนภาษาไทย บาลี สันสกฤต ฝรั่งเศส เขมร พม่า มอญ และจีน 4. วิชาจ ริยศึก ษ า เน ้น ก ารศึก ษ าด้าน พระพุทธศาส น าม าก ขึ้น เ ช่ น ใ น ส มั ย พ ร ะ เ จ ้ า อ ยู่ หั ว บ ร ม โ ก ศ ทรงกวดขันในเรื่องการศึกษาหลักธรรมของพระพุทธศาสนาม าก มีการกาหนดให้ผู้ชายที่เข้ารับราชการทุกคนจะต้องเคยบวชเรียนมาแล้ว เ กิ ด ป ร ะ เ พ ณี ก า ร อุ ป ส ม บ ท เ มื่ อ อ า ยุ ค ร บ 2 0 ปี นอกจากนี้ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์ทรงให้เสรีภาพไม่กีดกันศาสนา ท ร ง อุ ป ถั ม ภ์ พ ว ก ส อ น ศ า ส น า เพราะทรงเห็นว่าศาสนาทุกศาสนาต่างสอนให้คนเป็นคนดี 5. วิชาพลศึกษา ยังคงเหมือนสมัยสุโขทัย เน้นสอนด้านการทหาร การศึกษาในสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ตอนต้น (พ.ศ. 2311 – พ.ศ. 2411) 1. สภาพการจัดการศึกษา
  • 13. ในสมัยกรุงธนบุรีเป็นระยะเวลาสั้นมาก คือ 15 ปี (พ.ศ. 2310-2326) และบ ้านเมืองก็ยังอ ยู่ใน ระหว่างเสื่อมโทรม จากส งครามกั บพม่า ฉะนั้น ส ภาพก ารศึก ษ าขอ งป ระ ชา ชน ค งไ ม่ไ ด้ฟื้ น ฟูเท่ า ที่ ค ว ร วัดก็คงยังเป็นสถานศึกษาที่สาคัญสาหรับประชาชนเช่นเดียวกับสมัยกรุงศ รีอยุธยา ค รั้ น รั ช ส มั ย ร . 1 แ ล ะ ร . 2 บ ้า น เ มื อ ง ส ง บ สุ ข ม า ก ขึ้น ไ ด้ มี ก า ร ฟื้ น ฟู ส ร ร พ วิ ท ย า ก า ร ต่ า ง ๆ ที่ สู ญ ห า ย ไ ป ส มั ย เ สี ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ค รั้ ง ที่ 2 และใด้มีนักปราชญ์ราชบัณฑิตมากขึ้นทั้งฝ่ ายวัดและฝ่ ายราชสานัก จึงพบว่าได้มีการรวบรวมชาระ แต่งซ่อมเสริมวรรณกรรมต่าง ๆ มากมายเช่น ชาาระรวบรวมไตรปิฎก และชาระกฎหมายที่เรียกว่า กฎหมายตราสามดวง รวมทั้งวรรณกรรมสาคัญ ๆ เช่น ราชาธิราช สามก๊ก บทละครเรื่องรามเกียรติ์ บทละครเรื่องอิเหนา บทละครเรื่องอุณรุท และบทละครเรื่องสังข์ทอง ฯลฯ (ในรัชส มัย ร.2 ไ ด้มีวรรณก รรม ประเภทบทละคร จ านวนม าก) ซึ่งเหล่านี้แสดงให้เห็น ว่าประชาชนไ ด้มีการศึกษ าเล่าเรีย น ดีขึ้น และคงมีสานักเรียนที่มีชื่อเสียงมากขึ้นทั้งในราชสานักและตามวัดต่าง ๆ อีกประการหนึ่งน่าจะมีแบบเรียนที่เหมาะสมแก่การศึกษาเล่าเรียนในชั้นมูล ฐาน จึงมีส่วนให้สร้างนักปราชญ์ขึ้นมามากมายในระยะเวลาอันรวดเร็ว แต่อย่างไรก็ตามผลงานทางด้านวรรณกรรมในสมัยนี้มักจะเป็นผลงานของ นั ก ป ร า ช ญ์ ใ น ร า ช ส า นั ก ม า ก ก ว่ า ป ร ะ ช า ช น ทั่ ว ไ ป ส่ ว น วิ ธี ก า ร จั ด ก า ร ศึ ก ษ า เ ล่ า เ รี ย น นั้ น ยังไ ม่อ าจ จ ะส รุปใด้ว่ามีก ารพัฒนาดีขึ้นก ว่าส มัยก รุงศรีอยุธยา กล่าวคือยังอยู่ในลักษณะวัดเป็นที่ศึกษาเล่าเรียนเฉพาะกุลบุตรกุลธิดาที่ส น ใ จ ห รื อ ใ ฝ่ ใ จ ที่ จ ะ ศึ ก ษ า เ ล่ า เ รี ย น แต่การที่มีแบบเรียนที่เหมาะแก่การศึกษาเล่าเรียนภาษาไทย เช่น ประถม ก . ก า แ ล ะ ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ต อ่ า น ย่อมทาให้กุลบุตรกุลธิดาเรียนรู้การเขียนการอ่านได้รวดเร็วยิ่งขึ้น ต่ อ ม า ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 3 การจัดการศึกษายังคงอยู่ในรูปแบบเดิมคือวัดยังคงมีบทบาทสาคัญในการ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า แ ก่ ป ร ะ ช า ช น
  • 14. ครั้นเมื่อได้มีการบูรณะวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม (วัดโพธิ์) รัชกาลที่ 3 ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะให้เป็นแหล่งความรู้ทั่วไปสาหรับประชาชนจึงโป รดเกล้าให้จารึกบทกวีนิพนธ์และตาราแพทย์แผนโบราณของไทยซึ่งเป็นปั จจัยหนึ่งที่ส่งเสริมให้ประชาชนใส่ใจในการศึกษาเล่าเรียนเพื่อที่จะได้มาศึ ก ษ าหาความ รู้เพิ่ม เติม จ าก ส รรพ วิทยาก ารที่จ ารึก ไ ว ้เหล่านั้น นอกจากนี้ยังเป็นแหล่งวิชาการที่ประชาชนทั่วไปอาจจะแสวงหาได้ด้วยตน เอ งเพราะเหตุว่าใน ส มัยนั้น คนไ ท ยมัก จ ะ ปิ ด บัง คว าม รู้กั น อ ยู่ ก า ร ที่ น า วิ ท ย า ก า ร ต่ า ง ๆ มาจารึกไว ้ในที่เปิดเผยเช่นนี้ทาให้ประชาชนเริ่มเห็นประโยชน์ที่จะศึกษาเ ล่าเรียนเพื่ออ่านเขียนหนังสือได้ รั ช ส มั ย รั ช ก า ล ที่ 4 เริ่มเห็นความสาคัญในการศึกษาภาษาต่างประเทศซึ่งเป็นผลมาจากสมัยรั ช ก า ล ที่ 2 ต อ น ป ล า ย พ . ศ 2 3 6 5 บริษัทอินเดียตะวันออกของอังกฤษอยากจะขยายการค้าขายมาถึงกรุงเทพ ฯ ในครั้งนั้นการติดต่อค้าขายจาเป็นที่จะต้องมีการแปรผ่านล่ามถึง 2 ครั้งคืออังกฤษเป็นมลายูและมลายูเป็นไทยด้วยเหตุนี้เจ ้านายไทยจึงเริ่มเห็ นความสาคัญในก ารเรียน รู้ภาษ าอังก ฤษ โดยเฉพาะรัชก าลที่ 4 ส า ม า ร ถ เ รี ย น รู้ภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ ไ ด้ตั้ง แ ต่ ส มั ย ที่ ท ร ง ผ น ว ช อ ยู่ ครั้นเมื่อพระองค์ขึ้นเสวยราชสมบัติพระองค์ก็ได้จ ้างแหม่มแอนนามาสอนภ า ษ า อั ง ก ฤ ษ แ ก่ ร า ช โ อ ร ส และราชธิดาในราชสานักแต่อย่างไรก็ตามการศึกษาของประชาชนก็คงอยู่ใ นสภาพเดิมคือวัดเป็นผู้จัดการศึกษาตามสภาพที่อานวยและยังไม่เห็นถึงก า ร พั ฒ น า ก า ร ศึ ก ษ า ที่ ดี ขึ้ น จ า ก ส มั ย ก่ อ น ๆ ส่วนหมอศาสนาคริสต์กลุ่มแบบติสได้จัดโรงเรียนมิชชันนารีขึ้นมาและได้รั บความสนใจจากชาวไทยพอสมควรแต่อย่างไรก็ตามการจัดการศึกษาของ กลุ่มสอนศาสนาคริสต์นี้เป็นผลให้เกิดการพัฒนาการศึกษาในสมัยรัชกาลที่ 5 และเป็นการพัฒนาการศึกษาของไทยเข้าสู่ระบบโรงเรียน ในการเรียนการสอนในระยะสมัยกรุงธนบุรีถึงรัตนโกสินทร์ตอนต้นนอ ก จ า ก จ ะ ใ ช ้ จิ น ด า ม ณี ฉ บั บ
  • 15. พระโหราธิบดีและจินดามณีฉบับสมัยพระเจ ้าบรมโกศแล้วปรากฏว่ามีหนังสื อ แ บ บ เ รี ย น อื่ น ๆ เพิ่มมาอีกหลายเล่มซึ่งจากในหนังสือบันทึกโบราณศึกษาบอกไว ้ว่าแบบเรี ยนที่ศึกษากันในสมัยนี้มีอยู่ 5 เล่มคือประถม ก.กา สุบินทกุมาร ประถม ม าลา ประถม จินดาม ณี เล่ม 1 ประถม จินดาม ณี เล่ม 2 ห นั ง สื อ ที่ ก ล่ า ว ข้า ง ต้น นี้ นั ก เ รี ย น จ ะ ต้อ ง เ รี ย น เ ป็ น ขั้ น ๆ ขึ้ น ไ ป เ ริ่ ม ต้ น ด้ ว ย ป ร ะ ถ ม ก . ก า ก่อนแล้วจึงจะอ่านสุบินทกุมารและเรียนประถมมาลาต่อจากนั้นจึงเรียนจิน ดามณีเล่ม 1 ตามด้วยจินดามณีเล่ม 2 และหนังสืออ่านปร ะก อ บ แ ต่ ก่ อ น ที่ จ ะ เ รี ย น ห นั ง สื อ ต่ า ง ๆ นั้นครูจะต้องสอนให้อ่านบนกระดานดาและหัดเขียนตามตัวอย่างก่อนเรียก ว่า นโม ก.ข. ในขั้นตอนนี้ไม่ต้องมีหนังสือเรียน น อ ก จ าก นี้ยังอ าจ จ ะมีหนังสือ อื่นๆประก อ บอีก โดยเฉพาะ กาพย์พระไชยสุริยาและหนังสือกลอนสวดอื่นๆเพื่อเป็นการทบทวนฝึกฝนก า ร อ่ า น แ ล ะ ไ ด้ รั บ ค ว า ม เ พ ลิ ด เ พ ลิ น ไ ป ด้ ว ย ตัวหนังสือโบราณศึกษาได้กล่าวว่าหนังสืออ่านประกอบเพื่อให้นักเรียนอ่า นหนังสือได้คล่องมีอีกหลายเล่ม เช่น เสือโค จันทโครพ อนิรุธ สมุทรโฆษ เพชรมงกุฎ สังข์ทอง กากี และอื่นๆ สรุปท้ายบท (สิ่งที่ควรจา) - ส มั ย ก รุ ง ธ น บุ รี แ ล ะ รั ต น โ ก สิ น ท ร์ ต อ น ต้ น วัดยังคงเป็ น ส ถาน ที่ศึก ษ าเล่าเ รียน ขอ งปร ะช าชน ทั่ ว ไ ป พระภิกษุที่มีความรู้เป็นครูสอนหนังสือแก่กุลบุตรไทย
  • 16. - สมัย ร.3 ได้สร้างจารึกวัดโพธิ์ (วัดเชตุพนวิมลมังคลาราม ) เป็นแหล่งวิทยาการเป็นปัจจัยให้วิชาการของไทยแพร่หลายมากขึ้น และไม่จาเป็นจะต้องปิดบังเหมือนสมัยก่อนหน้านี้ - โรงเรียนที่เป็นระบบของพวกมิชชันนารี เปิดครั้งแรกปลายรัชสมัย ร.3 แล้วถูกปิด เปิดกิจการใหม่สมัย ร.4 - หนังสือแบบเรียนที่สาคัญสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน ได้แก่ จินดามณี ประถม ก.กา (และ ประถม ก.กา หัดอ่าน) ประถมมาลา สุบินทกุมาร ประถมจินดามณี เล่ม 2 - ป ร ะ ถ ม ก . ก า แ ต่ ง ขั้ น ต อ น ป ล า ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า และมานิยมมากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน - ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ด อ่ า น เ ป็ น ห นั ง สื อ อ่ า น ป ร ะ ก อ บ แบบเสริมประสบการณ์คู่กับประถม ก.กา - ประถม ก.กา เป็นหนังสือแบบเรียนที่ปรับปรุงจากจินดามณีให้ง่ายขึ้น - ธรรมเนียมการประพันธ์ (ศิลปะการเรียบเรียง) หนังสือประถม ก.กา เ ริ่ ม ตั้ ง แ ต่ ง่ า ย คื อ แ ม่ ก . ก า เ ป็ น ต้น ไ ป แต่ละแม่สะกดนั้นมีการเทรกบทประพันธ์ประเภทกาพย์เป็นการทบท วนและเป็นแบบฝึกหัด - ห นั ง สื อ ป ร ะ ถ ม ก . ก า ใ น ต อ น ท้า ย ที่ ก ล่ า ว ถึง ห ลั ก เ ก ณ ฑ์ ท า ง ด้น อั ก ข ร วิ ธี นั้ น เข้าใจว่าบางส่วนได้มีการคัดลอกเพิ่มเติมสมัยที่ฝรั่งเข้ามาอยู่ในกรุงเ ทพฯ มากขึ้น และเริ่มสนใจศึกษาภาษาไทย - ประถม ก.กา มีเรื่องเครื่องหมายวรรคตอนของอังกฤษด้วย - ประถม ก .ก า หัดอ่าน แต่งขึ้นส มัยเดี ยวกับประถม ก .ก า หรือในระยะเวลาไล่เลี่ยกัน - ประถม ก.กา หัดอ่าน แต่งเป็นกาพย์ล้วน ที่เรียกว่า "กลอนสวด" - ประถม ก.กา หัดอ่านแต่งขึ้นหลังหนังสือกาพย์สุบิน ทกุม าร เพราะมีการกล่าวถึงเรื่องสุบินทกุมาร - ป ร ะ ถ ม ก . ก า หั ด อ่ า น นอกจากจะเป็นหนังสืออ่านเสริมประสบการณ์แล้วยังสอนใจเด็กอีกด้ วย คือ ส อ นจ ริยธรรม ส อ บวัตรปฏิบัติต่อ พระภิก ษุ (ครู) และสอนการทามาหากินอีกด้วย
  • 17. - สุ บิ น ท กุ ม า ร เ ป็ น ห นั ง สื อ ป ร ะ เ ภ ท ก ล อ น ส ว ด และนิยมนามาสวดในที่ประชุมชนและสวดฟังคนเดียวในสมัยก่อน - ก า พ ย์ สุ บิ น แ ต่ ง ขึ้ น ส มั ย ก รุ ง ศ รี อ ยุ ธ ย า ต อ น ป ล า ย และแพร่หลายมากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนตัน - ก า พ ย์เ รื่ อ ง สุ บิน เ ห ม า ะ แ ก่ ก า ร น า ม า ใ ห้เ ด็ ก อ่ า น ม า ก เพระเป็นกลอนสวดมีจังหวะลีลาคล้ายกับกลอนประกอบการเล่นของเ ด็ ก ๆ และที่สาคัญมากเพราะตัวเอกของเรื่องเป็นเด็กที่เป็นแบบอย่างที่ดี - เ นื้ อ เ รื่ อ ง สุ บิ น มีส่วนในการ์ปลูกฝังทัศนคติของเด็กให้เสื่อมใสในพุทธศาสนา - ประถมมาลา เชื่อกันว่าพระเทพโมลี ( ผึ้ง หรือพึ่ง) วัดราชบูรณะ แต่งขึ้นในสมัย ร.3 - วิธีก า ร ป ร ะ พั น ธ์ป ร ะ ถ ม ม า ล า แ ต่ ง เ ป็ น ก า พ ย์ต ล อ ดเล่ม เนื้อหากล่าวถึงกฎเกณฑ์ทางด้านอักขรวิธีไทย - ใ น ต อ น ท้ า ย ข อ ง ห นั ง สื อ ป ร ะ ถ ม ม า ล า ได้กล่าวถึงวิธีการแต่งคาประพันธ์เล็กน้อย (ฉันท-ลักษณ์) - หนังสือประถมจินดามณี เล่ม 2 กรมหลวงวงศาธิราชสนิทแต่งขึ้น เมื่อ พ.ศ. 2392 - ประถมจินดามณีเล่ม 2 แต่งเลียนแบบจินดามณีของพระโหราธิบดี เพียงแต่ปรับปรุงให้ง่ายขึ้น - เนื้อหาโดยทั่วไปคล้ายกลึงกับหนังสือแบบเรียนอื่น ๆ คือประถม ก.กา ประถมมาลา - หนังสือแบบเรียนที่นิยมใช ้มากในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น คือ จินดามณีฉบับของพระโหราธิบดี - ห นั ง สื อ แ บ บ เ รี ย น เ ล่ ม อื่ น ๆ ใ ช ้ กั น บ ้ า ง แต่ยังถือจินดามณีฉบับของพระโหราธิบดี เป็นหลัก - เมื่อนักเรียนอ่านหนังสือได้พอควรแล้ว ครูมักจะให้อ่านหนังสืออื่น ๆ เพิ่มเติม ส่วนใหญ่จะเป็ นหนังสือที่เกี่ยวด้วยศาสนา ที่เรียกว่า ธรรมนิทาน หรือชาดก
  • 18. - บางสานักมีหนังสือวรรณคดีอื่น ๆ ก็นามาให้ลูกศิษย์ฝึกฝนในการอ่าน เช่น สังข์ทอง ไกรทอง มณีพิชัย พระอภัยมณี กาพย์พระไชยสุริยา ฯลฯ เอกสารอ้างอิง พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. (2547). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.gotoknow.org/posts/374332. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564) ประวัติปกครองคณะสงฆ์ไทย. (2551). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.satit.up.ac.th/BBC07/AroundTheWorld/reli/37.ht m. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564)
  • 19. มงคล สุตัญตั้งใจ. (2553). อีเลินนิ่ง: ตารับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ หรือตารับนางนพมาศ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.mtk.ac.th/ebook/forum_posts.asp?TID=1755& PN=1. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564) คนสมัยก่อนเขาเรียนวิชาอะไรกันบ้าง? ย้อนประวัติศาสตร์ การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://campus.campus- star.com/variety/65904.html. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564) การศึกสมัยโบราณ. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/wanlop7777/kar- suk-thiy-ni- xdit/ni-smay-xyuthya. (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564) การศึกษาในสมัยกรุงศรีอยุธยา. (2561). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.baanjomyut.com/library_3/extension- 1/study_of_thailand/03.html (วันที่ค้นข้อมูล 16 สิงหาคม 2564) แบบเรียนสมัยธนบุรีและรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ 1 - รัชกาลที่ 4. (2550). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://old-book.ru.ac.th/e- book/t/TH245(50)/TH245-3.pdf (วันที่ค้นข้อมูล 26 สิงหาคม 2564) ผ่าหนังสือ “แบบเรียน” ยุคสุโขทัยถึงคณะราษฎร การศึกษาเจริญช้า เกี่ยวกับแบบเรียนไหม?. (2562). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.silpa- mag.com/history/article_33105 (วันที่ค้นข้อมูล 27 สิงหาคม 2564) สมาชิกในกลุ่ม ✘ 1. นางสาวชนิดา จาปาศรี รหัสนักศึกษา 6419050003 ✘ 2. นายปิยะวัฒน์ รักราวี รหัสนักศึกษา 6419050006
  • 20. ✘ 3. นายวุฒิพงษ์ คงคาวงศ์ รหัสนักศึกษา 6419050011 ✘ 4. นางสาวลดาวัลย์ สุวรรโณ รหัสนักศึกษา 6419050031 ✘ 5. นายสมโภชน์ ไชยสิริวรากรณ์ รหัสนักศึกษา 6419050032