SlideShare a Scribd company logo
1
สาระที่ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว 3.1
เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง
อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้
ประโยชน์
ตัวชี้วัด
ป.5
1. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียวการนา
ความร้อน การนาไฟฟ้า และ ความหนาแน่น
2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนาวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน
ป.6
1. ทดลองและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
2. จาแนกสารเป็นกลุ่ม โดยใช้สถานะหรือเกณฑ์ที่กาหนด
3. ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกันโดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง
การระเหิด การระเหยแห้ง
4. สารวจและจาแนกประเภทของสารต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์
ของสารเป็นเกณฑ์
5. อภิปรายการเลือกใช้ สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย
มาตรฐาน ว 3.2
เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มี
กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
1. ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ
2. วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป
3. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
2
สาระที่ 3
สารและสมบัติของสาร
1. สมบัติของวัสดุ
แนวความคิดหลัก
วัสดุมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุที่แสดง
ว่าวัสดุชนิดหนึ่งเหมือนหรือแตกต่างจากวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ชนิดนั้น ๆ เช่น ความแข็ง ความเหนียว ความ
หนาแน่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้า เราจึงนาวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน
สาระสาคัญ
1.1 สมบัติของวัสดุด้านความแข็ง
วัสดุในสถานะของแข็ง มีสมบัติด้านความแข็งแตกต่างกัน
เมื่อนาวัสดุหนึ่งขีดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง แล้วทาให้วัสดุนั้นเกิดรอยแสดงว่า วัสดุที่ถูกขีดมีความแข็งน้อยกว่า
วัสดุที่ใช้ขีด แต่ถ้าขีดแล้วไม่เกิดรอยแสดงว่าวัสดุที่ถูกขีด มีความแข็งมากกว่าวัสดุที่ใช้ขีด เช่น การใช้เหรียญขีดยาง
แล้วเกิดรอย แต่เมื่อนาไปขีดอะลูมิเนียมแล้ว ไม่เกิดรอยแสดงว่าเหรียญมีความแข็งมากกว่ายาง แต่มีความแข็งน้อย
กว่าอะลูมิเนียม
สมบัติด้านความแข็งของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้มากมาย เช่น เหล็กใช้ทามีดหั่น
ผักหั่นเนื้อได้ เพราะเหล็กมีความแข็งมากกว่าผักและเนื้อ ใช้เพชรทาเครื่องมือตัดกระจกได้ เพราะเพชรมีความแข็ง
มากกว่ากระจก วัสดุแต่ละชนิดมีความแข็งไม่เท่ากัน โดยวัสดุที่มีความแข็งมากที่สุดคือเพชร
วัสดุที่แข็งที่สุด คือ เพชร
นะคะเพื่อน ๆ
วัสดุ 5 ชนิดนี้ถ้าอยากรู้เพื่อน ๆ
ลองใช้เงินเหรียญขูดนะคะ
3
1.2 สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว
สาระสาคัญ
วัสดุแต่ละชนิดมีความเหนียวไม่เท่ากัน โดยวัสดุที่มีความเหนียวมากคือ วัสดุที่สามารถทนแรงดึงหรือรับ
น้าหนักได้มากแล้วขาด วัสดุที่มีความเหนียวน้อย คือ วัสดุที่สามารถทนแรงดึงหรือรับน้าหนักได้น้อยแล้วขาด เช่น
เส้นเอ็นเหนียวกว่าเส้นด้าย เพราะเส้นเอ็นทนต่อแรงกระทามากกว่าเส้นด้าย
สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ใช้เส้นเอ็นทาเบ็ดตกปลา เพราะ
เส้นเอ็นมีความเหนียวมาก สามารถทนแรงดึงของปลาได้มาก นอกจากนี้เรายังใช้เชือกลากสิ่งของที่มีมวลมาก ๆ หรือ
ในการยกของที่มีมวลมากเกินกว่าคานจะยกได้ เรานิยมใช้โซ่ล่ามสิ่งของนั้น แล้วใช้เครื่องจักรยกของจากที่หนึ่งไปวาง
อีกที่หนึ่ง เพราะโซ่มีความเหนียวมากกว่าเชือก จึงใช้ยกของที่มีมวลมากได้ดีกว่าเชือก
รูปต้นข้าว รูปไก่ รูปงู รูปเหยี่ยว
ผู้ผลิต ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 1 ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 2
จากภาพเราจะพบว่า ไก่กินข้าวเป็นอาหาร งูกินไก่เป็นอาหาร และเหยี่ยวกินงูเป็นอาหารอีกทอดหนึ่ง
การกินต่อกันเป็นทอดๆ เช่นนี้เรียกว่า โซ่อาหาร
เพื่อน ๆ คิดว่าเชือก หรือเส้น
เอ็น มีความเหนียวมากกว่า
กันเอ่ย?
ถ้าเพื่อน ๆ อยากทราบว่า
อะไรเหนียวกว่ากัน เราทา
การทดลองดังภาพค่ะ
4
1.3 สมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น
สาระสาคัญ
สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ หมายถึง การออกแรงกระทาต่อวัสดุ แล้วทาให้วัสดุเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด และเมื่อ
หยุดออกแรงกระทาคืนสู่สภาพเดิม
วัสดุที่ถูกกระทาแล้วเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด และเมื่อหยุดออกแรงกระทาก็คืนสภาพเดิม เรียกว่า วัสดุนั้น
มีสภาพยืดหยุ่น ถ้าออกแรงกระทาแล้ววัสดุเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด แต่เมื่อหยุดออกแรงกระทาวัสดุไม่คืนสภาพเดิม
เรียกว่า วัสดุนั้นไม่มีสภาพยืดหยุ่น
วัสดุแต่ละชนิดมีสภาพยืดหยุ่นไม่เท่ากัน เช่น เส้นเอ็นมีสภาพยืดหยุ่นมากกว่าแถบยางยืด
สมบัติด้านความยืดหยุ่นของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เช่น
* ใช้แถบยางยืดทาขอบกางเกง /ใช้รัดสิ่งของ
* ใช้เส้นเอ็นขึงทาไม้เทนนิสหรือใช้ทาไม้แบดมินตัน
* ใช้สปริงเป็นส่วนประกอบของปากกา /ที่นอนสปริง
วัสดุ ของใช้ต่าง ๆ เหล่านี้
ล้วนใช้วัสดุที่มี
สภาพยืดหยุ่น
ครับ
5
1.4 สมบัติของวัสดุด้านการนาความร้อน
สาระสาคัญ
สมบัติของวัสดุด้านการนาความร้อน จาแนกออกได้ 2 ประเภท
1. วัสดุที่ความร้อนผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนาความร้อน ส่วนใหญ่เป็นโลหะ เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม
เหล็ก
2. วัสดุที่ความร้อนผ่านได้ไม่ดีหรือไม่สามารถผ่านได้ เรียกว่า ฉนวนความร้อน เช่น ไม้ แก้ว พลาสติก
ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านวัสดุจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่า เช่น จาก
บริเวณที่มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส
ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านวัสดุต่าง ๆ ได้ไม่เท่ากัน เช่น ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านเหล็กได้ดีกว่ายาง
สมบัติด้านการนาความร้อนของสาร สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ได้แก่
* การนาวัสดุที่เป็นตัวนาความร้อน มาทาภาชนะหุงต้ม เช่น หม้ออะลูมิเนียม
กระทะอะลูมิเนียมหรือกระทะเหล็ก
* การนาวัสดุที่เป็นฉนวนความร้อนมาทาเป็นหูภาชนะ เพื่อสะดวกในการจับถือ เช่น ไม้
พลาสติก
การถ่ายโอนความร้อน
เมื่อวัสดุ 2 ชนิดหรือบริเวณ 2 บริเวณ ที่มีอุณหภูมิต่างกันสัมผัสกัน จะมีการถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้น โดย
การถ่ายโอนความร้อนมี 3 วิธีคือ
1. การนาความร้อน คือการถ่ายโอนความร้อนผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง จากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่
บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่า โดยตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่
2. การพาความร้อน คือการถ่ายโอนความร้อนผ่านตัวกลาง ที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยตัวกลางที่ได้รับ
ความร้อน จะเคลื่อนที่พาความร้อนไปด้วย
3. การแผ่รังสี คือการถ่ายโอนความร้อนโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง การดูดกลืนความร้อนจากการแผ่รังสี
ขึ้นอยู่กับ
- สีของวัสดุ โดยวัสดุสีเข้มจะดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าวัสดุสีอ่อน เช่น สีดาจะดูดกลืนความร้อน
ได้ดีกว่าวัสดุสีขาว
- ผิววัสดุ โดยวัสดุผิวขรุขระจะดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าวัสดุผิวเรียบและขัดมัน
วัสดุที่นาความร้อนได้ดีย่อมจะนาไฟฟ้าได้ดีด้วย
เพื่อน ๆ คิดว่า ดินสอ กับช้อน
ในภาพ นาความร้อนหรือเป็น
ฉนวนความร้อนครับ
ถ้าวัสดุที่นาความร้อนได้ดี
ดินน้ามันก็จะหล่นก่อนครับ
อย่าลืมว่าต้องใช้น้าร้อนนะครับ
6
1.5 สมบัติของวัสดุด้านการนาไฟฟ้า
สาระสาคัญ
สมบัติของวัสดุด้านการนาไฟฟ้า จาแนกออกได้ 2 ประเภท
1. วัสดุที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนาไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นของแข็งหรือของเหลว วัสดุตัวนาที่เป็น
ของแข็งได้แก่ โลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองแดง อะลูมิเนียม และอโลหะบางชนิด เช่น ไส้ดินสอ
2. วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ไม้ดีหรือผ่านไม่ได้ เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ วัสดุหรือสารที่เป็นอโลหะ
ส่วนใหญ่ เช่น แก้ว พลาสติก ยาง ไม้
วัสดุแต่ละชนิดนาไฟฟ้าได้ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ ความยาวของวัสดุและพื้นที่หน้าตัดของ
วัสดุ
วัสดุที่กระแสไฟฟ้า
ไหลผ่านได้ดี ได้แก่โลหะต่าง ๆ
เช่น เงิน ทองแดง
อะลูมิเนียมครับ
วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ไม้ดี
หรือผ่านไม่ได้ เช่น แก้ว
พลาสติก ยาง และก็ไม้ค่ะ
7
1.6 ความหนาแน่นของวัสดุ
สาระสาคัญ
ความหนาแน่น เป็นสมบัติเฉพาะตัวของวัตถุแต่ละชนิด โดยเป็นค่าที่บอกมวลของวัตถุนั้น ๆ ในปริมาตร
1 หน่วย วัตถุที่มีความหนาแน่นมากจะมีมวลมากกว่าวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยในปริมาตรที่เท่ากัน
ความหนาแน่นคานวณหาได้จาก มวลของวัตถุหารด้วยปริมาตรของวัตถุ มีหน่วยเป็นกรัม ต่อลูกบาศก์
เซนติเมตร เราสามารถนาความรู้เรื่อง ความหนาแน่นไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้มากมาย
การหาความหนาแน่นของสาร
ความหนาแน่นของสาร หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวลของสารต่อปริมาตรของสาร ซึ่งเป็นสมบัติ
เฉพาะตัวของสาร ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าน้า วัตถุนั้นจะจมน้า แต่ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า
วัตถุนั้นจะลอยน้า
น้ามีความหนาแน่น 1.2 g/cm3
ที่ระดับน้าทะเล เช่น วัตถุมวล 30 กรัม วัดปริมาตรได้ 15
ลูกบาศก์เซนติเมตร วัตถุนี้จะมีความหนาแน่นเท่าใด และจะลอยน้าหรือจมน้า
วิธีทา ความหนาแน่น = มวล / ปริมาตร
แทนค่าสูตร ความหนาแน่น = 30 / 15
ความหนาแน่น = 2 g/cm3
ดังนั้น วัตถุนี้จะมีความหนาแน่นเท่ากับ 2 g/cm3
ซึ่งจะจมน้า
8
2. สมบัติของสารในสถานะต่าง ๆ
แนวคิดหลัก
สารต่าง ๆ รอบตัวเรามีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สารในแต่ละสถานะจะมีการ
จัดเรียงตัวของอนุภาคที่เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน ซึ่งมีผลทาให้สารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สมี
สมบัติต่างกัน
สมบัติของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
สาระสาคัญ
สารรอบตัวเราจาแนกออกได้ 3 สถานะ คือ สถานะของแข็ง ของเหลวและสถานะแก๊ส โดยสมบัติของ
สารทั้ง 3 สถานะมีดังนี้
1. สถานะของแข็ง สารที่มีสถานะของแข็ง มีมวล สัมผัสได้และต้องการที่อยู่ สามารถรักษารูปร่างและ
ปริมาตรให้คงที่ได้ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เช่น น้าแข็ง ก้อนหิน แท่งไม้
2. สถานะของเหลว สารที่มีสถานะของเหลวมีมวลสัมผัสได้และต้องการที่อยู่ สามารถรักษาปริมาตรให้
คงที่ได้ แต่รูปร่างจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ เช่น น้าดื่ม น้าหวาน น้าปลา
3. สถานะแก๊ส สารที่มีสถานะแก๊สมีมวล ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ มีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ จะฟุ้ง
กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุเสมอ ดังนั้นปริมาตรของแก๊สจึงเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ เช่น แก๊สออกซิเจน
เพื่อน ๆ ช่วยบอกผมหน่อยว่า สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ อยู่ในสถานะใด
9
การหาปริมาตรของสารในแต่ละสถานะ
1. การหาปริมาตรของสารในสถานะของแข็ง โดยถ้าของแข็งมีรูปทรงทางเรขาคณิต สามารถหาปริมาตรได้
โดยการคานวณ แต่ถ้าของแข็งไม่มีรูปทรงทางเรขาคณิต สามารถหาได้โดยใช้กฏการแทนที่น้าของอาร์คีมีดิส พบว่า
ปริมาตรน้าที่ล้นออกมาเท่ากับปริมาตรของของแข็งที่ใส่ลงไปในน้า
2. การหาปริมาตรของสารในสถานะของเหลว หาได้โดยการใช้ บีกเกอร์ กระบอกตวง
หลอดฉีดยา
10
3. การเปลี่ยนแปลงของสาร
แนวความคิดหลัก
3.1 การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
สาระสาคัญ
ธรรมชาติของสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ใน 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส ซึ่งการเพิ่มหรือ
การลดอุณหภูมิของสารจนถึงระดับหนึ่ง จะทาให้สารเปลี่ยนสถานะไป
การเปลี่ยนสถานะของสารได้แก่
1. การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น การหลอมเทียน
2. การแข็งตัวของของเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวไปเป็นของแข็ง เช่น
การหล่อเทียน
3. การระเหย เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊ส (โดยเกิดขึ้นเฉพาะตรงผิวหน้าของ
ของเหลว) เช่น การตากผ้าให้แห้งด้วยแดด
4. การเดือด เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊ส(โดยเกิดขึ้นจากทุกส่วนของของเหลว)
5. การระเหิด เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นแก๊ส เช่น การระเหิดของน้าแข็งแห้ง ,
การระเหิดของลูกเหม็น
6. การควบแน่น เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊ส(ไอ) เป็นของเหลว เมื่อลดอุณหภูมิ
การหลอมเหลว
11
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
การเปลี่ยนสถานะของสารนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การทาไอศกรีม การทาน้าแข็งแห้ง
การเปลี่ยนสถานะของสารมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น การเกิดลูกเห็บ และการที่ไอน้าในอากาศ
ควบแน่นเป็นหยดน้าแล้วแข็งตัวปกคลุมพืชผักบนยอดเขาสูง
พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร
พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร เรียกว่า ความร้อนแฝง แบ่งออกเป็น 2
ประเภท
1. ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ หมายถึง พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก
ของเหลวเป็นไอ
2. ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว หมายถึง พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก
ของแข็งเป็นของเหลว
ความร้อนแฝงของสารแต่ละชนิดมีค่าเฉพาะตัว
12
3.2 การละลายของสาร
สาระสาคัญ
สารเนื้อเดียว หมายถึง การละลายของสารที่เกิดจากการนาสารอย่างน้อย 2 ชนิดมาผสมกัน โดยสาร
ที่ผสมกันรวมเข้าด้วยกันทุกส่วน ไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไร และสารละลายนั้นยังคงแสดงสมบัติของ
สารเดิม เมื่อนาสารผสมนี้ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกส่วน
สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวอย่างน้อย 2 ชนิด ผสมกัน เช่น น้าเกลือ น้าหวาน
สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่ผสมกันแล้วไม่รวมเข้าด้วยกันทุกส่วน เนื้อสารมีลักษณะไม่เหมือนกันทุกส่วน
เช่น น้าแป้ง ทรายผสมในน้า
สารแขวนลอย หมายถึง สารเนื้อผสมที่ประกอบด้วยของแข็ง ซึ่งมีขนาดเล็กกระจายอยู่ในของเหลวหรือ
แก๊ส สามารถแยกออกจากกันได้ด้วยการกรอง หรือการทาให้ตกตะกอน
สารละลายอาจเกิดจาก
1. ของแข็งละลายในของเหลว เช่น น้าเกลือ หรือน้าเชื่อม เกิดจากเกลือหรือน้าตาลละลายในน้า
2. ของเหลวละลายในของเหลว เช่น แอลกอฮอล์ 70 % (แอลกอฮอล์เช็ดแผล)
3. ของแข็งละลายในของแข็ง เช่น นาก (ทองคา + ทองแดง) , ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี)
4. แก๊สละลายในของเหลว เช่น น้าอัดลมเกิดจาก แก็สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายในของเหลว น้า
โซดา
5. แก๊สละลายในแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (อากาศที่ปราศจากฝุ่นละออง)
น้าเกลือเป็น
สารละลายครับ
13
สารละลายประกอบด้วย
- ตัวละลายหรือตัวถูกละลาย
- ตัวทาละลาย
น้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือ เป็นตัวละลาย น้าเป็นตัวทาละลาย
นาก ประกอบด้วย ทองคาเป็นตัวละลาย ทองแดงเป็นตัวทาละลาย
อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่น ๆ เป็นตัวละลาย และแก๊สไนโตรเจนเป็นตัว
ทาละลาย
การบ่งชี้ว่า สารใดเป็นตัวละลาย และสารใดเป็นตัวทาละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้
1. ถ้าตัวละลายและตัวทาละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทาละลาย
สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย เช่น น้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือ และน้า จัดได้ว่าเกลือ
เป็นตัวละลายและน้าเป็นตัวทาละลาย เนื่องจากน้ามีสถานะเดียวกันกับน้าเกลือ
2. ถ้าตัวละลายและตัวทาละลายมีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มี
ปริมาณมากกว่าจัดเป็นตัวทาละลาย เช่น แอลกอฮอล์ 70% ประกอบด้วย
แอลกอฮอล์ 70 ส่วน และ น้า 30 ส่วน จัดได้ว่า น้าซึ่งมีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวละลาย ส่วนแอลกอฮอล์ซึ่งมี
ปริมาณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย
14
การละลายสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ ดังนี้
1. การแพทย์ ใช้ละลายตัวยา เพื่อผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น ละลายสารอิเล็กโตรไลต์ เพื่อใช้กับคนไข้ที่
อ่อนเพลียและเสียน้ามาก ละลายกลูโคสเพื่อใช้กับคนไข้ที่อ่อนเพลียและขาดอาหาร
2. การเกษตร ใช้ละลายปุ๋ยและสารกาจัดศัตรูพืช เพื่อให้อาหารแก่พืชหรือใช้ฉีดพ่นเพื่อกาจัดศัตรูพืช
3. การซักล้าง ใช้ละลายสารซักล้างเพื่อทาความสะอาดเสื้อผ้าและภาชนะต่าง ๆ
4. การประกอบอาหาร ใช้ละลายสารที่เป็นเครื่องปรุงเพื่อใช้ในหารประกอบอาหารต่าง ๆ
การละลายมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังต่อไปนี้ (อ่านเฉพาะหัวข้อค่ะ)
1. เกิดฝนกรด เนื่องจากแก๊สจาพวกออกไซด์ของกามะถันและออกไซด์ของไนโตรเจนที่ปล่อยออกมาจาก
โรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงแยกแก๊ส เมื่อฝนตกลงมาละลายแก๊สเหล่านี้เกิดเป็น
ฝนกรดตกลงสู่พื้นดิน มีผลทาให้ดินเป็นกรดที่เรียกดินเปรียว ซึ่งไม่สามารถเพาะปลูกได้ และอาจมีผลต่อการเป็น
โรคผิวหนังของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นด้วย
2. เกิดน้าเสีย เนื่องจากในดินมีสารจาพวกปุ๋ยและสารกาจัดศัตรูพืชที่เกษตรกรใช้ตกค้างอยู่ เมื่อฝนตกลง
มาจะละลายสารเหล่านี้และไหลลงสู่แหล่งน้า นอกจากนั้นยังมีน้าทิ้งจากบ้านเรือนที่ใช้ในการซักล้างต่าง ๆ ไหลลงสู่
แม่น้าลาคลองเป็นจานวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้น้าเสียเนื่องจากน้าขาดแก๊สออกซิเจนที่จะไปช่วยในการ
ย่อยสลายของแบคทีเรียในน้า ทาให้สัตว์น้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
3. เกิดน้ากระด้าง เนื่องจากสารบางชนิดที่เป็นสาเหตุของความกระด้างที่ตกค้างอยู่ในดินละลายลงสู่แหล่ง
น้า ทาให้ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้
4. เกิดดินเค็ม บริเวณโดยรอบพื้นที่ทานาเกลือจะมีเกลือละลายและแพร่เข้าไปยังบริเวณใกล้เคียงได้ ทาให้
ดินบริเวณนั้นเค็ม เรียกว่า ดินเค็ม ซึ่งใช้ทาการเพาะปลูกไม่ได้อีกต่อไป
15
3.3 การเกิดสารใหม่
สาระสาคัญ
การเกิดสารใหม่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี แล้วได้สารใหม่ ซึ่งมีสมบัติต่างไปจากสารเดิม
และไม่สามารถทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ อาจพิจารณาได้จาก การเกิดตะกอน เกิดแก๊ส สีของสารเปลี่ยนไป มีกลิ่น
เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีแสง มีเสียงเกิดขึ้น เช่น
1. การเผาน้าตาล ในน้าตาลมีสารที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน (C ,H ,O) เป็นองค์ประกอบ
เมื่อให้ความร้อน น้าจะระเหยออกไป เหลือแต่ถ่านสีดา คือคาร์บอน ไม่สามารถทาคาร์บอนสีดาให้กลับไปเป็น
น้าตาลได้เหมือนเดิมอีก
2. การเกิดสนิมเหล็กของแท่งเหล็ก เหล็กเป็นของแข็งสีเทาดา นาไฟฟ้า นาความร้อน แต่เมื่อเกิดสนิม
จะมีสีน้าตาลแดง แข็งแต่เปราะ ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาความร้อน มีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม และไม่สามารถทาสนิม
เหล็กให้เป็นเหล็กเหมือนเดิมได้อีก
3. การผสมผงฟูกับน้าส้มสายชู จะเกิดแก๊ส (เกิดฟองฟู่) ขึ้นในขวด ลูกโป่งซึ่งครอบอยู่ที่ปากขวดจะพอง
ขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากผงฟูเมื่อทาปฏิกิริยากับน้าส้มสายชูจะได้สารใหม่ คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จึงทาให้
ลูกโป่งพอง
4. การหยดแอมโมเนียหอมซึ่งเป็นสารไม่มีสี ลงในสารละลายจุนสีซึ่งมีสีฟ้า จะได้สารสีน้าเงินเกิดขึ้น แสดง
ว่าสารสีน้าเงินนี้เป็นสารที่เกิดขึ้นใหม่
5. การหยดน้าปูนใสลงในสารละลายโซดาซักผ้า จะเกิดตะกอนสีขาว แสดงว่า มีสารใหม่เกิดขึ้น ซึ่งมี
สมบัติแตกต่างจากสารเดิม
6. การผสมปุ๋ยแอมโมเนียกับปูนขาว จะมีกลิ่นฉุนเกิดขึ้นที่ก้นบีกเกอร์ เย็นลง (อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง)
และมีหยดน้าเล็ก ๆ เกาะอยู่
16
การเปลี่ยนแปลงของสารนั้น ถ้าสารมีการเปลี่ยนสถานะ และเกิดสารละลาย แล้วสมบัติของสารไม่
เปลี่ยนแปลง ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ส่วนการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะแตกต่าง
ไปจากสารเดิมโดยสิ้นเชิง การเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี
ประโยชน์จากการเกิดสารใหม่
การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถนาไปใช้ประโยชน์
ได้มากมาย เช่น การทายารักษาโรค การทาสีย้อมผ้า การสังเคราะห์เส้นใย
เพื่อใช้ทาเครื่องนุ่งห่มและเครื่องใช้ การสังเคราะห์สารเคมีเพื่อให้ได้วัสดุ
ประเภทพลาสติกแข็งซึ่งใช้แทนไม้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อบารุงร่างกาย
ผลจากการเกิดสารใหม่ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
ถ้าเก็บรักษาหรือใช้สารไม่ถูกต้องก็อาจเกิดการระเบิดได้ ซึ่งทา
ให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังตัวอย่างที่เคยเกิดขึ้น เช่น
การระเบิดของคลังเก็บอาวุธ การระบิดที่เกิดจากการทาดอกไม้ไฟ ถัง
แก๊สระเบิด การระเบิดของสารเร่งดอกลาไยที่ภาคเหนือ
17
4. การแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน
แนวความคิดหลัก
4.1 การแยกสารเนื้อผสม
สาระสาคัญ
สารเนื้อผสม เป็นสารผสมที่เนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนเหมือนกันทุกส่วน ยังมองเห็นส่วนที่แตกต่างกันอยู่
การแยกสารเนื้อผสม ทาได้โดยวิธีต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนผสม
กล่าวคือ
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่ และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจน ใช้วิธีการ
เลือกออกหรือหยิบออก เช่น การเลือกเมล็ดข้าวเปลือกออกจากข้าวสาร
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกัน แยกโดยการร่อน เช่น การร่อนเอา
ก้อนกรวดที่ปนมากับทรายในการก่อสร้าง
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้ แยกโดยการระเหิด เช่น การผสมกันของ
พิมเสนกับเกลือซึ่งมีสีขาวเหมือนกัน โดยการให้ความร้อน พิมเสนจะระเหิดออกไป เหลือแต่เกลือ
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งกับของเหลว แยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง ทั้งนี้
ของแข็งต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้ เช่น สารเนื้อผสมระหว่างดินกับน้า
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอย
แยกโดยวิธีการทาให้ตกตะกอน เช่น น้าคลองแกว่งด้วยสารส้ม
- ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลว แยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้น แล้วรินหรือช้อนออกจากกัน
เช่น การผสมกันของน้ามันกับน้า
18
4.2 การแยกสารเนื้อเดียว หรือสารละลาย
สาระสาคัญ
สารละลาย เป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดผสมกัน อาจเป็น
- ของแข็งกับของเหลว เช่น น้าเกลือ น้าเชื่อม
- ของเหลวกับของเหลว เช่น แอลกอฮอล์ 70 % ใช้เช็ดแผล เป็นสารผสมระหว่าง เอทิลแอลกอฮอล์
70 ส่วน กับน้า 30 ส่วนโดยปริมาตร
- แก๊สกับของเหลว เช่น น้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูง ลงไปในน้าหวาน
- ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างทองคากับทองแดง และทองเหลืองเป็น
ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี
การแยกสารเนื้อเดียวที่เป็นสารละลาย ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นของแข็งละลายในของเหลว แยกโดย
การระเหยแห้ง โดยการใช้ความร้อนช่วยให้ของเหลวระเหยช้า ๆ จนแห้งเหลือแต่ของแข็ง
วิธีการแยกสารละลายแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ จึงต้องแยกด้วยวิธีที่
แตกต่าง กัน
19
5. สารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
แนวความคิดหลัก
5.1 การจาแนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน
สาระสาคัญ
สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันมีมากมาย เป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภค สารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น
สารเคมี เมื่อพิจารณาตามการนาไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจาแนกเป็นประเภท
ใหญ่ ๆ ได้แก่ สารปรุงรสอาหารและสารแต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและศัตรูพืช
ความเป็นกรดเบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรดเบส สามารถใช้
กระดาษลิตมัสหรือน้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ
สารที่มีสมบัติเป็นกรด จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันที่มีสมบัติเป็น
กรด เช่น น้ามะนาว น้าส้มสายชู น้ามะขาม น้าผลไม้ต่าง ๆ
สารที่มีสมบัติเป็นเบส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีน้าเงิน สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันที่มีสมบัติเป็น
เบส เช่น น้าสบู่ น้าผงซักฟอก น้าขี้เถ้า น้ายาล้างจาน แต่น้ายาล้างจานชนิดที่ผสมมะนาวจะมีสมบัติเป็นกรด
สารที่มีสมบัติเป็นกลาง จะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและน้าเงิน เช่น น้า น้าเกลือ น้าเชื่อม
นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรดเบสของสารแล้วยัง
มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรดเบสของสารอีก เช่น
กระดาษ pH , pHมิเตอร์
- สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 0 - 6
- สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8 - 14
- สารที่มีสมบัติเป็นกลางมีค่า pH อยู่ระหว่าง 7
20
5.2 สารปรุงรสอาหาร
สาระสาคัญ
สารปรุงรสอาหาร เป็นสารที่ใช้เพิ่มรสชาติอาหาร มีหลายชนิดมีทั้งให้รสเค็ม หวาน เปรี้ยว เผ็ด ตามความ
ต้องการของผู้บริโภค
การซื้อสารปรุงรสอาหาร ควรเลือกซื้อชนิดที่มีฉลากกากับเพื่อจะได้ทราบส่วนประกอบข้อมูล
โภชนาการ ปริมาณสุทธิ สถานที่ผลิต บริษัทผู้จาหน่าย วันที่ผลิต วันหมดอายุ รวมทั้งมีเครื่องหมาย
รับรองคุณภาพจาก อย. และ มอก.
สารปรุงรสใกล้ตัวพบได้บ่อย ๆ ตามร้านอาหารที่ต้องระมัดระวังในการใช้เป็นอย่างยิ่ง คือ
น้าส้มสายชู พริกป่น ถั่วลิสงป่น โดยสังเกตลักษณะของสารเหล่านี้ เช่น น้าส้มพริกดอง พริกต้องไม่เฉา
และไม่เปื่อยยุ่ย น้าส้มต้องไม่ขุ่น ส่วนพริกป่นกับถั่วลิสงป่นต้องใหม่และไม่จับกันเป็นก้อน
น้าส้มสายชูที่รับประทานได้มี 2 ชนิด คือ น้าส้มสายชูแท้ ซึ่งได้แก่ น้าส้มสายชูหมัก กับ
น้าส้มสายชูกลั่น และน้าส้มสายชูเทียม ส่วนน้าส้มสายชูปลอม ซึ่งทาจากกรดกามะถันผสมน้ามีฤทธิ์กัดอย่าง
รุนแรง ห้ามรับประทานเด็ดขาด วิธีการทดสอบน้าส้มสายชูแท้หรือน้าส้มสายชูปลอมทาได้โดยหยด
สารละลายเจนเชี่ยนไวโอเลตลงไป ถ้าไม่เปลี่ยนสีแสดงว่าเป็นน้าส้มสายชูแท้หรือน้าส้มสายชูเทียม ถ้าเปลี่ยน
สีจากสีม่วงเป็นสีเขียวแสดงว่าเป็นน้าส้มสายชูปลอม
สารปรุงรสอาหาร เป็นสารที่ใช้เพิ่มรสชาติอาหาร มีหลายชนิดมีทั้งให้รสเค็ม หวาน เปรี้ยว เผ็ด ตาม
ความต้องการของผู้บริโภค เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา น้าตาล ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว พริกป่น ถั่วลิสงป่น
อย่าลืมสังเกตเครื่องหมายรับรอง
คุณภาพจาก อย. และ มอก.
21
5.3 สารแต่งสีอาหาร
สาระสาคัญ
สารที่ทาให้เกิดสี มี 2 ประเภท คือ สีธรรมชาติซึ่งได้จากพืชและสัตว์ กับสีที่ได้จากการสังเคราะห์สารเคมี
ซึ่งมี 2 พวก คือ สีผสมอาหารและสีย้อม สีย้อมคือสารที่ทาให้เกิดสีในวัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษ เส้นใย ผม
หนัง
สารแต่งสีอาหาร เป็นสารที่ช่วยเพิ่มสีสันทาให้อาหารมีสีสันสวยงามน่ารับประทาน สีที่ใช้ผสมอาหารมีทั้งสี
ธรรมชาติจากพืชบางชนิด และสีสังเคราะห์สาหรับผสมอาหารเท่านั้น ห้ามใช้สีย้อมผสมในอาหารโดยเด็ดขาด
เพราะจะเป็นอันตรายต่อร่างกายทาให้เกิดโรคต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยต่อร่างกายไม่ควรผสมสีในอาหารถ้า
จาเป็นต้องใช้ก็ควรเป็นสีจากธรรมชาติหรือสีสาหรับผสมอาหารแต่ต้องใช้ในปริมาณที่น้อยที่สุด
22
5.4 สารทาความสะอาด
สาระสาคัญ
สารทาความสะอาดมีหลายประเภท ถ้าพิจารณาตามลักษณะการใช้งานจะแบ่งได้เป็นสารทาความ
สะอาดร่างกาย สารซักล้างภาชนะและเครื่องนุ่งห่ม และสารทาความสะอาดห้องน้า และเครื่องสุขภัณฑ์ สาร
แต่ละประเภทจะผสมสารสาคัญที่มีสมบัติเหมาะสาหรับใช้ประโยชน์เฉพาะอย่างเท่านั้น ถ้านาไปใช้ผิด
วัตถุประสงค์อาจจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย
สารซักล้างแบ่งได้เป็น สารซักล้างเครื่องนุ่งห่มและภาชนะ ซึ่งจะมีสมบัติความเป็นกรด เบส มาก
น้อยแตกต่างกันและผสมสารสาคัญสาหรับใช้งานต่างกันจึงใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน
สารทาความสะอาดห้องน้าและสุขภัณฑ์มีทั้งชนิดผงและชนิดเหลวมีสมบัติความเป็นกรดเบสแตกต่าง
กันสารสาคัญที่เป็นส่วนประกอบสาหรับใช้งานก็ต่างกัน สารในกลุ่มนี้สานักงานอาหารและยา กระทรวง
สาธารณสุขจัดให้ เป็นสารอันตรายในบ้านเรือน การเลือกซื้อควรสังเกตที่ฉลากซึ่งต้องแสดงชื่อการค้า ชื่อ
และอัตราส่วนของสารสาคัญ ประโยชน์ วิธีใช้ คาเตือน ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้นาเข้า และที่สาคัญคือ
เลขทะเบียนในกรอบเครื่องหมาย อย.
การใช้สารทาความสะอาดควรใช้ในปริมาณที่พอเหมาะถ้าใช้มากเกินไปจะเป็นการสิ้นเปลืองและทาลาย
สิ่งแวดล้อมนอกจากนั้นยังมีผลต่อร่างกายด้วย ก่อนซื้อหรือใช้สารทาความสะอาดควรอ่านพิจารณาข้อมูล
ต่าง ๆ บนฉลากเสียก่อนและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
23
5.5 สารกาจัดแมลงและศัตรูพืช
สาระสาคัญ
สารกาจัดแมลงใช้ในการกาจัดแมลงที่นาโรคภัยมาสู่คน สารกาจัดศัตรูพืชใช้ในการกาจัดวัชพืช แมลง
และสัตว์อื่นที่ทาให้พืชไม่เจริญเติบโต สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขจัดให้สาร
กาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืชเป็นสารอันตรายในบ้านเรือน
การเลือกซื้อควรเลือกให้ตรงวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น ถ้าต้องการกาจัดแมลงคลาน ก็ให้ซื้อ
ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงคลาน ไม่ควรซื้อผลิตภัณฑ์กาจัดยุงมาใช้และควรสังเกตที่ฉลากซึ่งต้องแสดงชื่อการค้า
ชื่อและอัตราส่วนของสารสาคัญ ประโยชน์ วิธีใช้ คาเตือน ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้า และที่สาคัญ
คือ เลขทะเบียนในกรอบเครื่องหมาย อย.
สารกาจัดศัตรูพืชถ้าเหลือตกค้างในพืชจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค วิธีการลดปริมาณสารกาจัดศัตรูพืช
มีหลายวิธี ก่อนบริโภคผักและผลไม้ต้องลดปริมาณสารเหล่านี้เสียก่อน
การใช้และการเก็บรักษาสารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืชต้องทาให้ถูกวิธี ถ้าใช้ไม่ถูกต้องหรือขาด
ความระมัดระวังก็จะเกิดอันตรายต่อตัวเอง ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม
ประเทศไทยสั่งซื้อสารกาจัดศัตรูพืชเป็นจานวนมาก และเพิ่มมากขึ้นทุกปี ต้องเสียเงินซื้อสารเหล่านี้
มากมาย จานวนผู้ที่ได้รับสารพิษจากสารกาจัดศัตรูพืชสูงขึ้นทุกปี ในปัจจุบันจานวนผู้ป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น
จึงควรช่วยกันลดปริมาณการใช้หรือเลิกใช้สารอันตรายเหล่านี้
24
บรรณานุกรม
กรมวิชาการ. (2546). หนังสือเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6.
กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2547). คู่มือครู วิทยาศาสตร์ สาหรับ
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
(สสวท.)
25
คณะกรรมการดาเนินงาน
คณะกรรมการที่ปรึกษา
นายสมศักดิ์ ชอบทาดี ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
นายนัฐนันต์ ลิไธสง รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2
นายยุทธนา ศรีวงษ์ชัย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา
คณะผู้จัดทาเนื้อหา
นางสาวจิตจานงค์ สังเฉวก ครู โรงเรียนวัดบ้านโคกเหล็ก
นายปณิธาน ชานาญ ครู โรงเรียนบ้านหนองไม้งาม 2
นางสาวสิริมณี ประเจริญ ครู โรงเรียนบ้านสายโท 1
นางประนอม นุกาศรัมย์ ครู โรงเรียนบ้านเกต
นายสุบิน เอี่ยมสิริ ครู โรงเรียนบ้านหนองม่วง
นางวรรณี สร้อยสุวรรณ ครู โรงเรียนวัดพลับพลา
นางจาริณี เสาเกลียว ครู โรงเรียนจระเข้มาก
นางฉวีวรรณ เพ็งดี ครู โรงเรียนบ้านโคกชุม
นางสุภาพร เชาว์มะเริง ครู โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ
นางสมจิต ศรีวงษ์ชัย ครู โรงเรียนอนุบาลประโคนชัย
นายสักศิษฐ์ ศรีสุระวิโรฒ รอง ผอ.โรงเรียนอนุบาลห้วยราช
นางวาสนา ทรงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลประโคนชัย
นางสุธาดา สัตตบุษย์ ครู โรงเรียนวัดบ้านเมืองโพธิ์
นางพรรณี หวังสุขกลาง ครู โรงเรียนประโคนชัยวิทยา
นายชูศักดิ์ ชื่นเย็น ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2
นายเกียรติ เข็มบุบผา ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2
นางสาวราตรี สงวนรัมย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2
ออกแบบ/กราฟิก
นายมนต์ชัย เลี้ยงรักษา ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2
นางสาวราตรี สงวนรัมย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2
นางสาวรฐสร แสนดัง ครู โรงเรียนวัดบ้านประทัดบุ
นายนิสิต ประเสริฐศรี ครู โรงเรียนอนุบาลห้วยราช
นางกรรณิกา ปักเสติ ครู โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 5
นายวีรพล ปักเสติ ครู โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 5
นายวุฒิกร อินกะสังข์ ครู โรงเรียนบ้านไม้แดง

More Related Content

What's hot

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
Sukanya Nak-on
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์Anissa Aromsawa
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
Prachoom Rangkasikorn
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกSupaluk Juntap
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
Wuttipong Tubkrathok
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์สมศรี หอมเนียม
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
Ta Lattapol
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชdnavaroj
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารพัน พัน
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
Ketsarin Prommajun
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศSupaluk Juntap
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
สุขใจ สุขกาย
 

What's hot (20)

ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2ระบบขับถ่าย ม.2
ระบบขับถ่าย ม.2
 
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์ระบบย่อยอาหารของสัตว์
ระบบย่อยอาหารของสัตว์
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง วรจรไฟฟ้า+ป.6+290+dltvscip6+P...
 
สมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนกสมบัติของสารและการจำแนก
สมบัติของสารและการจำแนก
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
แบบรายงานการแสดงทางวิทยาศาสตร์
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลกบทที่ 1 โครงสร้างของโลก
บทที่ 1 โครงสร้างของโลก
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืชการสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
การสืบพันธุ์แบบไม่อาศัยเพศของพืช
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
ระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหารระบบย่อยอาหาร
ระบบย่อยอาหาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
อจท. แผน 1 1 สุขศึกษาฯ ป.5
 

Viewers also liked

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารZee Gopgap
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
sudaphud
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารnetzad
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมJariya Jaiyot
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
Mu PPu
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
Wichai Likitponrak
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์Suriyawaranya Asatthasonthi
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
KruPa Jggdd
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 

Viewers also liked (12)

สารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสารสารและสมบัติของสาร
สารและสมบัติของสาร
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
เคมีเตรียมมหิดล เรื่
เคมีเตรียมมหิดล เรื่เคมีเตรียมมหิดล เรื่
เคมีเตรียมมหิดล เรื่
 
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสารสมบัติของสารและการจำแนกสาร
สมบัติของสารและการจำแนกสาร
 
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียมบทที่ 4 ปิโตรเลียม
บทที่ 4 ปิโตรเลียม
 
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
รวมสูตรฟิสิกส์ ม.6
 
บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2บทที่1จำแนกสารม 2
บทที่1จำแนกสารม 2
 
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
ข้อสอบพร้อมเฉลยอย่างละเอียด O net - วิทยาศาสตร์
 
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
คู่มือครูวิทยาศาสตร์สสวท ม.3เล่ม2
 
บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์บทที่ 5 พอลิเมอร์
บทที่ 5 พอลิเมอร์
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 

Similar to เนื้อหาสารและสมบัติของสาร

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
naruephak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)naruephak
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
Gawewat Dechaapinun
 
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
Prachoom Rangkasikorn
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียkrupornpana55
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ PisaBiobiome
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Sumarin Sanguanwong
 
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
porayas
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
ทับทิม เจริญตา
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1supphawan
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
nn ning
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 

Similar to เนื้อหาสารและสมบัติของสาร (20)

ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
แผนการจัดการเรียนรู้ ป. 5 (3)
 
บทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำบทที่ 1 บทนำ
บทที่ 1 บทนำ
 
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
 
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
ใบความรู้+วัสดุแต่ละชนิดมีสมบัติแตกต่างกันอย่างไร+ป.3+242+dltvscip3+54sc p03 ...
 
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดียส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
ส่วนหน้าคู่มือการใช้บทเรียนมัลติมีเดีย
 
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisaการสร้างแนวข้อสอบ Pisa
การสร้างแนวข้อสอบ Pisa
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
1. สารและการเปลี่ยนแปลง.pptkjytydrtseraezsdxgfxf
 
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตรแผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
แผนพื้นที่ผิวและปริมาตร
 
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
ตัวชี้วัด วิทย์ม 3
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
โครงสร้างสาระวิทย์ม.1
 
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 ความรู้พื้นฐานทางเคมี ความรู้พื้นฐานทางเคมี
ความรู้พื้นฐานทางเคมี
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
Substance classification
Substance classificationSubstance classification
Substance classification
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

เนื้อหาสารและสมบัติของสาร

  • 1. 1 สาระที่ สารและสมบัติของสาร มาตรฐาน ว 3.1 เข้าใจสมบัติของสาร ความสัมพันธ์ระหว่างสมบัติของสารกับโครงสร้างและแรงยึดเหนี่ยวระหว่าง อนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ นาความรู้ไปใช้ ประโยชน์ ตัวชี้วัด ป.5 1. ทดลองและอธิบายสมบัติของวัสดุชนิด ต่าง ๆ เกี่ยวกับความยืดหยุ่น ความแข็ง ความเหนียวการนา ความร้อน การนาไฟฟ้า และ ความหนาแน่น 2. สืบค้นข้อมูลและอภิปรายการนาวัสดุไปใช้ในชีวิตประจาวัน ป.6 1. ทดลองและอธิบาย สมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส 2. จาแนกสารเป็นกลุ่ม โดยใช้สถานะหรือเกณฑ์ที่กาหนด 3. ทดลองและอธิบายวิธีการแยกสารบางชนิดที่ผสมกันโดยการร่อน การตกตะกอน การกรอง การระเหิด การระเหยแห้ง 4. สารวจและจาแนกประเภทของสารต่าง ๆ ที่ใช้ในชีวิตประจาวัน โดยใช้สมบัติและการใช้ประโยชน์ ของสารเป็นเกณฑ์ 5. อภิปรายการเลือกใช้ สารแต่ละประเภทได้อย่างถูกต้องและปลอดภัย มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มี กระบวนการสืบเสาะ หาความรู้และจิตวิทยาศาสตร์ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ทดลองและอธิบายสมบัติของสาร เมื่อสารเกิดการละลายและเปลี่ยนสถานะ 2. วิเคราะห์และอธิบายการเปลี่ยนแปลงที่ทาให้เกิดสารใหม่และมีสมบัติเปลี่ยนแปลงไป 3. อภิปรายการเปลี่ยนแปลงของสารที่ก่อให้เกิดผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
  • 2. 2 สาระที่ 3 สารและสมบัติของสาร 1. สมบัติของวัสดุ แนวความคิดหลัก วัสดุมีหลายชนิด แต่ละชนิดมีสมบัติทางกายภาพแตกต่างกัน ซึ่งเป็นสมบัติเฉพาะตัวของวัสดุที่แสดง ว่าวัสดุชนิดหนึ่งเหมือนหรือแตกต่างจากวัสดุอีกชนิดหนึ่ง ชนิดนั้น ๆ เช่น ความแข็ง ความเหนียว ความ หนาแน่น การนาความร้อน และการนาไฟฟ้า เราจึงนาวัสดุไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน สาระสาคัญ 1.1 สมบัติของวัสดุด้านความแข็ง วัสดุในสถานะของแข็ง มีสมบัติด้านความแข็งแตกต่างกัน เมื่อนาวัสดุหนึ่งขีดบนวัสดุอีกชนิดหนึ่ง แล้วทาให้วัสดุนั้นเกิดรอยแสดงว่า วัสดุที่ถูกขีดมีความแข็งน้อยกว่า วัสดุที่ใช้ขีด แต่ถ้าขีดแล้วไม่เกิดรอยแสดงว่าวัสดุที่ถูกขีด มีความแข็งมากกว่าวัสดุที่ใช้ขีด เช่น การใช้เหรียญขีดยาง แล้วเกิดรอย แต่เมื่อนาไปขีดอะลูมิเนียมแล้ว ไม่เกิดรอยแสดงว่าเหรียญมีความแข็งมากกว่ายาง แต่มีความแข็งน้อย กว่าอะลูมิเนียม สมบัติด้านความแข็งของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้มากมาย เช่น เหล็กใช้ทามีดหั่น ผักหั่นเนื้อได้ เพราะเหล็กมีความแข็งมากกว่าผักและเนื้อ ใช้เพชรทาเครื่องมือตัดกระจกได้ เพราะเพชรมีความแข็ง มากกว่ากระจก วัสดุแต่ละชนิดมีความแข็งไม่เท่ากัน โดยวัสดุที่มีความแข็งมากที่สุดคือเพชร วัสดุที่แข็งที่สุด คือ เพชร นะคะเพื่อน ๆ วัสดุ 5 ชนิดนี้ถ้าอยากรู้เพื่อน ๆ ลองใช้เงินเหรียญขูดนะคะ
  • 3. 3 1.2 สมบัติของวัสดุด้านความเหนียว สาระสาคัญ วัสดุแต่ละชนิดมีความเหนียวไม่เท่ากัน โดยวัสดุที่มีความเหนียวมากคือ วัสดุที่สามารถทนแรงดึงหรือรับ น้าหนักได้มากแล้วขาด วัสดุที่มีความเหนียวน้อย คือ วัสดุที่สามารถทนแรงดึงหรือรับน้าหนักได้น้อยแล้วขาด เช่น เส้นเอ็นเหนียวกว่าเส้นด้าย เพราะเส้นเอ็นทนต่อแรงกระทามากกว่าเส้นด้าย สมบัติด้านความเหนียวของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้มากมาย เช่น ใช้เส้นเอ็นทาเบ็ดตกปลา เพราะ เส้นเอ็นมีความเหนียวมาก สามารถทนแรงดึงของปลาได้มาก นอกจากนี้เรายังใช้เชือกลากสิ่งของที่มีมวลมาก ๆ หรือ ในการยกของที่มีมวลมากเกินกว่าคานจะยกได้ เรานิยมใช้โซ่ล่ามสิ่งของนั้น แล้วใช้เครื่องจักรยกของจากที่หนึ่งไปวาง อีกที่หนึ่ง เพราะโซ่มีความเหนียวมากกว่าเชือก จึงใช้ยกของที่มีมวลมากได้ดีกว่าเชือก รูปต้นข้าว รูปไก่ รูปงู รูปเหยี่ยว ผู้ผลิต ผู้บริโภคพืช ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 1 ผู้บริโภคสัตว์ลาดับที่ 2 จากภาพเราจะพบว่า ไก่กินข้าวเป็นอาหาร งูกินไก่เป็นอาหาร และเหยี่ยวกินงูเป็นอาหารอีกทอดหนึ่ง การกินต่อกันเป็นทอดๆ เช่นนี้เรียกว่า โซ่อาหาร เพื่อน ๆ คิดว่าเชือก หรือเส้น เอ็น มีความเหนียวมากกว่า กันเอ่ย? ถ้าเพื่อน ๆ อยากทราบว่า อะไรเหนียวกว่ากัน เราทา การทดลองดังภาพค่ะ
  • 4. 4 1.3 สมบัติของวัสดุด้านสภาพยืดหยุ่น สาระสาคัญ สภาพยืดหยุ่นของวัสดุ หมายถึง การออกแรงกระทาต่อวัสดุ แล้วทาให้วัสดุเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด และเมื่อ หยุดออกแรงกระทาคืนสู่สภาพเดิม วัสดุที่ถูกกระทาแล้วเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด และเมื่อหยุดออกแรงกระทาก็คืนสภาพเดิม เรียกว่า วัสดุนั้น มีสภาพยืดหยุ่น ถ้าออกแรงกระทาแล้ววัสดุเปลี่ยนรูปร่างหรือขนาด แต่เมื่อหยุดออกแรงกระทาวัสดุไม่คืนสภาพเดิม เรียกว่า วัสดุนั้นไม่มีสภาพยืดหยุ่น วัสดุแต่ละชนิดมีสภาพยืดหยุ่นไม่เท่ากัน เช่น เส้นเอ็นมีสภาพยืดหยุ่นมากกว่าแถบยางยืด สมบัติด้านความยืดหยุ่นของวัสดุ สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน เช่น * ใช้แถบยางยืดทาขอบกางเกง /ใช้รัดสิ่งของ * ใช้เส้นเอ็นขึงทาไม้เทนนิสหรือใช้ทาไม้แบดมินตัน * ใช้สปริงเป็นส่วนประกอบของปากกา /ที่นอนสปริง วัสดุ ของใช้ต่าง ๆ เหล่านี้ ล้วนใช้วัสดุที่มี สภาพยืดหยุ่น ครับ
  • 5. 5 1.4 สมบัติของวัสดุด้านการนาความร้อน สาระสาคัญ สมบัติของวัสดุด้านการนาความร้อน จาแนกออกได้ 2 ประเภท 1. วัสดุที่ความร้อนผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนาความร้อน ส่วนใหญ่เป็นโลหะ เช่น ทองแดง อะลูมิเนียม เหล็ก 2. วัสดุที่ความร้อนผ่านได้ไม่ดีหรือไม่สามารถผ่านได้ เรียกว่า ฉนวนความร้อน เช่น ไม้ แก้ว พลาสติก ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านวัสดุจากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงกว่า ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่า เช่น จาก บริเวณที่มีอุณหภูมิ 40 องศาเซลเซียส ไปยังบริเวณที่มีอุณหภูมิ 30 องศาเซลเซียส ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านวัสดุต่าง ๆ ได้ไม่เท่ากัน เช่น ความร้อนจะถ่ายโอนผ่านเหล็กได้ดีกว่ายาง สมบัติด้านการนาความร้อนของสาร สามารถนาไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้ ได้แก่ * การนาวัสดุที่เป็นตัวนาความร้อน มาทาภาชนะหุงต้ม เช่น หม้ออะลูมิเนียม กระทะอะลูมิเนียมหรือกระทะเหล็ก * การนาวัสดุที่เป็นฉนวนความร้อนมาทาเป็นหูภาชนะ เพื่อสะดวกในการจับถือ เช่น ไม้ พลาสติก การถ่ายโอนความร้อน เมื่อวัสดุ 2 ชนิดหรือบริเวณ 2 บริเวณ ที่มีอุณหภูมิต่างกันสัมผัสกัน จะมีการถ่ายโอนความร้อนเกิดขึ้น โดย การถ่ายโอนความร้อนมี 3 วิธีคือ 1. การนาความร้อน คือการถ่ายโอนความร้อนผ่านตัวกลางที่เป็นของแข็ง จากบริเวณที่มีอุณหภูมิสูงไปสู่ บริเวณที่มีอุณหภูมิต่ากว่า โดยตัวกลางไม่ได้เคลื่อนที่ 2. การพาความร้อน คือการถ่ายโอนความร้อนผ่านตัวกลาง ที่เป็นของเหลวหรือแก๊ส โดยตัวกลางที่ได้รับ ความร้อน จะเคลื่อนที่พาความร้อนไปด้วย 3. การแผ่รังสี คือการถ่ายโอนความร้อนโดยไม่ต้องอาศัยตัวกลาง การดูดกลืนความร้อนจากการแผ่รังสี ขึ้นอยู่กับ - สีของวัสดุ โดยวัสดุสีเข้มจะดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าวัสดุสีอ่อน เช่น สีดาจะดูดกลืนความร้อน ได้ดีกว่าวัสดุสีขาว - ผิววัสดุ โดยวัสดุผิวขรุขระจะดูดกลืนความร้อนได้ดีกว่าวัสดุผิวเรียบและขัดมัน วัสดุที่นาความร้อนได้ดีย่อมจะนาไฟฟ้าได้ดีด้วย เพื่อน ๆ คิดว่า ดินสอ กับช้อน ในภาพ นาความร้อนหรือเป็น ฉนวนความร้อนครับ ถ้าวัสดุที่นาความร้อนได้ดี ดินน้ามันก็จะหล่นก่อนครับ อย่าลืมว่าต้องใช้น้าร้อนนะครับ
  • 6. 6 1.5 สมบัติของวัสดุด้านการนาไฟฟ้า สาระสาคัญ สมบัติของวัสดุด้านการนาไฟฟ้า จาแนกออกได้ 2 ประเภท 1. วัสดุที่กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ดี เรียกว่า ตัวนาไฟฟ้า ซึ่งอาจเป็นของแข็งหรือของเหลว วัสดุตัวนาที่เป็น ของแข็งได้แก่ โลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองแดง อะลูมิเนียม และอโลหะบางชนิด เช่น ไส้ดินสอ 2. วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ไม้ดีหรือผ่านไม่ได้ เรียกว่า ฉนวนไฟฟ้า ซึ่งได้แก่ วัสดุหรือสารที่เป็นอโลหะ ส่วนใหญ่ เช่น แก้ว พลาสติก ยาง ไม้ วัสดุแต่ละชนิดนาไฟฟ้าได้ไม่เหมือนกัน ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับชนิดของวัสดุ ความยาวของวัสดุและพื้นที่หน้าตัดของ วัสดุ วัสดุที่กระแสไฟฟ้า ไหลผ่านได้ดี ได้แก่โลหะต่าง ๆ เช่น เงิน ทองแดง อะลูมิเนียมครับ วัสดุที่กระแสไฟฟ้าผ่านได้ไม้ดี หรือผ่านไม่ได้ เช่น แก้ว พลาสติก ยาง และก็ไม้ค่ะ
  • 7. 7 1.6 ความหนาแน่นของวัสดุ สาระสาคัญ ความหนาแน่น เป็นสมบัติเฉพาะตัวของวัตถุแต่ละชนิด โดยเป็นค่าที่บอกมวลของวัตถุนั้น ๆ ในปริมาตร 1 หน่วย วัตถุที่มีความหนาแน่นมากจะมีมวลมากกว่าวัตถุที่มีความหนาแน่นน้อยในปริมาตรที่เท่ากัน ความหนาแน่นคานวณหาได้จาก มวลของวัตถุหารด้วยปริมาตรของวัตถุ มีหน่วยเป็นกรัม ต่อลูกบาศก์ เซนติเมตร เราสามารถนาความรู้เรื่อง ความหนาแน่นไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้มากมาย การหาความหนาแน่นของสาร ความหนาแน่นของสาร หมายถึง อัตราส่วนระหว่างมวลของสารต่อปริมาตรของสาร ซึ่งเป็นสมบัติ เฉพาะตัวของสาร ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นมากกว่าน้า วัตถุนั้นจะจมน้า แต่ถ้าวัตถุมีความหนาแน่นน้อยกว่าน้า วัตถุนั้นจะลอยน้า น้ามีความหนาแน่น 1.2 g/cm3 ที่ระดับน้าทะเล เช่น วัตถุมวล 30 กรัม วัดปริมาตรได้ 15 ลูกบาศก์เซนติเมตร วัตถุนี้จะมีความหนาแน่นเท่าใด และจะลอยน้าหรือจมน้า วิธีทา ความหนาแน่น = มวล / ปริมาตร แทนค่าสูตร ความหนาแน่น = 30 / 15 ความหนาแน่น = 2 g/cm3 ดังนั้น วัตถุนี้จะมีความหนาแน่นเท่ากับ 2 g/cm3 ซึ่งจะจมน้า
  • 8. 8 2. สมบัติของสารในสถานะต่าง ๆ แนวคิดหลัก สารต่าง ๆ รอบตัวเรามีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สารในแต่ละสถานะจะมีการ จัดเรียงตัวของอนุภาคที่เป็นองค์ประกอบแตกต่างกัน ซึ่งมีผลทาให้สารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊สมี สมบัติต่างกัน สมบัติของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว และแก๊ส สาระสาคัญ สารรอบตัวเราจาแนกออกได้ 3 สถานะ คือ สถานะของแข็ง ของเหลวและสถานะแก๊ส โดยสมบัติของ สารทั้ง 3 สถานะมีดังนี้ 1. สถานะของแข็ง สารที่มีสถานะของแข็ง มีมวล สัมผัสได้และต้องการที่อยู่ สามารถรักษารูปร่างและ ปริมาตรให้คงที่ได้ ไม่เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ เช่น น้าแข็ง ก้อนหิน แท่งไม้ 2. สถานะของเหลว สารที่มีสถานะของเหลวมีมวลสัมผัสได้และต้องการที่อยู่ สามารถรักษาปริมาตรให้ คงที่ได้ แต่รูปร่างจะเปลี่ยนไปตามภาชนะที่บรรจุ เช่น น้าดื่ม น้าหวาน น้าปลา 3. สถานะแก๊ส สารที่มีสถานะแก๊สมีมวล ต้องการที่อยู่ สัมผัสได้ มีรูปร่างและปริมาตรไม่คงที่ จะฟุ้ง กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุเสมอ ดังนั้นปริมาตรของแก๊สจึงเท่ากับปริมาตรของภาชนะที่บรรจุ เช่น แก๊สออกซิเจน เพื่อน ๆ ช่วยบอกผมหน่อยว่า สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ อยู่ในสถานะใด
  • 9. 9 การหาปริมาตรของสารในแต่ละสถานะ 1. การหาปริมาตรของสารในสถานะของแข็ง โดยถ้าของแข็งมีรูปทรงทางเรขาคณิต สามารถหาปริมาตรได้ โดยการคานวณ แต่ถ้าของแข็งไม่มีรูปทรงทางเรขาคณิต สามารถหาได้โดยใช้กฏการแทนที่น้าของอาร์คีมีดิส พบว่า ปริมาตรน้าที่ล้นออกมาเท่ากับปริมาตรของของแข็งที่ใส่ลงไปในน้า 2. การหาปริมาตรของสารในสถานะของเหลว หาได้โดยการใช้ บีกเกอร์ กระบอกตวง หลอดฉีดยา
  • 10. 10 3. การเปลี่ยนแปลงของสาร แนวความคิดหลัก 3.1 การเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร สาระสาคัญ ธรรมชาติของสารแต่ละชนิดจะปรากฏอยู่ใน 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลวและแก๊ส ซึ่งการเพิ่มหรือ การลดอุณหภูมิของสารจนถึงระดับหนึ่ง จะทาให้สารเปลี่ยนสถานะไป การเปลี่ยนสถานะของสารได้แก่ 1. การหลอมเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นของเหลว เช่น การหลอมเทียน 2. การแข็งตัวของของเหลว เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวไปเป็นของแข็ง เช่น การหล่อเทียน 3. การระเหย เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊ส (โดยเกิดขึ้นเฉพาะตรงผิวหน้าของ ของเหลว) เช่น การตากผ้าให้แห้งด้วยแดด 4. การเดือด เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของเหลวเป็นแก๊ส(โดยเกิดขึ้นจากทุกส่วนของของเหลว) 5. การระเหิด เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากของแข็งเป็นแก๊ส เช่น การระเหิดของน้าแข็งแห้ง , การระเหิดของลูกเหม็น 6. การควบแน่น เป็นการเปลี่ยนสถานะของสารจากแก๊ส(ไอ) เป็นของเหลว เมื่อลดอุณหภูมิ การหลอมเหลว
  • 11. 11 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม การเปลี่ยนสถานะของสารนาไปใช้ประโยชน์ได้ เช่น การทาไอศกรีม การทาน้าแข็งแห้ง การเปลี่ยนสถานะของสารมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม เช่น การเกิดลูกเห็บ และการที่ไอน้าในอากาศ ควบแน่นเป็นหยดน้าแล้วแข็งตัวปกคลุมพืชผักบนยอดเขาสูง พลังงานความร้อนกับการเปลี่ยนสถานะของสาร พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร เรียกว่า ความร้อนแฝง แบ่งออกเป็น 2 ประเภท 1. ความร้อนแฝงของการกลายเป็นไอ หมายถึง พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก ของเหลวเป็นไอ 2. ความร้อนแฝงของการหลอมเหลว หมายถึง พลังงานความร้อนที่ใช้ในการเปลี่ยนสถานะจาก ของแข็งเป็นของเหลว ความร้อนแฝงของสารแต่ละชนิดมีค่าเฉพาะตัว
  • 12. 12 3.2 การละลายของสาร สาระสาคัญ สารเนื้อเดียว หมายถึง การละลายของสารที่เกิดจากการนาสารอย่างน้อย 2 ชนิดมาผสมกัน โดยสาร ที่ผสมกันรวมเข้าด้วยกันทุกส่วน ไม่สามารถบอกได้ว่าส่วนใดเป็นสารอะไร และสารละลายนั้นยังคงแสดงสมบัติของ สารเดิม เมื่อนาสารผสมนี้ไปทดสอบสมบัติต่างๆ จะแสดงสมบัติเหมือนกันทุกส่วน สารละลาย หมายถึง สารเนื้อเดียวอย่างน้อย 2 ชนิด ผสมกัน เช่น น้าเกลือ น้าหวาน สารเนื้อผสม หมายถึง สารที่ผสมกันแล้วไม่รวมเข้าด้วยกันทุกส่วน เนื้อสารมีลักษณะไม่เหมือนกันทุกส่วน เช่น น้าแป้ง ทรายผสมในน้า สารแขวนลอย หมายถึง สารเนื้อผสมที่ประกอบด้วยของแข็ง ซึ่งมีขนาดเล็กกระจายอยู่ในของเหลวหรือ แก๊ส สามารถแยกออกจากกันได้ด้วยการกรอง หรือการทาให้ตกตะกอน สารละลายอาจเกิดจาก 1. ของแข็งละลายในของเหลว เช่น น้าเกลือ หรือน้าเชื่อม เกิดจากเกลือหรือน้าตาลละลายในน้า 2. ของเหลวละลายในของเหลว เช่น แอลกอฮอล์ 70 % (แอลกอฮอล์เช็ดแผล) 3. ของแข็งละลายในของแข็ง เช่น นาก (ทองคา + ทองแดง) , ทองเหลือง (ทองแดง + สังกะสี) 4. แก๊สละลายในของเหลว เช่น น้าอัดลมเกิดจาก แก็สคาร์บอนไดออกไซด์ละลายในของเหลว น้า โซดา 5. แก๊สละลายในแก๊ส เช่น อากาศบริสุทธิ์ (อากาศที่ปราศจากฝุ่นละออง) น้าเกลือเป็น สารละลายครับ
  • 13. 13 สารละลายประกอบด้วย - ตัวละลายหรือตัวถูกละลาย - ตัวทาละลาย น้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือ เป็นตัวละลาย น้าเป็นตัวทาละลาย นาก ประกอบด้วย ทองคาเป็นตัวละลาย ทองแดงเป็นตัวทาละลาย อากาศ ประกอบด้วย แก๊สออกซิเจนและแก๊สอื่น ๆ เป็นตัวละลาย และแก๊สไนโตรเจนเป็นตัว ทาละลาย การบ่งชี้ว่า สารใดเป็นตัวละลาย และสารใดเป็นตัวทาละลายมีหลักในการพิจารณาดังนี้ 1. ถ้าตัวละลายและตัวทาละลายมีสถานะต่างกัน สารที่มีสถานะเดียวกันกับสารละลายจัดเป็นตัวทาละลาย สารที่มีสถานะต่างไปจากสารละลายจัดเป็นตัวละลาย เช่น น้าเกลือ ประกอบด้วย เกลือ และน้า จัดได้ว่าเกลือ เป็นตัวละลายและน้าเป็นตัวทาละลาย เนื่องจากน้ามีสถานะเดียวกันกับน้าเกลือ 2. ถ้าตัวละลายและตัวทาละลายมีสถานะเดียวกัน สารที่มีปริมาณน้อยกว่าจัดเป็นตัวละลาย สารที่มี ปริมาณมากกว่าจัดเป็นตัวทาละลาย เช่น แอลกอฮอล์ 70% ประกอบด้วย แอลกอฮอล์ 70 ส่วน และ น้า 30 ส่วน จัดได้ว่า น้าซึ่งมีปริมาณน้อยกว่าเป็นตัวละลาย ส่วนแอลกอฮอล์ซึ่งมี ปริมาณมากกว่าเป็นตัวทาละลาย
  • 14. 14 การละลายสามารถนาไปใช้ประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ได้ ดังนี้ 1. การแพทย์ ใช้ละลายตัวยา เพื่อผลิตยารักษาโรคต่าง ๆ เช่น ละลายสารอิเล็กโตรไลต์ เพื่อใช้กับคนไข้ที่ อ่อนเพลียและเสียน้ามาก ละลายกลูโคสเพื่อใช้กับคนไข้ที่อ่อนเพลียและขาดอาหาร 2. การเกษตร ใช้ละลายปุ๋ยและสารกาจัดศัตรูพืช เพื่อให้อาหารแก่พืชหรือใช้ฉีดพ่นเพื่อกาจัดศัตรูพืช 3. การซักล้าง ใช้ละลายสารซักล้างเพื่อทาความสะอาดเสื้อผ้าและภาชนะต่าง ๆ 4. การประกอบอาหาร ใช้ละลายสารที่เป็นเครื่องปรุงเพื่อใช้ในหารประกอบอาหารต่าง ๆ การละลายมีผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังต่อไปนี้ (อ่านเฉพาะหัวข้อค่ะ) 1. เกิดฝนกรด เนื่องจากแก๊สจาพวกออกไซด์ของกามะถันและออกไซด์ของไนโตรเจนที่ปล่อยออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม โดยเฉพาะอย่างยิ่งโรงไฟฟ้าถ่านหิน โรงแยกแก๊ส เมื่อฝนตกลงมาละลายแก๊สเหล่านี้เกิดเป็น ฝนกรดตกลงสู่พื้นดิน มีผลทาให้ดินเป็นกรดที่เรียกดินเปรียว ซึ่งไม่สามารถเพาะปลูกได้ และอาจมีผลต่อการเป็น โรคผิวหนังของประชาชนที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นด้วย 2. เกิดน้าเสีย เนื่องจากในดินมีสารจาพวกปุ๋ยและสารกาจัดศัตรูพืชที่เกษตรกรใช้ตกค้างอยู่ เมื่อฝนตกลง มาจะละลายสารเหล่านี้และไหลลงสู่แหล่งน้า นอกจากนั้นยังมีน้าทิ้งจากบ้านเรือนที่ใช้ในการซักล้างต่าง ๆ ไหลลงสู่ แม่น้าลาคลองเป็นจานวนมาก ซึ่งเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้น้าเสียเนื่องจากน้าขาดแก๊สออกซิเจนที่จะไปช่วยในการ ย่อยสลายของแบคทีเรียในน้า ทาให้สัตว์น้าไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้ 3. เกิดน้ากระด้าง เนื่องจากสารบางชนิดที่เป็นสาเหตุของความกระด้างที่ตกค้างอยู่ในดินละลายลงสู่แหล่ง น้า ทาให้ไม่สามารถนามาใช้ประโยชน์ได้ 4. เกิดดินเค็ม บริเวณโดยรอบพื้นที่ทานาเกลือจะมีเกลือละลายและแพร่เข้าไปยังบริเวณใกล้เคียงได้ ทาให้ ดินบริเวณนั้นเค็ม เรียกว่า ดินเค็ม ซึ่งใช้ทาการเพาะปลูกไม่ได้อีกต่อไป
  • 15. 15 3.3 การเกิดสารใหม่ สาระสาคัญ การเกิดสารใหม่ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า การเกิดปฏิกิริยาเคมี แล้วได้สารใหม่ ซึ่งมีสมบัติต่างไปจากสารเดิม และไม่สามารถทาให้กลับเป็นสารเดิมได้ อาจพิจารณาได้จาก การเกิดตะกอน เกิดแก๊ส สีของสารเปลี่ยนไป มีกลิ่น เกิดขึ้น มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ มีแสง มีเสียงเกิดขึ้น เช่น 1. การเผาน้าตาล ในน้าตาลมีสารที่มีคาร์บอน ไฮโดรเจนและออกซิเจน (C ,H ,O) เป็นองค์ประกอบ เมื่อให้ความร้อน น้าจะระเหยออกไป เหลือแต่ถ่านสีดา คือคาร์บอน ไม่สามารถทาคาร์บอนสีดาให้กลับไปเป็น น้าตาลได้เหมือนเดิมอีก 2. การเกิดสนิมเหล็กของแท่งเหล็ก เหล็กเป็นของแข็งสีเทาดา นาไฟฟ้า นาความร้อน แต่เมื่อเกิดสนิม จะมีสีน้าตาลแดง แข็งแต่เปราะ ไม่นาไฟฟ้า ไม่นาความร้อน มีสมบัติแตกต่างไปจากเดิม และไม่สามารถทาสนิม เหล็กให้เป็นเหล็กเหมือนเดิมได้อีก 3. การผสมผงฟูกับน้าส้มสายชู จะเกิดแก๊ส (เกิดฟองฟู่) ขึ้นในขวด ลูกโป่งซึ่งครอบอยู่ที่ปากขวดจะพอง ขึ้น ทั้งนี้เนื่องจากผงฟูเมื่อทาปฏิกิริยากับน้าส้มสายชูจะได้สารใหม่ คือ แก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) จึงทาให้ ลูกโป่งพอง 4. การหยดแอมโมเนียหอมซึ่งเป็นสารไม่มีสี ลงในสารละลายจุนสีซึ่งมีสีฟ้า จะได้สารสีน้าเงินเกิดขึ้น แสดง ว่าสารสีน้าเงินนี้เป็นสารที่เกิดขึ้นใหม่ 5. การหยดน้าปูนใสลงในสารละลายโซดาซักผ้า จะเกิดตะกอนสีขาว แสดงว่า มีสารใหม่เกิดขึ้น ซึ่งมี สมบัติแตกต่างจากสารเดิม 6. การผสมปุ๋ยแอมโมเนียกับปูนขาว จะมีกลิ่นฉุนเกิดขึ้นที่ก้นบีกเกอร์ เย็นลง (อุณหภูมิเปลี่ยนแปลง) และมีหยดน้าเล็ก ๆ เกาะอยู่
  • 16. 16 การเปลี่ยนแปลงของสารนั้น ถ้าสารมีการเปลี่ยนสถานะ และเกิดสารละลาย แล้วสมบัติของสารไม่ เปลี่ยนแปลง ลักษณะเช่นนี้เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ส่วนการเกิดสารใหม่ สมบัติของสารจะแตกต่าง ไปจากสารเดิมโดยสิ้นเชิง การเปลี่ยนแปลงลักษณะนี้เรียกว่า การเปลี่ยนแปลงทางเคมี ประโยชน์จากการเกิดสารใหม่ การเกิดสารใหม่หรือการเกิดปฏิกิริยาเคมีสามารถนาไปใช้ประโยชน์ ได้มากมาย เช่น การทายารักษาโรค การทาสีย้อมผ้า การสังเคราะห์เส้นใย เพื่อใช้ทาเครื่องนุ่งห่มและเครื่องใช้ การสังเคราะห์สารเคมีเพื่อให้ได้วัสดุ ประเภทพลาสติกแข็งซึ่งใช้แทนไม้ ผลิตภัณฑ์เสริมอาหารเพื่อบารุงร่างกาย ผลจากการเกิดสารใหม่ที่มีต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ถ้าเก็บรักษาหรือใช้สารไม่ถูกต้องก็อาจเกิดการระเบิดได้ ซึ่งทา ให้เกิดอันตรายต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมดังตัวอย่างที่เคยเกิดขึ้น เช่น การระเบิดของคลังเก็บอาวุธ การระบิดที่เกิดจากการทาดอกไม้ไฟ ถัง แก๊สระเบิด การระเบิดของสารเร่งดอกลาไยที่ภาคเหนือ
  • 17. 17 4. การแยกสารบางชนิดที่ผสมกัน แนวความคิดหลัก 4.1 การแยกสารเนื้อผสม สาระสาคัญ สารเนื้อผสม เป็นสารผสมที่เนื้อสารไม่ผสมกลมกลืนเหมือนกันทุกส่วน ยังมองเห็นส่วนที่แตกต่างกันอยู่ การแยกสารเนื้อผสม ทาได้โดยวิธีต่าง ๆ ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนผสม กล่าวคือ - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งที่มีขนาดใหญ่ และมีลักษณะแตกต่างกันชัดเจน ใช้วิธีการ เลือกออกหรือหยิบออก เช่น การเลือกเมล็ดข้าวเปลือกออกจากข้าวสาร - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งที่มีขนาดแตกต่างกัน แยกโดยการร่อน เช่น การร่อนเอา ก้อนกรวดที่ปนมากับทรายในการก่อสร้าง - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมชนิดหนึ่งเป็นสารที่ระเหิดได้ แยกโดยการระเหิด เช่น การผสมกันของ พิมเสนกับเกลือซึ่งมีสีขาวเหมือนกัน โดยการให้ความร้อน พิมเสนจะระเหิดออกไป เหลือแต่เกลือ - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งกับของเหลว แยกโดยการกรองด้วยกระดาษกรอง ทั้งนี้ ของแข็งต้องมีขนาดใหญ่จนไม่สามารถลอดผ่านกระดาษกรองได้ เช่น สารเนื้อผสมระหว่างดินกับน้า - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสม เป็นของแข็งกับของเหลวในลักษณะที่เป็นสารแขวนลอย แยกโดยวิธีการทาให้ตกตะกอน เช่น น้าคลองแกว่งด้วยสารส้ม - ถ้าส่วนประกอบของสารเนื้อผสมเป็นของเหลว แยกโดยวิธีตั้งไว้ให้แยกชั้น แล้วรินหรือช้อนออกจากกัน เช่น การผสมกันของน้ามันกับน้า
  • 18. 18 4.2 การแยกสารเนื้อเดียว หรือสารละลาย สาระสาคัญ สารละลาย เป็นสารเนื้อเดียวที่เกิดจากสารอย่างน้อย 2 ชนิดผสมกัน อาจเป็น - ของแข็งกับของเหลว เช่น น้าเกลือ น้าเชื่อม - ของเหลวกับของเหลว เช่น แอลกอฮอล์ 70 % ใช้เช็ดแผล เป็นสารผสมระหว่าง เอทิลแอลกอฮอล์ 70 ส่วน กับน้า 30 ส่วนโดยปริมาตร - แก๊สกับของเหลว เช่น น้าอัดลม ซึ่งอัดแก๊สคาร์บอนไดออกไซด์ที่มีความดันสูง ลงไปในน้าหวาน - ของแข็งกับของแข็ง เช่น นาก ซึ่งเป็นการผสมกันระหว่างทองคากับทองแดง และทองเหลืองเป็น ส่วนผสมระหว่างทองแดงกับสังกะสี การแยกสารเนื้อเดียวที่เป็นสารละลาย ซึ่งมีส่วนประกอบเป็นของแข็งละลายในของเหลว แยกโดย การระเหยแห้ง โดยการใช้ความร้อนช่วยให้ของเหลวระเหยช้า ๆ จนแห้งเหลือแต่ของแข็ง วิธีการแยกสารละลายแต่ละชนิด ขึ้นอยู่กับสมบัติของสารที่เป็นส่วนประกอบ จึงต้องแยกด้วยวิธีที่ แตกต่าง กัน
  • 19. 19 5. สารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน แนวความคิดหลัก 5.1 การจาแนกประเภทของสารที่ใช้ในชีวิตประจาวัน สาระสาคัญ สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันมีมากมาย เป็นทั้งเครื่องอุปโภคและบริโภค สารต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีองค์ประกอบเป็น สารเคมี เมื่อพิจารณาตามการนาไปใช้ประโยชน์และสมบัติความเป็นกรดเบสของสาร สามารถจาแนกเป็นประเภท ใหญ่ ๆ ได้แก่ สารปรุงรสอาหารและสารแต่งสีอาหาร สารทาความสะอาด สารกาจัดแมลงและศัตรูพืช ความเป็นกรดเบส จัดเป็นสมบัติเฉพาะตัวอย่างหนึ่งของสาร การทดสอบความเป็นกรดเบส สามารถใช้ กระดาษลิตมัสหรือน้าสีที่สกัดจากพืชธรรมชาติ สารที่มีสมบัติเป็นกรด จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีน้าเงินเป็นสีแดง สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันที่มีสมบัติเป็น กรด เช่น น้ามะนาว น้าส้มสายชู น้ามะขาม น้าผลไม้ต่าง ๆ สารที่มีสมบัติเป็นเบส จะเปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสสีแดงเป็นสีน้าเงิน สารที่ใช้ในชีวิตประจาวันที่มีสมบัติเป็น เบส เช่น น้าสบู่ น้าผงซักฟอก น้าขี้เถ้า น้ายาล้างจาน แต่น้ายาล้างจานชนิดที่ผสมมะนาวจะมีสมบัติเป็นกรด สารที่มีสมบัติเป็นกลาง จะไม่เปลี่ยนสีกระดาษลิตมัสทั้งสีแดงและน้าเงิน เช่น น้า น้าเกลือ น้าเชื่อม นอกจากจะใช้กระดาษลิตมัสตรวจสอบความเป็นกรดเบสของสารแล้วยัง มีอุปกรณ์อื่น ๆ ที่ใช้ตรวจสอบความเป็นกรดเบสของสารอีก เช่น กระดาษ pH , pHมิเตอร์ - สารที่มีสมบัติเป็นกรดจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 0 - 6 - สารที่มีสมบัติเป็นเบสจะมีค่า pH อยู่ระหว่าง 8 - 14 - สารที่มีสมบัติเป็นกลางมีค่า pH อยู่ระหว่าง 7
  • 20. 20 5.2 สารปรุงรสอาหาร สาระสาคัญ สารปรุงรสอาหาร เป็นสารที่ใช้เพิ่มรสชาติอาหาร มีหลายชนิดมีทั้งให้รสเค็ม หวาน เปรี้ยว เผ็ด ตามความ ต้องการของผู้บริโภค การซื้อสารปรุงรสอาหาร ควรเลือกซื้อชนิดที่มีฉลากกากับเพื่อจะได้ทราบส่วนประกอบข้อมูล โภชนาการ ปริมาณสุทธิ สถานที่ผลิต บริษัทผู้จาหน่าย วันที่ผลิต วันหมดอายุ รวมทั้งมีเครื่องหมาย รับรองคุณภาพจาก อย. และ มอก. สารปรุงรสใกล้ตัวพบได้บ่อย ๆ ตามร้านอาหารที่ต้องระมัดระวังในการใช้เป็นอย่างยิ่ง คือ น้าส้มสายชู พริกป่น ถั่วลิสงป่น โดยสังเกตลักษณะของสารเหล่านี้ เช่น น้าส้มพริกดอง พริกต้องไม่เฉา และไม่เปื่อยยุ่ย น้าส้มต้องไม่ขุ่น ส่วนพริกป่นกับถั่วลิสงป่นต้องใหม่และไม่จับกันเป็นก้อน น้าส้มสายชูที่รับประทานได้มี 2 ชนิด คือ น้าส้มสายชูแท้ ซึ่งได้แก่ น้าส้มสายชูหมัก กับ น้าส้มสายชูกลั่น และน้าส้มสายชูเทียม ส่วนน้าส้มสายชูปลอม ซึ่งทาจากกรดกามะถันผสมน้ามีฤทธิ์กัดอย่าง รุนแรง ห้ามรับประทานเด็ดขาด วิธีการทดสอบน้าส้มสายชูแท้หรือน้าส้มสายชูปลอมทาได้โดยหยด สารละลายเจนเชี่ยนไวโอเลตลงไป ถ้าไม่เปลี่ยนสีแสดงว่าเป็นน้าส้มสายชูแท้หรือน้าส้มสายชูเทียม ถ้าเปลี่ยน สีจากสีม่วงเป็นสีเขียวแสดงว่าเป็นน้าส้มสายชูปลอม สารปรุงรสอาหาร เป็นสารที่ใช้เพิ่มรสชาติอาหาร มีหลายชนิดมีทั้งให้รสเค็ม หวาน เปรี้ยว เผ็ด ตาม ความต้องการของผู้บริโภค เช่น น้าส้มสายชู น้าปลา น้าตาล ซีอิ้ว เต้าเจี้ยว พริกป่น ถั่วลิสงป่น อย่าลืมสังเกตเครื่องหมายรับรอง คุณภาพจาก อย. และ มอก.
  • 21. 21 5.3 สารแต่งสีอาหาร สาระสาคัญ สารที่ทาให้เกิดสี มี 2 ประเภท คือ สีธรรมชาติซึ่งได้จากพืชและสัตว์ กับสีที่ได้จากการสังเคราะห์สารเคมี ซึ่งมี 2 พวก คือ สีผสมอาหารและสีย้อม สีย้อมคือสารที่ทาให้เกิดสีในวัสดุต่าง ๆ เช่น กระดาษ เส้นใย ผม หนัง สารแต่งสีอาหาร เป็นสารที่ช่วยเพิ่มสีสันทาให้อาหารมีสีสันสวยงามน่ารับประทาน สีที่ใช้ผสมอาหารมีทั้งสี ธรรมชาติจากพืชบางชนิด และสีสังเคราะห์สาหรับผสมอาหารเท่านั้น ห้ามใช้สีย้อมผสมในอาหารโดยเด็ดขาด เพราะจะเป็นอันตรายต่อร่างกายทาให้เกิดโรคต่าง ๆ เพื่อความปลอดภัยต่อร่างกายไม่ควรผสมสีในอาหารถ้า จาเป็นต้องใช้ก็ควรเป็นสีจากธรรมชาติหรือสีสาหรับผสมอาหารแต่ต้องใช้ในปริมาณที่น้อยที่สุด
  • 22. 22 5.4 สารทาความสะอาด สาระสาคัญ สารทาความสะอาดมีหลายประเภท ถ้าพิจารณาตามลักษณะการใช้งานจะแบ่งได้เป็นสารทาความ สะอาดร่างกาย สารซักล้างภาชนะและเครื่องนุ่งห่ม และสารทาความสะอาดห้องน้า และเครื่องสุขภัณฑ์ สาร แต่ละประเภทจะผสมสารสาคัญที่มีสมบัติเหมาะสาหรับใช้ประโยชน์เฉพาะอย่างเท่านั้น ถ้านาไปใช้ผิด วัตถุประสงค์อาจจะเป็นอันตรายต่อร่างกาย สารซักล้างแบ่งได้เป็น สารซักล้างเครื่องนุ่งห่มและภาชนะ ซึ่งจะมีสมบัติความเป็นกรด เบส มาก น้อยแตกต่างกันและผสมสารสาคัญสาหรับใช้งานต่างกันจึงใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน สารทาความสะอาดห้องน้าและสุขภัณฑ์มีทั้งชนิดผงและชนิดเหลวมีสมบัติความเป็นกรดเบสแตกต่าง กันสารสาคัญที่เป็นส่วนประกอบสาหรับใช้งานก็ต่างกัน สารในกลุ่มนี้สานักงานอาหารและยา กระทรวง สาธารณสุขจัดให้ เป็นสารอันตรายในบ้านเรือน การเลือกซื้อควรสังเกตที่ฉลากซึ่งต้องแสดงชื่อการค้า ชื่อ และอัตราส่วนของสารสาคัญ ประโยชน์ วิธีใช้ คาเตือน ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิต หรือผู้นาเข้า และที่สาคัญคือ เลขทะเบียนในกรอบเครื่องหมาย อย. การใช้สารทาความสะอาดควรใช้ในปริมาณที่พอเหมาะถ้าใช้มากเกินไปจะเป็นการสิ้นเปลืองและทาลาย สิ่งแวดล้อมนอกจากนั้นยังมีผลต่อร่างกายด้วย ก่อนซื้อหรือใช้สารทาความสะอาดควรอ่านพิจารณาข้อมูล ต่าง ๆ บนฉลากเสียก่อนและปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด
  • 23. 23 5.5 สารกาจัดแมลงและศัตรูพืช สาระสาคัญ สารกาจัดแมลงใช้ในการกาจัดแมลงที่นาโรคภัยมาสู่คน สารกาจัดศัตรูพืชใช้ในการกาจัดวัชพืช แมลง และสัตว์อื่นที่ทาให้พืชไม่เจริญเติบโต สานักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุขจัดให้สาร กาจัดแมลง และสารกาจัดศัตรูพืชเป็นสารอันตรายในบ้านเรือน การเลือกซื้อควรเลือกให้ตรงวัตถุประสงค์ของการใช้งาน เช่น ถ้าต้องการกาจัดแมลงคลาน ก็ให้ซื้อ ผลิตภัณฑ์กาจัดแมลงคลาน ไม่ควรซื้อผลิตภัณฑ์กาจัดยุงมาใช้และควรสังเกตที่ฉลากซึ่งต้องแสดงชื่อการค้า ชื่อและอัตราส่วนของสารสาคัญ ประโยชน์ วิธีใช้ คาเตือน ชื่อและที่ตั้งของผู้ผลิตหรือผู้นาเข้า และที่สาคัญ คือ เลขทะเบียนในกรอบเครื่องหมาย อย. สารกาจัดศัตรูพืชถ้าเหลือตกค้างในพืชจะเป็นอันตรายต่อผู้บริโภค วิธีการลดปริมาณสารกาจัดศัตรูพืช มีหลายวิธี ก่อนบริโภคผักและผลไม้ต้องลดปริมาณสารเหล่านี้เสียก่อน การใช้และการเก็บรักษาสารกาจัดแมลงและสารกาจัดศัตรูพืชต้องทาให้ถูกวิธี ถ้าใช้ไม่ถูกต้องหรือขาด ความระมัดระวังก็จะเกิดอันตรายต่อตัวเอง ครอบครัวและสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยสั่งซื้อสารกาจัดศัตรูพืชเป็นจานวนมาก และเพิ่มมากขึ้นทุกปี ต้องเสียเงินซื้อสารเหล่านี้ มากมาย จานวนผู้ที่ได้รับสารพิษจากสารกาจัดศัตรูพืชสูงขึ้นทุกปี ในปัจจุบันจานวนผู้ป่วยมีแนวโน้มสูงขึ้น จึงควรช่วยกันลดปริมาณการใช้หรือเลิกใช้สารอันตรายเหล่านี้
  • 24. 24 บรรณานุกรม กรมวิชาการ. (2546). หนังสือเรียน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระวิทยาศาสตร์ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2547). คู่มือครู วิทยาศาสตร์ สาหรับ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ : สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.)
  • 25. 25 คณะกรรมการดาเนินงาน คณะกรรมการที่ปรึกษา นายสมศักดิ์ ชอบทาดี ผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 นายนัฐนันต์ ลิไธสง รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบุรีรัมย์ เขต 2 นายยุทธนา ศรีวงษ์ชัย ผู้อานวยการกลุ่มนิเทศ ติดตามและประเมินผลการจัดการศึกษา คณะผู้จัดทาเนื้อหา นางสาวจิตจานงค์ สังเฉวก ครู โรงเรียนวัดบ้านโคกเหล็ก นายปณิธาน ชานาญ ครู โรงเรียนบ้านหนองไม้งาม 2 นางสาวสิริมณี ประเจริญ ครู โรงเรียนบ้านสายโท 1 นางประนอม นุกาศรัมย์ ครู โรงเรียนบ้านเกต นายสุบิน เอี่ยมสิริ ครู โรงเรียนบ้านหนองม่วง นางวรรณี สร้อยสุวรรณ ครู โรงเรียนวัดพลับพลา นางจาริณี เสาเกลียว ครู โรงเรียนจระเข้มาก นางฉวีวรรณ เพ็งดี ครู โรงเรียนบ้านโคกชุม นางสุภาพร เชาว์มะเริง ครู โรงเรียนชุมชนบ้านโนนเจริญ นางสมจิต ศรีวงษ์ชัย ครู โรงเรียนอนุบาลประโคนชัย นายสักศิษฐ์ ศรีสุระวิโรฒ รอง ผอ.โรงเรียนอนุบาลห้วยราช นางวาสนา ทรงประโคน ครู โรงเรียนอนุบาลประโคนชัย นางสุธาดา สัตตบุษย์ ครู โรงเรียนวัดบ้านเมืองโพธิ์ นางพรรณี หวังสุขกลาง ครู โรงเรียนประโคนชัยวิทยา นายชูศักดิ์ ชื่นเย็น ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2 นายเกียรติ เข็มบุบผา ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2 นางสาวราตรี สงวนรัมย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2 ออกแบบ/กราฟิก นายมนต์ชัย เลี้ยงรักษา ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2 นางสาวราตรี สงวนรัมย์ ศึกษานิเทศก์ สพป.บร.2 นางสาวรฐสร แสนดัง ครู โรงเรียนวัดบ้านประทัดบุ นายนิสิต ประเสริฐศรี ครู โรงเรียนอนุบาลห้วยราช นางกรรณิกา ปักเสติ ครู โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 5 นายวีรพล ปักเสติ ครู โรงเรียนนิคมสร้างตนเอง 5 นายวุฒิกร อินกะสังข์ ครู โรงเรียนบ้านไม้แดง