SlideShare a Scribd company logo
LOGO
โรงเรียนเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระศรีนครินทร์ กาญจนบุรี
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3 ( ว 22101)
เรื)อง ดิน
1
รายวิชา วิทยาศาสตร์ 3 ( ว 22101)
เรื)อง ดิน
โดยครูสุกัญญา นาคอ้น
เมื)อเรียนจบนักเรียนต้องสามารถ.....
1. อธิบายลักษณะของหน้าตัดของดิน
สมบัติของดิน และกระบวนการสมบัติของดิน และกระบวนการ
เกิดดิน
2. สํารวจ วิเคราะห์และอธิบายการใช้
ประโยชน์และการปรับปรุง
คุณภาพของดิน
2
ดิน (Soil)ดิน (Soil)
ดิน (Soil) คือ วัตถุ
ธรรมชาติที)ปกคลุมผิวโลกอยู่
บางๆ เกิดขึ8นจากผลของการ
3
ธรรมชาติที)ปกคลุมผิวโลกอยู่
บางๆ เกิดขึ8นจากผลของการ
แปรสภาพหรือผุพังของหิน
และแร่ และอินทรียวัตถุผสม
คลุกเคล้ากัน
การเกิดดินการเกิดดิน
ดินเกิดขึ*นตามธรรมชาติจากการ
สลายตัวของหินและแร่ และการสลายตัว
ของสารอินทรีย์ โดยหินและแร่สลายตัว
สร้างดินมี
ของสารอินทรีย์ โดยหินและแร่สลายตัว
เป็นชิ*นเล็กชิ*นน้อยได้วัตถุต้นกําเนิดดิน
ส่วนสารอินทรีย์สลายตัวได้ฮิวมัส จากนั*นวัตถุ
ต้นกําเนิดดินผสมกับฮิวมัส โดยมีพืชและสัตว์
ช่วยให้กลายเป็นดิน ขั*นตอนของกระบวนการ
สร้างดินมี 2 ขั*นตอน คือ
4
การสลายตัว
กระบวนการที4สลายตัว
กระบวนการสร้างดิน
การสร้างดิน
กระบวนการผสมคลุกเคล้า
การสลายตัว
กระบวนการที4สลายตัว
ผุพังของหิน แร่ ซากพืช
ซากสัตว์ได้วัตถุต้น
กําเนิดดิน และฮิวมัส
ตามลําดับ
กระบวนการผสมคลุกเคล้า
ระหว่างวัตถุต้นกําเนิดดิน
กับฮิวมัสโดยมีพืช และสัตว์
ต่างๆ ช่วยและบางครั*ง
เหตุการณ์ทางธรรมชาติ
เช่น ลม ฝน ก็ช่วยทําให้เกิด
ดินได้
5
6
ฮิวมัส คือ ซากพืชซากสัตว์
ฮิวมัส คือ อะไร?
ฮิวมัส คือ ซากพืชซากสัตว์
ที)เน่าเปื)อยอยู่ในดิน มีสีนํ8าตาลดํา
มีสารอาหารที)พืชต้องการ
7
ปัจจัยที)มีอิทธิพลต่อดินปัจจัยที)มีอิทธิพลต่อดิน
ดินมีการเปลี)ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา คุณสมบัติบาง
ประการเปลี)ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว คุณสมบัติบางประการ
ประการเปลี)ยนแปลงอย่าง
รวดเร็ว คุณสมบัติบางประการ
เปลี)ยนแปลงช้ามาก คุณสมบัติ
ของดินจะเป็นอย่างไรนั8น
ขึ8นอยู่กับปัจจัยหลักสําคัญ 5
ประการ ดังนี8
8
ปัจจัยที)มีอิทธิพลต่อดิน
1. วัตถุต้นกําเนิดดิน
2. สภาพภูมิอากาศ2. สภาพภูมิอากาศ
3. สิ)งมีชีวิตในดิน
4. ภูมิประเทศ
5. ระยะเวลา
9
ส่วนประกอบของดินส่วนประกอบของดิน
รวมกันเป็นแผ่นดินที)ยิ)งใหญ่รวมกันเป็นแผ่นดินที)ยิ)งใหญ่
มารวมสามัคคีกันมารวมสามัคคีกัน
อินทรียวัตถุอินทรียวัตถุ อนิอนินทนทรียรียวัตถุวัตถุ นํ8านํ8า อากาศอากาศ
10
ส่วนประกอบของดิน
อนินทรียวัตถุ (Mineral matter)
ได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายในได้แก่ส่วนของแร่ต่างๆ ภายใน
หินซึ)งผุพังสึกกร่อนเป็นชิ8นเล็กชิ8น
น้อย โดยทางเคมี ฟิสิกส์ และชีวเคมี
11
ส่วนประกอบของดิน
อินทรียวัตถุ (Organic matter)
ได้แก่ส่วนที)เกิดจากการเน่าได้แก่ส่วนที)เกิดจากการเน่า
เปื)อยผุพังหรือสลายตัวของซากพืช
ซากสัตว์ที)ทับถมกัน
12
ส่วนประกอบของดิน
นํ!า (water)
เป็นสารละลายซึ)งพบอยู่ในเป็นสารละลายซึ)งพบอยู่ใน
ช่องระหว่างเม็ดดิน (Aggregate)
หรืออนุภาคดิน (Particle)
13
ส่วนประกอบของดิน
อากาศ (Air)
แทรกซึมอยู่ตามช่องว่างระหว่างเม็ด
ดินในส่วนที4ไม่มีนํ*า ซึ4งเรียกว่า “ ความพรุน”ดินในส่วนที4ไม่มีนํ*า ซึ4งเรียกว่า “ ความพรุน”
อากาศที4อยู่ในดินมีประโยชน์ ออกซิเจนใน
ดินจะมีความสําคัญต่อการเจริญเติบโตของ
พืช ให้ดินมีความร่วนซุยและความอ่อนนุ่ม
ละเอียดกว่าดินชั*นบน
14
ภาพแสดงส่วนประกอบของดิน
15
สมบัติทั)วไปของดิน
16
ประเภทของดิน (ตามความลึก)ประเภทของดิน (ตามความลึก)
ดินชั8นบน ดินชั8นล่าง
1. ดินนับจากผิวดินจนถึงดินที)ลึก
ประมาณ 20 เซนติเมตร
1. ดินที)อยู่ลึกกว่า 20 เซนติเมตร
ขึ8นไปประมาณ 20 เซนติเมตร ขึ8นไป
2. ดินที)มีสารอินทรีย์สะสมมากทําให้
ดินมีสีคลํ8า
2. ดินที)มีสารอินทรีย์สะสมน้อยทํา
ให้ดินมีสีจาง
3. เม็ดดินมีขนาดโต ทําให้ช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินมีขนาดใหญ่นํ8า
และอากาศผ่านสะดวก
3. เม็ดดินมีขนาดเล็ก ทําให้ช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินมีขนาดเล็กนํ8า
และอากาศผ่านยาก
17
ประเภทของดิน (ตามความลึก)ประเภทของดิน (ตามความลึก)
1. ดินชั!นบน มีสารอินทรีย์มาก จึงทําให้ สีเข้ม เนื*อ
ดินหยาบ เม็ดดินมีขนาดใหญ่ เมื4อนําไป ละลายนํ*า
เกิดตะกอนเป็นเศษกิ4งไม้ใบไม้ซากแมลงอยู่ข้างบน
เนื*อดินตกตะกอนอยู่ข้างล่างและตกตะกอนช้า อาจ
มีเศษกิ4งไม้ใบไม้และซากสัตว์บ้างเล็กน้อยมีเศษกิ4งไม้ใบไม้และซากสัตว์บ้างเล็กน้อย
2. ดินชั!นล่าง มีสารอินทรีย์น้อยกว่าดินชั*นบน จึง
ทําให้มีสีอ่อน เนื*อดินละเอียด เม็ดดินมีขนาดเล็ก
เมื4อนําไปละลายนํ*า เนื*อดินตกตะกอนอยู่ข้างล่าง
และตกตะกอนช้า อาจมีเศษกิ4งไม้ใบไม้และ ซาก
สัตว์ล้างเล็กน้อย
18
เนื8อดิน (Soil Texture)เนื8อดิน (Soil Texture)
เนื8อดิน หมายถึง องค์ประกอบเชิงกายภาพของดิน เราจะสังเกตได้ว่า
ดินในแต่ละสถานที)มีลักษณะแตกต่างกัน เนื)องจากดินประกอบขึ8นจากของ
อนุภาคตะกอนหลาย ๆ ขนาด อนุภาคที)ใหญ่ที)สุดคืออนุภาคทราย (Sand)
อนุภาคขนาดรองลงมาคือ อนุภาคทรายแป้ ง (Silt) และอนุภาคที)มีขนาดเล็กที)สุด
คือ อนุภาคดินเหนียว (Clay)
อนุภาคขนาดรองลงมาคือ อนุภาคทรายแป้ ง (Silt) และอนุภาคที)มีขนาดเล็กที)สุด
คือ อนุภาคดินเหนียว (Clay)
19
ประเภทของดิน (ตามลักษณะเนื8อดิน)ประเภทของดิน (ตามลักษณะเนื8อดิน)
ดินทราย - เป็นดินที)มีทรายประกอบอยู่ 70% ขึ8นไป
- นํ8าซึมผ่านง่าย
ดินเหนียว
ดินร่วน
- เป็นดินที)มีดินเหนียวอยู่ 40% ขึ8นไป
- อุ้มนํ8าได้ดี
- เป็นดินที)ประกอบด้วยทราย โคลนตม และ
ดินเหนียว โดยมีทรายและดินเหนียวไม่มาก
- นํ8าและอากาศผ่านได้ดีกว่าดินเหนียว
20
1. ดินทราย เป็นดินที4มีการระบาย
นํ*าและอากาศดีมาก มีความสามารถ
ในการอุ้มนํ*าตํ4า มีความอุดมสมบูรณ์
ตํ4า เพราะความสามารถในการจับยึด
ชนิดของดินชนิดของดิน
ในการอุ้มนํ*าตํ4า มีความอุดมสมบูรณ์
ตํ4า เพราะความสามารถในการจับยึด
ธาตุอาหารพืชมีน้อย พืชที4ชั*นบนดิน
ทรายจึงมักขาดทั*งอาหารและนํ*าเป็น
ดินที4มีเนื*อดินทรายเพราะมีปริมาณ
อนุภาคทรายมาก
21
2. ดินเหนียว เป็นดินที4เมื4อเปียก
แล้วมีความยืดหยุ่น อาจปั*นเป็นก้อนหรือ
คลึงเป็นเส้นยาวได้เหนียวเหนอะหนะ
ติดมือ เป็นดินที4มีการระบายนํ*าและ
อากาศไม่ดี มีความสามารถในการอุ้มนํ*า
ชนิดของดินชนิดของดิน
อากาศไม่ดี มีความสามารถในการอุ้มนํ*า
ได้ดี มีความสามารถในการจับยึดและ
แลกเปลี4ยนธาตุอาหารพืชได้สูง หรือ
ค่อนข้างสูง เป็นดินที4มีก้อนเนื*อละเอียด
เพราะมีปริมาณอนุภาคดินเหนียวอยู่มาก
เหมาะทีจะใช้ทํานาปลูกข้าวเพราะเก็บ
นํ*าได้นาน
22
3. ดินร่วน ได้แก่ ดินที4มี
ส่วนประกอบดินทราย โคลนตม
และดินเหนียวโดยปริมาณดิน
เหนียวและดินทรายไม่มากนัก
ชนิดของดินชนิดของดิน
เหนียวและดินทรายไม่มากนัก
เม็ดดินขนาดพอเหมาะ ฉะนั*น
นํ*าและอากาศจึงไหลผ่านดิน
ร่วนได้ดีกว่าดินเหนียว
23
สีของดิน คือ สีที)เกิดจาก
สารประกอบในดินทําให้ดินมี
สีต่างกัน เช่น ดินที)มีฮิวมัสปน
สีของดิน
สีต่างกัน เช่น ดินที)มีฮิวมัสปน
อยู่มากจะมี สีคลํ8า ดินที)มีเหล็ก
ปนอยู่มากจะมีสีนํ8าตาลแดง
24
สีของดินเกิดจากกระบวนการเกิดดิน และวัตถุต้นกําเนิดที4
เป็นองค์ประกอบ สารประกอบที4ให้สีแก่ดิน
สารประกอบในดิน สีของดิน
เหล็ก เขียว เขียวปนนํ*าเงิน
สีของดิน
เหล็ก เขียว เขียวปนนํ*าเงิน
แมงกานีส ดํา
สารอินทรีย์ ดํา สีคลํ*า
สารประกอบเปอร์ออกไซด์ เหลืองปนนํ*าตาล หรือเทา
25
ความพรุน (Porosity) คือ
ช่องว่างระหว่างเม็ดดิน
เป็นที)สําหรับให้นํ8าและ
ความพรุน (Porosity)
เป็นที)สําหรับให้นํ8าและ
อากาศผ่านเข้าไปในเนื8อ
ดิน ดินชั8นบนมีความ
พรุนมากกว่าดินชั8นล่าง
26
ดินที4เม็ดดินขนาดใหญ่ จะมี
ช่องว่างหรือรูพรุนมากกว่าเม็ด
ดินขนาดเล็ก
ความพรุน (Porosity)
ดินขนาดเล็ก
ดินที4มีความพรุนหรือช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินขนาดใหญ่ นํ*า
และอากาศผ่านได้ดี จะมีผลต่อ
การเพาะปลูก
27
ความเป็นกรดเป็นเบสของดิน
pH = ค่าตัวเลขที)แสดงความเป็นกรด-เบส
มี อยู่ 14 ค่า (1-14)
ถ้า pH < 7 แสดงว่าดินเป็นกรด ยิ4งมีค่าน้อยความเป็นกรดยิ4งสูง
ถ้า pH > 7 แสดงว่าดินเป็นเบส ยิ4งมีค่ามากความเป็นเบสยิ4งสูง
ถ้า pH = 7 แสดงว่าดินเป็นกลาง
28
การทดสอบความเป็นกรด-เบสของดิน
1. ใช้กระดาษลิตมัส
2. ใช้ยูนิเวอร์แซลอินดิเคเตอร์
บอกได้ละเอียดกว่ากระดาษลิตมัสบอกได้ละเอียดกว่ากระดาษลิตมัส
3. ใช้เครื4องวัด pH Meter ละเอียดที4สุด จะบอกค่าเป็นตัวเลขที4
หน้าปัดของเครื4อง
29
ความเป็นกรดเป็นเบสของดินความเป็นกรดเป็นเบสของดิน
ดินเป็นกรด ; pH < 7
- เกิดจากใส่ปุ๋ ยเคมีมากเกินไป เกิด- เกิดจากใส่ปุ๋ ยเคมีมากเกินไป เกิด
จากการย่อยสลายสารอินทรีย์ในดิน
-แก้ไข เติมปูนขาว , Ca(OH)2
หรือดินมาร์ล
- ดินมาร์ล คือ ดินที4มี CaCO3 ใช้
ทําธูป ทําปูนซีเมนต์ ทําแป้งกระแจาะ
30
ความเป็นกรดเป็นเบสของดินความเป็นกรดเป็นเบสของดิน
ดินเป็นเบส ; pH > 7
- เกิดจากดินมีเกลือ Na2CO3 หรือ NaCl- เกิดจากดินมีเกลือ Na2CO3 หรือ NaCl
- การแก้สภาพดินเป็นเบส คือ เติมฮิวมัส หรือ
ผงกํามะถัน
31
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
หน้าตัดดินประกอบด้วย
ดินที4ทับถมกันเป็นชั*นๆ เรียกว่า
“ชั*นดิน” (Soil horizon) ชั*นดินบาง
ชั*นอาจจะบางเพียง 2-3 มิลลิเมตร
“ชั*นดิน” (Soil horizon) ชั*นดินบาง
ชั*นอาจจะบางเพียง 2-3 มิลลิเมตร
หรือหนากว่า 1 เมตร ก็ได้เรา
สามารถจําแนกชั*นดินแต่ละชั*นจาก
สีและโครงสร้างของอนุภาคดินที4
แตกต่างกัน
32
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
1. ชั!นโอ (O Horizon) เป็น
ดินชั8นบนสุดมักมีสีคลํ8าเนื)องจาก
ประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic)ประกอบด้วยอินทรียวัตถุ (Organic)
หรือ ฮิวมัส ซึ)งเป็นซากพืชซากสัตว์
ซึ)งทําให้เกิดความเป็นกรด ดินชั8นโอ
ส่วนใหญ่จะพบในพื8นที)ป่ า ส่วนใน
พื8นที)การเกษตรจะไม่มีชั8นโอในหน้า
ตัดดิน เนื)องจากถูกไถพรวนไปหมด
33
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
2. ชั!นเอ (A Horizon) เป็นดินชั8นบน
(Top soil) เป็นส่วนที)มีนํ8าซึมผ่าน ดินชั8นเอ
ส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินแร่และ
อินทรียวัตถุที)ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วอยู่ด้วยอินทรียวัตถุที)ย่อยสลายสมบูรณ์แล้วอยู่ด้วย
ทําให้ดินมีสีเข้ม ในพื8นที)เกษตรกรรมดินชั8น
เอจะถูกไถพรวน เมื)อมีการย่อยสลายของ
รากพืชและมีการสะสมอินทรียวัตถุ โดย
ปกติโครงสร้างของดินจะเป็นแบบก้อนกลม
แต่ถ้าดินมีการอัดตัวกันแน่น โครงสร้างของ
ดินในชั8นเอจะเป็นแบบแผ่น
34
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
3. ชั!นบี (B Horizon) เป็นชั8น
ดินล่าง (subsoil) เนื8อดินและ
โครงสร้างเป็นแบบก้อนเหลี)ยม หรือ
แท่งผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุแท่งผลึก เกิดจากการชะล้างแร่ธาตุ
ต่างๆ ของสารละลายต่างๆ เคลื)อนตัว
ผ่านชั8นเอ ลงมามาสะสมในชั8นบี ใน
เขตภูมิอากาศชื8น ดินในชั8นบีส่วน
ใหญ่จะมีสีนํ8าตาลปนแดง เนื)องจาก
การสะสมตัวของเหล็กออกไซด์
35
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
4. ชั!นซี (C Horizon) เกิดจาก4. ชั!นซี (C Horizon) เกิดจาก
การผุพังของหินกําเนิดดิน (Parent
rock) ไม่มีการตกตะกอนของวัสดุ
ดินจากการชะล้าง และไม่มีการ
สะสมของอินทรียวัตถุ
36
หน้าตัดดินหน้าตัดดิน
ชั8นอาร์ (R Horizon)
เป็นชั8นของวัตถุต้นกําเนิดดิน
หรือ หินพื8น (Bedrock)
37
การชะล้างพังทลายของดิน
1. เกิดจากการกระทําของมนุษย์ เช่น
- การตัดไม้ทําลายป่ า การทําไร่
เลื)อนลอย
- การขุดหน้าดิน การขุดแร่
2. เกิดจากธรรมชาติ เช่น
- กระแสนํ8า
- กระแสลม
- แผ่นดินไหว- การขุดหน้าดิน การขุดแร่
- การระเบิดภูเขา
- การดูดทรายในแม่นํ8า
- การสร้างถนน
- แผ่นดินไหว
-ภูเขาไฟระเบิด
38
การชะล้างพังทลายของดินการชะล้างพังทลายของดิน
1. ทําให้ดินเสื4อมคุณภาพเพราะดินชั*น
บน ซึ4งมีแร่ธาตุถูกทําลายบน ซึ4งมีแร่ธาตุถูกทําลาย
2. ทําให้แหล่งนํ*าตื*นเขิน
3. ทําให้เกิดอุทกภัย
39
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
1.การปลูกพืชคลุมดิน
การปลูกพืชคลุมดินจะช่วย
ลดการชะล้างพังทลายหน้าดินลดการชะล้างพังทลายหน้าดิน
พืชที4นํามาปลูก ใบหนา
รากแน่น ทนแล้ง
40
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
2. การปลูกพืชหมุนเวียน
เป็นการปลูกพืชต่างชนิดกันใน
พื*นที4เดียวกัน หมุนเวียนกันไป เช่นพื*นที4เดียวกัน หมุนเวียนกันไป เช่น
การปลูกถั4วสลับกับพืชที4เราต้องการ
ผลผลิต
ลดการระบาดของโรคพืช
41
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
3. การปลูกพืชตามแนวระดับ
เป็นการปลูกพืชขนานไปตาม
แนวเดียวกัน ขวางความลาดเอียงแนวเดียวกัน ขวางความลาดเอียง
ของพื*นที4
ช่วยลดการไหล่บ่าของนํ*า
ลดการพังทลายของหน้าดิน
42
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
4. การปลูกพืชแบบขั8นบันได
เป็นวิธีการอนุรักษ์ดินที4มี
ลักษณะเป็นเนินหรือไหล่เขา ทําลักษณะเป็นเนินหรือไหล่เขา ทํา
โดยการสร้างคันดินหรือแนวหิน
ขวางความลาดเอียงของพื*นที4แล้ว
ปลูกบนขั*นบันได
เก็บความชื*นได้ดี
43
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
5. การปลูกพืชแซม
เป็นการปลูกพืชที4ให้ผลผลิต
ในพื*นที4ช่องว่างระหว่างแถวของในพื*นที4ช่องว่างระหว่างแถวของ
พืชหลัก ป้องกันไม้ให้พื*นที4ว่างนั*น
พังทลายและป้องกันวัชพืช
44
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
6. การใช้วัสดุธรรมชาติคลุมดิน
เช่น หญ้าหรือฟาง ช่วยป้ องกัน
การชะล้างพังทลายและช่วยรักษาการชะล้างพังทลายและช่วยรักษา
ความชื*นของดิน
45
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
7. การเติมปุ๋ ย
ช่วยทําให้ดินอุดมสมบูรณ์เสมอ
46
การอนุรักษ์และพัฒนาดินการอนุรักษ์และพัฒนาดิน
8. การปลูกป่ า
ช่วยป้องกันการชะล้าง
พังทลายของหน้าดิน ป่าไม้พังทลายของหน้าดิน ป่าไม้
จะช่วยชะลอการไหลของนํ*า
ทําให้ซึมเข้าสู่ดินได้มากขึ*น
หน้าดินไม่พังทลาย
47
พระมหากษัตริย์นักพัฒนา
48
“ฉันจะปลูกป่ าบนดอยตุง แต่คงจะต้องใช้ระยะ
เวลานานมาก อาจจะ 10 ปี ซึ)งฉันคงไม่ได้เห็น”
พระราชปรารภของสมเด็จย่าที)ทรงต้องการ
ทอดพระเนตรเห็นความเขียวชอุ่มและความสมบูรณ์
ของสภาพป่ าบนดอยตุง ซึ)งในขณะนั8นชาวเขา
สมเด็จย่า
49
ทอดพระเนตรเห็นความเขียวชอุ่มและความสมบูรณ์
ของสภาพป่ าบนดอยตุง ซึ)งในขณะนั8นชาวเขา
พื8นเมืองล้วนดํารงชีพด้วยการถางป่ าทําไร่เลื)อนลอย
ปลูกฝิ)น และกัญชา ไม่เหลือแม้สภาพป่ า ดังนั8นภายใต้
รัฐบาลของ ฯพณฯ พลเอกเปรม ติณสูลานนท์
นายกรัฐมนตรีฯในสมัยนั8นจึงได้ก่อตั8งโครงการพัฒนา
ดอยตุงขึ8นในปี พ.ศ.2531
50
51
52
53

More Related Content

What's hot

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
Supaluk Juntap
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
Varin D' Reno
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
dnavaroj
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
Ta Lattapol
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
Wuttipong Tubkrathok
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
Ta Lattapol
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
Wichai Likitponrak
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศKhwankamon Changwiriya
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
Ta Lattapol
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
Ta Lattapol
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
Napadon Yingyongsakul
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
Pinutchaya Nakchumroon
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
Wichai Likitponrak
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
taew paichibi
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

What's hot (20)

ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์และผลิตภัณฑ์ 8
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
แรง (Force)
แรง (Force)แรง (Force)
แรง (Force)
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 2
 
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลงบทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 2 โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
พันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถมพันธุกรรม ประถม
พันธุกรรม ประถม
 
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
บทที่5แรงในชีวิตประจำวันม 2
 
อุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศอุณหภูมิของอากาศ
อุณหภูมิของอากาศ
 
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถมสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ประถม
 
หินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถมหินและแร่ ประถม
หินและแร่ ประถม
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ (PISA)
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 
บทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสารบทที่ 1 การจำแนกสาร
บทที่ 1 การจำแนกสาร
 
แรงเสียดทาน
แรงเสียดทานแรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน
 
บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2บทที่4โลกของเราม 2
บทที่4โลกของเราม 2
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 

Viewers also liked

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนwebsite22556
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมwebsite22556
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมwebsite22556
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีwebsite22556
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกwebsite22556
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันwebsite22556
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
การเกิดดิน
การเกิดดินการเกิดดิน
การเกิดดิน
sao0231
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
krutitirut
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 

Viewers also liked (11)

หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอนหินอัคนี หินแปร หินตะกอน
หินอัคนี หินแปร หินตะกอน
 
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อมใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
ใบงานที่ 3 ผลของปฏิกิริยาเคมีต่อสิ่งมีชิวิตและสิ่งแวดล้อม
 
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
ใบงานที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
การจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสมการจำแนกสารเนื้อผสม
การจำแนกสารเนื้อผสม
 
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
ใบงานที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลกใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
ใบงานที่ 6 ส่วนประกอบของโลก
 
แรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวันแรงในชีวิตประจำวัน
แรงในชีวิตประจำวัน
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
การเกิดดิน
การเกิดดินการเกิดดิน
การเกิดดิน
 
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
กำหดการจัดประสบการณ์อนุบาล1
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 

ดิน