SlideShare a Scribd company logo
พระไพศาล วิสาโล
ภิกษุแห่งสันติวิธีเพื่อสังคม
เกริ่นนา
• พระไพศาล วิสาโล ได้รับการยอมรับจากสังคมว่าเป็ น
พระนักคิด นักวิชาการ นักกิจกรรมหัวก้าวหน้า และนักสันติวิธีที่
สามารถเชื่อมโยงพุทธศาสนาเข้ากับความเป็นไปในกับสังคม และ
ทาการเผยแพร่แนวคิดของตนผ่านงานเขียนอย่างสม่าเสมอ
นอกเหนือจาก การถูกรับเชิญไปแสดงพระธรรมเทศนาในที่ต่างๆ
ประวัติโดยสังเขป
• ชีวิตในวัยเยาว์
• “พระไพศาล วิสาโล” มีนามเดิมว่า ไพศาล วงศ์วรสิทธิ์ เกิดเมื่อ
วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐
• ด.ช.ไพศาล วงศ์วรวิสุทธิ์ หรือ อั้งยี่ ชื่อที่คนในครอบครัวเรียกกัน
เติบโตมาในครอบครัวระดับกลาง มีพี่น้อง ๕ คน ซึ่ง ด.ช.ไพศาล เป็นคน
ที่ ๔ บิดาของเขาเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ แต่ทว่ากลับเลือกที่จะทา
ธุรกิจเป็นเจ้าของสถานบันเทิง จนทาให้มีภรรยาน้อย และติดการพนัน
ด้วย ด.ช.ไพศาล จึงเติบโตมาท่ามกลางความขัดแย้งของครอบครัว และ
สถานะการเงินที่ไม่ค่อยดีนัก
ด.ช.ไพศาล วงศ์วรวิสุทธิ์
หรือ อั้งยี่
ชื่อที่คนในครอบครัวเรียกกัน
ชีวิตในวัยเยาว์
• เข้าศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและ
มัธยมศึกษา ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ
บางรัก กรุงเทพฯ ตอนเรียนชั้นมัธยม
อยากจะเป็นวิศวกร เพราะมีความสนใจ
ทางวิทยาศาสตร์ ต่อมาก็อยากจะเป็น
หมอ จะได้ช่วยเหลือผู้อื่น แต่เมื่ออยู่ชั้น
มัธยมปีที่ ๕ พี่ชายได้เป็นหมอแล้ว ก็เริ่ม
สนใจการเมือง จึงเข้ าเรียนคณะ
รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์
เพื่อต้องการทาประโยชน์ให้สังคม
พระไพศาล กับ เหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙
• ได้ทาการต่อสู้แบบสันติวิธี ร่วมกับการศึกษาพุทธธรรม และแนวทางอหิงสา
และทุ่มเทเวลาให้กับการทากิจกรรมเพื่อสังคมตามจังหวัดต่างๆเสมอมา รวมทั้งการ
ทาวารสารเพื่อสังคม เช่น ปาจารยสาร ซึ่งมีแนวทางในการประยุกต์พุทธธรรมและ
อหิงสธรรมมาใช้ในชีวิตประจาวัน และช่วยงานกลุ่มอหิงสาซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น
กลุ่มกัลยาณมิตรเต็มตัว
• นายไพศาลยังเป็ นผู้หนึ่งที่เข้าร่วมการประท้วงโดยการอดอาหารที่
มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ในฐานะผู้ที่เชื่อแนวทางอหิงสา เมื่อเกิดเหตุการณ์นอง
เลือดในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ จึงถูกจับกุมร่วมกับผู้ประท้วงอื่นๆ และนาไปกักขังที่
โรงเรียนพลตารวจชลบุรีเป็นเวลา ๓ วัน ก่อนที่จะได้รับการปล่อยตัวในภายหลัง
หลังจากนั้นก็ได้ร่วมเป็นตัวแทนนักศึกษาประชาชนกว่า ๖๐๐ คน ยื่นจดหมายเปิด
ผนึกต่อคณะปฏิวัติให้นิรโทษกรรมนักโทษการเมืองทั้งหมดในเดือนตุลาคม ๒๕๒๐
พระไพศาล กับ เหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙
ชีวิตในวัยทางาน
• หลังจากสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นายไพศาลเข้าทางาน
ร่วมกับ กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม โดยมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการ
พัฒนาชนบทเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และการสนับสนุนโครงการ
อาหารกลางวันสาหรับเด็กชนบท ด้วยความที่เป็นคนที่จริงจังกับการทางาน
จึงเริ่มเกิดความขัดแย้งกับผู้ร่วมงานเพราะมีรูปแบบในการทางาน และ
ทัศนคติที่แตกต่างกัน จนรู้สึกเครียด สับสน ร้อนรน กระวนกระวาย หลังจาก
การจัดการกับความรู้สึกของตนเองในหลายแนวทาง แต่พบว่าไม่มีทางใด
ช่วยแก้ปัญหาให้ตนเองได้ จึงตัดสินใจบวช ๑ พรรษา โดยหวังว่าการฝึก
สมาธิ ๓ เดือน จะช่วยให้จิตใจตนสงบลงได้บ้าง
ชีวิตในวัยทางาน
ชีวิตในร่มกาสาวพัสตร์
• ท่านอุปสมบท ณ วัดทองนพคุณ
กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ และได้ไป
ปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อเทียน จิตตฺสุโภ
ที่วัดสนามใน ตาบลวัดชลอ อาเภอบาง
กรวย จังหวัดนนทบุรี จากนั้นจึงย้ายไป
จาพรรษา ณ วัดป่ าสุคะโต อาเภอ
แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ เพื่อศึกษาธรรม
เและฝึกกรรมฐานกับหลวงพ่อคาเขียน
สุวณฺโณ
หลวงพ่อคาเขียน สุวณฺโณ
วัดป่าสุคะโต
• พระไพศาล เลือกที่จะเดินทางมาจาพรรษาที่วัดป่ าสุคะโต
จ.ชัยภูมิ ในขณะนั้นวัดป่าสุคะโต เป็นวัดที่แร้นแค้นมาก มีพระจา
พรรษาอยู่เพียง ๙ รูป และถูกบูรณะเป็นวัดอย่างแท้จริง ในปี พ.ศ.
๒๕๑๒ ท่ามกลางผืนป่ าที่ถูกทาลายด้วยเงื้อมมือนายทุน แม้จะมี
การขอบิณฑบาตจากพระภิกษุในวัด แต่ก็ไม่สามารถห้ามปรามได้
วัดป่าสุคะโต
• พระไพศาลจึงเดินหน้าดูแลเรื่องการรักษาผืนป่า ที่ใคร ๆ เฝ้ าแต่จะ
หาประโยชน์ และร่วมมือกับคณะสงฆ์วัดป่ามหาวัน ปกป้ องดูแลอนุรักษ์
ป่าภูหลง กุฏิหลังน้อยของท่านตั้งอยู่กลางป่า คือสิ่งที่บ่งบอกให้ท่านรู้ว่า
หน้าที่อนุรักษ์ป่าเป็นงานที่พระสงฆ์ไม่อาจละเลยได้ เนื่องจากป่าไม่ใช่
เพียงต้นกาเนิดของแหล่งน้าเท่านั้น แต่ป่ ายังเป็ นต้นกาเนิดของ
พระพุทธศาสนาด้วย ในพุทธประวัติที่ผ่านมา ต้นไม้ก็เป็นส่วนหนึ่งใน
เรื่องที่เกิดขึ้นเสมอ ท่านจึงกลายเป็นพระเอ็นจีโอในสายตาใคร ๆ นับแต่
นั้นมา
พระไพศาล ภิกษุแห่งสันติวิธี
• แม้จะต้องอุทิศแรงกายไปกับการรักษาผืนป่า และเทศนา
ให้กับชาวบ้าน แต่พระไพศาลก็ยังคงไม่ละทิ้งแนวคิดแห่งความ
เป็นสันติวิธี ท่านเข้าร่วมอบรมแนวคิดสันติวิธีให้กับชาวบ้านอยู่
บ่อยครั้ง ด้วยหวังต้องการให้พวกเขาเหล่านั้น รู้จักกับการต่อสู้ใน
แบบสันติวิธีไม่ใช่ความรุนแรง
พระไพศาล ภิกษุแห่งสันติวิธี
พระไพศาล ภิกษุแห่งสันติวิธี
วิธีการเผยแผ่ธรรมมะผ่านงานเขียน
• แต่ไหนแต่ไรมา พระไพศาล คือผู้ที่ฝักใฝ่ในการอ่านและเขียน
หนังสือหลายเล่มที่ท่านอ่าน เป็นหนังสือที่ให้ความรู้และแนวคิด ท่านจึง
เป็นพระที่สะสมความรู้เอาไว้มาก และอยากแบ่งปันให้ผู้อื่นรับรู้ ดังนั้น
เมื่ออ่านเพื่อรับข้อมูลมาแล้ว พระไพศาลจึงเลือกที่จะถ่ายทอดออกมา
เป็นงานเขียนด้วย ซึ่งผลงานของท่านมีทั้งงานเขียน งานตรวจแก้ต้นฉบับ
งานแปล และเรียบเรียง อะไรก็ตามที่ถูกขอมาท่านก็จะเขียนให้ตามคาขอ
และงานเขียนของท่าน ก็จะถูกตีพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งคอลัมน์ประจา
ในวารสาร หนังสือเล่ม หรือเว็บไซต์ โดยหนังสือที่เป็นที่รู้จักแพร่หลายก็
เช่น พุทธศาสนาไทยในอนาคต : แนวโน้มและทางออกจากวิกฤติ ,
สุขใจในนาคร พรแห่งชีวิต , จิตแจ่มใสดอกไม้บาน เป็นต้น
วิธีการเผยแผ่ธรรมมะผ่านงานเขียน
หลักพุทธธรรมที่พระไพศาลให้ความสาคัญ
พระไพศาล ภิกษุแห่งสันติวิธีเพื่อสังคม
แนวคิดเกี่ยวกับสันติวิธีในทัศนะของพระไพศาล วิสาโล
• พระไพศาล วิสาโล เป็นผู้ที่มีความสนใจในการนาสันติวิธีมา
ใช้ในกระบวนการทางาน และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในแง่มุม
ต่างๆ มาเป็นเวลานาน
• พระไพศาล วิสาโล ได้ให้คานิยามของสันติวิธีไว้ว่า เป็ น
วิธีการแก้ไขความขัดแย้ง หรือการตอบโต้ในแต่ละสถานการณ์
โดยปราศจากการใช้ความรุนแรงต่อคู่กรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ
ประทุษร้ายต่อร่างกายและและชีวิต
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๑. การมองแบบอทวิภาวะ คือ การมองโลกในลักษณะเชื่อมโยง
สัมพันธ์กันทั้งรูปธรรมและนามธรรม โดย ไม่อาจแยกจากกันได้
ต่างพึ่งพิงอาศัยซึ่งกันและกัน
• ในมุมมองของพระไพศาล วิสาโลนั้น โลกเป็นอทวิภาวะตามหลัก
อิทัปปัจจยตา คือ สรรพสิ่งล้วนเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไม่อาจแยกขาด
จากกันได้๗๐ ทัศนะดังกล่าวตามหลักพระพุทธศาสนาช่วยให้บุคคลหลุด
พ้นจากความยึดติดในสมมติบัญญัติ ทั้งยังช่วยให้ถอนออกจาก
ความสาคัญมั่นหมายในตัวตน
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๒. เมตตา – กรุณา สารัตถะของพระพุทธศาสนาที่แท้จริงมิใช่
ศาสนวัตถุ หรือตัวอักษรในพระไตรปิฎก แต่คือธรรมะที่สถิตย์ในใจคน
คอยชี้นากากับ วิถีชีวิตให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรมโดย
มีเมตตา กรุณา และปัญญาเป็นพื้นฐาน
•
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๓. จาคะ พระไพศาล วิสาโลมองว่า จาคะ เป็นเครื่องมือหนึ่งของสันติวิธี
เพราะความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ พร้อมรับฟังความทุกข์และความ
ต้องการของผู้อื่นจะช่วยสมานใจผู้คนให้เป็นหนึ่งเดียวกันได้ ถึงแม้จะมี
ความเห็นแตกต่างกันก็ตาม แม้กระทั่งศัตรูเราก็สามารถชนะใจหรือ
เปลี่ยนเขามาเป็นมิตรได้ด้วยการให้อย่างบริสุทธิ์ใจ จาคะจึงมิได้หมายถึง
การบริจาคเงินให้แก่คนยากจนเท่านั้น แต่เป็นการแบ่งปันโภคทรัพย์และ
ประโยชน์สุขให้แก่ผู้คนอย่างทั่วถึง
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๔. ขันติธรรม ในทัศนะของพระไพศาล วิสาโลนั้น ขันติธรรมมิได้
หมายถึง การอยู่เฉย หรืออดทนต่อการกระทาที่ไม่ถูกต้อง แต่หมายถึง
การอดทนอดกลั้นต่ออารมณ์ของตน โดยเฉพาะ ความโกรธเกลียด ไม่
บันดาลโทสะออกไปง่ายๆ เมื่อพบเห็นสิ่งที่ไม่ถูกใจหรือไม่ถูกต้อง
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๕. สัจจะ แนวทางสันติวิธีจะใช้พลังของสัจจะเข้าไปสั่นคลอนความ
อยุติธรรม ซึ่งสามารถแสดงออกได้ทั้งทางกาย และทางวาจา เพื่อย้าถึง
การยึดมั่นในความจริงโดยไม่ใช้อาวุธและกาลัง การแสดงถึงสัจจะมักทา
ร่วมไปกับหลักอหิงสา
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๖. สติปัญญา การจัดการกับอารมณ์ที่ถูกปรุงแต่งด้วยกิเลสและอคตินั้น
ต้องอาศัยสติเป็นหลัก เพราะนอกจากสติจะช่วยให้เรารู้เท่าทันอารมณ์
และไม่ปล่อยใจให้ปรุงแต่งไปตามอคติแล้ว ยังช่วยให้รับรู้สิ่งต่างๆ ตาม
ความเป็นจริง ที่สาคัญ คือ สติสามารถเตือนใจให้รู้จักการให้อภัย หรือใช้
ปัญญาในการแก้ไขความขัดแย้ง เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายได้
การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา
ของพระไพศาล วิสาโล
• หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี
• ๗. อภัยทาน ในทัศนะของพระไพศาล วิสาโลนั้น การให้อภัยมิใช่การลืม
อดีต แต่เป็นการไม่ยินยอมให้เหตุการณ์ในอดีตมาทาให้เราต้องทุกข์อีก
ต่อไป สามารถนาอดีตมาใช้เป็นเครื่องเตือนใจว่าการบ่มเพาะความโกรธ
ความเกลียดนั้น ล้วนทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนต้องเป็นทุกข์ โดยเฉพาะ
อย่างยิ่งตัวเราเอง การเรียนรู้ที่จะให้อภัยแก่ผู้ที่ทาร้ายเรานั้น จะทาให้เรา
รู้สึกผ่อนคลาย ทั้งยังเป็นการถอดถอนความยึดมั่นถือมั่นที่เคยมีในใจเรา
ให้เบาบางลง
ผลกระทบต่อชุมชนและสังคม
• ความสาเร็จของพระไพศาล วิสาโลในการเผยแพร่พุทธสันติ
วิธี คือ การที่ท่านรู้จักใช้จุดเด่นที่ท่านมีมาประกอบ เช่น การใช้
ความสามารถในการเขียน และใช้ภาษาง่ายๆถ่ายทอดให้แก่คนรุ่น
ใหม่เข้าใจ การใช้เทคโนโลยีต่างๆเป็นช่องทางของการเผยแพร่ ทั้ง
ในรูปของงานเขียนผ่านหนังสือ นิตยสาร อินเตอร์เน็ต การให้
สัมภาษณ์ผ่านโทรทัศน์ วิทยุ เคเบิลทีวี เป็นต้น
ผลกระทบต่อชุมชนและสังคม
• นอกจากนี้ท่านยังใช้ระบบสร้างเครือข่าย หรือกลุ่มคนที่มี
แนวคิดใกล้เคียงกัน เพื่อให้เกิดพลังของสันติวิธีเพิ่มขึ้น เช่น การ
ร่วมมือกับศูนย์สันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล ในการลดขัดแย้งที่
เกิดขึ้นในระหว่างการประท้วงของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อเดือน
พฤษภาคม ๒๕๕๓ โดยการส่งอาสาสมัครลงพื้นที่รับฟังความ
คิดเห็น เพื่อให้ผู้ประท้วงรู้สึกผ่อนคลาย และรู้สึกว่ายังมีคน
มองเห็นความสาคัญของพวกเขาอยู่
สรุป
• พระไพศาล วิสาโล เป็ นพระสงฆ์ ที่นาหลักพุทธธรรมมา
ประยุกต์ใช้กับสังคม ในการขับเคลื่อนงานเพื่อสังคมในลักษณะ
ต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ป่ าไม้ การเผยแพร่แนวคิดสันติวิธีเพื่อลด
ความขัดแย้งในสังคม
• นอกจากนี้ท่านยังเป็ นที่ปรึกษาให้กับองค์กรที่ทางานด้าน
สังคมในอีกหลายองค์กรเช่น เครือข่ายพุทธิกา เป็นต้น
• ดั้งนั้นพระไพศาล จึงเป็นตัวอย่างของพระสงฆ์ที่นาหลักการ
ทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้กับการสร้างสรรค์และแก้ปัญหา
สังคมในปัจจุบันได้อย่างเป็นรูปธรรม
จบการนาเสนอ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

Viewers also liked

ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
Padvee Academy
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
Padvee Academy
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
Padvee Academy
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธี
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
Padvee Academy
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
Padvee Academy
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
Padvee Academy
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๓ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๑)
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีกปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๒ ประวัติศาสตร์และศาสนากรีก
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเล่าจื๊อ
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนาแนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
แนวคิดเรื่องการพยากรณ์ในคัมภีร์พุทธศาสนา
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาขงจื๊อ
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อวิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาเม่งจื๊อ
 
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
ปรัชญาธรรมและความงามจากพุทธศิลปะ
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญาประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
ประวัติและวิวัฒนาการแนวความคิดทางปรัชญา
 
พุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธีพุทธสันติวิธี
พุทธสันติวิธี
 
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาทวิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
วิเคราะห์ปฏิจจสมุปบาท
 
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่องปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๕ ปรัชญากรีกสมัยรุ่งเรื่อง
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสาการบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
การบูรณาการหลักการทางพระพุทธศาสนาในการทำงานจิตอาสา
 
ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์ไตรลักษณ์
ไตรลักษณ์
 
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงานยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
ยกเคลื่องความคิด พลิกชีวิตการงาน
 
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิดสังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
สังสารวัฏ การเวียนว่ายตายเกิด
 

Similar to พระไพศาล วิสาโล

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาTongsamut vorasan
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย Maha Duangthip Dhamma
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATIONninecomp
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
Carzanova
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
Jack Like
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตspk-2551
 
Editorstart
EditorstartEditorstart
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1thnaporn999
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
Wat Thai Washington, D.C.
 

Similar to พระไพศาล วิสาโล (20)

590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
590802 บทที่-1-แก้ไขแล้ว
 
ฮินดู
ฮินดูฮินดู
ฮินดู
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
ความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนาความรู้ทางพุทธศาสนา
ความรู้ทางพุทธศาสนา
 
แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย แรงบันดาลใจจากความตาย
แรงบันดาลใจจากความตาย
 
Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010Saeng Dhamma June, 2010
Saeng Dhamma June, 2010
 
2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION2010 Love Read @NATION
2010 Love Read @NATION
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดียพระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
พระพุทธศาสนาในประเทศอินเดีย
 
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
รวบรวมศรัทธาผ้าป่าสู้น้ำท่วม 15 เม.ย. 2555
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโตประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
ประวัติ หลวงปู่มั่น ภูริทติโต
 
Editorstart
EditorstartEditorstart
Editorstart
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษพระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
พระพุทธศาสนาในประเทศอังกฤษ
 
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1ศาสนาเปรียบเทียบ 1
ศาสนาเปรียบเทียบ 1
 
Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010Saengdhamma in august 2010
Saengdhamma in august 2010
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

Recently uploaded

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ArnonTonsaipet
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
ssuser0ffe4b
 

Recently uploaded (6)

ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docxส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
ส่วนหน้า สมฐ. วิทยาศาสตร์ ม.1 เล่ม 1.docx
 
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
ภาษาอังกฤษ สำหรับนักวิปัสสนา เพื่อฝึกปฎิบัติ
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdfเรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
เรียนภาษาจีนด้วยตนเอง ฟรี ๒๔ ชั่วโมง.pdf
 

พระไพศาล วิสาโล

  • 2. เกริ่นนา • พระไพศาล วิสาโล ได้รับการยอมรับจากสังคมว่าเป็ น พระนักคิด นักวิชาการ นักกิจกรรมหัวก้าวหน้า และนักสันติวิธีที่ สามารถเชื่อมโยงพุทธศาสนาเข้ากับความเป็นไปในกับสังคม และ ทาการเผยแพร่แนวคิดของตนผ่านงานเขียนอย่างสม่าเสมอ นอกเหนือจาก การถูกรับเชิญไปแสดงพระธรรมเทศนาในที่ต่างๆ
  • 3. ประวัติโดยสังเขป • ชีวิตในวัยเยาว์ • “พระไพศาล วิสาโล” มีนามเดิมว่า ไพศาล วงศ์วรสิทธิ์ เกิดเมื่อ วันที่ ๑๐ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๐ • ด.ช.ไพศาล วงศ์วรวิสุทธิ์ หรือ อั้งยี่ ชื่อที่คนในครอบครัวเรียกกัน เติบโตมาในครอบครัวระดับกลาง มีพี่น้อง ๕ คน ซึ่ง ด.ช.ไพศาล เป็นคน ที่ ๔ บิดาของเขาเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถ แต่ทว่ากลับเลือกที่จะทา ธุรกิจเป็นเจ้าของสถานบันเทิง จนทาให้มีภรรยาน้อย และติดการพนัน ด้วย ด.ช.ไพศาล จึงเติบโตมาท่ามกลางความขัดแย้งของครอบครัว และ สถานะการเงินที่ไม่ค่อยดีนัก
  • 5. ชีวิตในวัยเยาว์ • เข้าศึกษาระดับชั้นประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา ณ โรงเรียนอัสสัมชัญ บางรัก กรุงเทพฯ ตอนเรียนชั้นมัธยม อยากจะเป็นวิศวกร เพราะมีความสนใจ ทางวิทยาศาสตร์ ต่อมาก็อยากจะเป็น หมอ จะได้ช่วยเหลือผู้อื่น แต่เมื่ออยู่ชั้น มัธยมปีที่ ๕ พี่ชายได้เป็นหมอแล้ว ก็เริ่ม สนใจการเมือง จึงเข้ าเรียนคณะ รัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาตร์ เพื่อต้องการทาประโยชน์ให้สังคม
  • 6. พระไพศาล กับ เหตุการณ์ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ • ได้ทาการต่อสู้แบบสันติวิธี ร่วมกับการศึกษาพุทธธรรม และแนวทางอหิงสา และทุ่มเทเวลาให้กับการทากิจกรรมเพื่อสังคมตามจังหวัดต่างๆเสมอมา รวมทั้งการ ทาวารสารเพื่อสังคม เช่น ปาจารยสาร ซึ่งมีแนวทางในการประยุกต์พุทธธรรมและ อหิงสธรรมมาใช้ในชีวิตประจาวัน และช่วยงานกลุ่มอหิงสาซึ่งต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น กลุ่มกัลยาณมิตรเต็มตัว • นายไพศาลยังเป็ นผู้หนึ่งที่เข้าร่วมการประท้วงโดยการอดอาหารที่ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์ในฐานะผู้ที่เชื่อแนวทางอหิงสา เมื่อเกิดเหตุการณ์นอง เลือดในวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๑๙ จึงถูกจับกุมร่วมกับผู้ประท้วงอื่นๆ และนาไปกักขังที่ โรงเรียนพลตารวจชลบุรีเป็นเวลา ๓ วัน ก่อนที่จะได้รับการปล่อยตัวในภายหลัง หลังจากนั้นก็ได้ร่วมเป็นตัวแทนนักศึกษาประชาชนกว่า ๖๐๐ คน ยื่นจดหมายเปิด ผนึกต่อคณะปฏิวัติให้นิรโทษกรรมนักโทษการเมืองทั้งหมดในเดือนตุลาคม ๒๕๒๐
  • 8. ชีวิตในวัยทางาน • หลังจากสาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี นายไพศาลเข้าทางาน ร่วมกับ กลุ่มประสานงานศาสนาเพื่อสังคม โดยมีหน้าที่รับผิดชอบด้านการ พัฒนาชนบทเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน และการสนับสนุนโครงการ อาหารกลางวันสาหรับเด็กชนบท ด้วยความที่เป็นคนที่จริงจังกับการทางาน จึงเริ่มเกิดความขัดแย้งกับผู้ร่วมงานเพราะมีรูปแบบในการทางาน และ ทัศนคติที่แตกต่างกัน จนรู้สึกเครียด สับสน ร้อนรน กระวนกระวาย หลังจาก การจัดการกับความรู้สึกของตนเองในหลายแนวทาง แต่พบว่าไม่มีทางใด ช่วยแก้ปัญหาให้ตนเองได้ จึงตัดสินใจบวช ๑ พรรษา โดยหวังว่าการฝึก สมาธิ ๓ เดือน จะช่วยให้จิตใจตนสงบลงได้บ้าง
  • 10. ชีวิตในร่มกาสาวพัสตร์ • ท่านอุปสมบท ณ วัดทองนพคุณ กรุงเทพฯ ในปี พ.ศ. ๒๕๒๖ และได้ไป ปฏิบัติธรรมกับหลวงพ่อเทียน จิตตฺสุโภ ที่วัดสนามใน ตาบลวัดชลอ อาเภอบาง กรวย จังหวัดนนทบุรี จากนั้นจึงย้ายไป จาพรรษา ณ วัดป่ าสุคะโต อาเภอ แก้งคร้อ จังหวัดชัยภูมิ เพื่อศึกษาธรรม เและฝึกกรรมฐานกับหลวงพ่อคาเขียน สุวณฺโณ
  • 12. วัดป่าสุคะโต • พระไพศาล เลือกที่จะเดินทางมาจาพรรษาที่วัดป่ าสุคะโต จ.ชัยภูมิ ในขณะนั้นวัดป่าสุคะโต เป็นวัดที่แร้นแค้นมาก มีพระจา พรรษาอยู่เพียง ๙ รูป และถูกบูรณะเป็นวัดอย่างแท้จริง ในปี พ.ศ. ๒๕๑๒ ท่ามกลางผืนป่ าที่ถูกทาลายด้วยเงื้อมมือนายทุน แม้จะมี การขอบิณฑบาตจากพระภิกษุในวัด แต่ก็ไม่สามารถห้ามปรามได้
  • 13. วัดป่าสุคะโต • พระไพศาลจึงเดินหน้าดูแลเรื่องการรักษาผืนป่า ที่ใคร ๆ เฝ้ าแต่จะ หาประโยชน์ และร่วมมือกับคณะสงฆ์วัดป่ามหาวัน ปกป้ องดูแลอนุรักษ์ ป่าภูหลง กุฏิหลังน้อยของท่านตั้งอยู่กลางป่า คือสิ่งที่บ่งบอกให้ท่านรู้ว่า หน้าที่อนุรักษ์ป่าเป็นงานที่พระสงฆ์ไม่อาจละเลยได้ เนื่องจากป่าไม่ใช่ เพียงต้นกาเนิดของแหล่งน้าเท่านั้น แต่ป่ ายังเป็ นต้นกาเนิดของ พระพุทธศาสนาด้วย ในพุทธประวัติที่ผ่านมา ต้นไม้ก็เป็นส่วนหนึ่งใน เรื่องที่เกิดขึ้นเสมอ ท่านจึงกลายเป็นพระเอ็นจีโอในสายตาใคร ๆ นับแต่ นั้นมา
  • 14.
  • 15. พระไพศาล ภิกษุแห่งสันติวิธี • แม้จะต้องอุทิศแรงกายไปกับการรักษาผืนป่า และเทศนา ให้กับชาวบ้าน แต่พระไพศาลก็ยังคงไม่ละทิ้งแนวคิดแห่งความ เป็นสันติวิธี ท่านเข้าร่วมอบรมแนวคิดสันติวิธีให้กับชาวบ้านอยู่ บ่อยครั้ง ด้วยหวังต้องการให้พวกเขาเหล่านั้น รู้จักกับการต่อสู้ใน แบบสันติวิธีไม่ใช่ความรุนแรง
  • 18. วิธีการเผยแผ่ธรรมมะผ่านงานเขียน • แต่ไหนแต่ไรมา พระไพศาล คือผู้ที่ฝักใฝ่ในการอ่านและเขียน หนังสือหลายเล่มที่ท่านอ่าน เป็นหนังสือที่ให้ความรู้และแนวคิด ท่านจึง เป็นพระที่สะสมความรู้เอาไว้มาก และอยากแบ่งปันให้ผู้อื่นรับรู้ ดังนั้น เมื่ออ่านเพื่อรับข้อมูลมาแล้ว พระไพศาลจึงเลือกที่จะถ่ายทอดออกมา เป็นงานเขียนด้วย ซึ่งผลงานของท่านมีทั้งงานเขียน งานตรวจแก้ต้นฉบับ งานแปล และเรียบเรียง อะไรก็ตามที่ถูกขอมาท่านก็จะเขียนให้ตามคาขอ และงานเขียนของท่าน ก็จะถูกตีพิมพ์ในรูปแบบต่าง ๆ ทั้งคอลัมน์ประจา ในวารสาร หนังสือเล่ม หรือเว็บไซต์ โดยหนังสือที่เป็นที่รู้จักแพร่หลายก็ เช่น พุทธศาสนาไทยในอนาคต : แนวโน้มและทางออกจากวิกฤติ , สุขใจในนาคร พรแห่งชีวิต , จิตแจ่มใสดอกไม้บาน เป็นต้น
  • 21. แนวคิดเกี่ยวกับสันติวิธีในทัศนะของพระไพศาล วิสาโล • พระไพศาล วิสาโล เป็นผู้ที่มีความสนใจในการนาสันติวิธีมา ใช้ในกระบวนการทางาน และการแก้ปัญหาความขัดแย้งในแง่มุม ต่างๆ มาเป็นเวลานาน • พระไพศาล วิสาโล ได้ให้คานิยามของสันติวิธีไว้ว่า เป็ น วิธีการแก้ไขความขัดแย้ง หรือการตอบโต้ในแต่ละสถานการณ์ โดยปราศจากการใช้ความรุนแรงต่อคู่กรณี โดยเฉพาะอย่างยิ่งการ ประทุษร้ายต่อร่างกายและและชีวิต
  • 22. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๑. การมองแบบอทวิภาวะ คือ การมองโลกในลักษณะเชื่อมโยง สัมพันธ์กันทั้งรูปธรรมและนามธรรม โดย ไม่อาจแยกจากกันได้ ต่างพึ่งพิงอาศัยซึ่งกันและกัน • ในมุมมองของพระไพศาล วิสาโลนั้น โลกเป็นอทวิภาวะตามหลัก อิทัปปัจจยตา คือ สรรพสิ่งล้วนเชื่อมโยงสัมพันธ์กันอย่างไม่อาจแยกขาด จากกันได้๗๐ ทัศนะดังกล่าวตามหลักพระพุทธศาสนาช่วยให้บุคคลหลุด พ้นจากความยึดติดในสมมติบัญญัติ ทั้งยังช่วยให้ถอนออกจาก ความสาคัญมั่นหมายในตัวตน
  • 23. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๒. เมตตา – กรุณา สารัตถะของพระพุทธศาสนาที่แท้จริงมิใช่ ศาสนวัตถุ หรือตัวอักษรในพระไตรปิฎก แต่คือธรรมะที่สถิตย์ในใจคน คอยชี้นากากับ วิถีชีวิตให้เป็นไปอย่างถูกต้องตามทานองคลองธรรมโดย มีเมตตา กรุณา และปัญญาเป็นพื้นฐาน •
  • 24. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๓. จาคะ พระไพศาล วิสาโลมองว่า จาคะ เป็นเครื่องมือหนึ่งของสันติวิธี เพราะความเอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ เสียสละ พร้อมรับฟังความทุกข์และความ ต้องการของผู้อื่นจะช่วยสมานใจผู้คนให้เป็นหนึ่งเดียวกันได้ ถึงแม้จะมี ความเห็นแตกต่างกันก็ตาม แม้กระทั่งศัตรูเราก็สามารถชนะใจหรือ เปลี่ยนเขามาเป็นมิตรได้ด้วยการให้อย่างบริสุทธิ์ใจ จาคะจึงมิได้หมายถึง การบริจาคเงินให้แก่คนยากจนเท่านั้น แต่เป็นการแบ่งปันโภคทรัพย์และ ประโยชน์สุขให้แก่ผู้คนอย่างทั่วถึง
  • 25. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๔. ขันติธรรม ในทัศนะของพระไพศาล วิสาโลนั้น ขันติธรรมมิได้ หมายถึง การอยู่เฉย หรืออดทนต่อการกระทาที่ไม่ถูกต้อง แต่หมายถึง การอดทนอดกลั้นต่ออารมณ์ของตน โดยเฉพาะ ความโกรธเกลียด ไม่ บันดาลโทสะออกไปง่ายๆ เมื่อพบเห็นสิ่งที่ไม่ถูกใจหรือไม่ถูกต้อง
  • 26. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๕. สัจจะ แนวทางสันติวิธีจะใช้พลังของสัจจะเข้าไปสั่นคลอนความ อยุติธรรม ซึ่งสามารถแสดงออกได้ทั้งทางกาย และทางวาจา เพื่อย้าถึง การยึดมั่นในความจริงโดยไม่ใช้อาวุธและกาลัง การแสดงถึงสัจจะมักทา ร่วมไปกับหลักอหิงสา
  • 27.
  • 28. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๖. สติปัญญา การจัดการกับอารมณ์ที่ถูกปรุงแต่งด้วยกิเลสและอคตินั้น ต้องอาศัยสติเป็นหลัก เพราะนอกจากสติจะช่วยให้เรารู้เท่าทันอารมณ์ และไม่ปล่อยใจให้ปรุงแต่งไปตามอคติแล้ว ยังช่วยให้รับรู้สิ่งต่างๆ ตาม ความเป็นจริง ที่สาคัญ คือ สติสามารถเตือนใจให้รู้จักการให้อภัย หรือใช้ ปัญญาในการแก้ไขความขัดแย้ง เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ทั้งสองฝ่ายได้
  • 29. การจัดการความขัดแย้งด้วยหลักพระพุทธศาสนา ของพระไพศาล วิสาโล • หลักธรรมที่ส่งเสริมสันติวิธี • ๗. อภัยทาน ในทัศนะของพระไพศาล วิสาโลนั้น การให้อภัยมิใช่การลืม อดีต แต่เป็นการไม่ยินยอมให้เหตุการณ์ในอดีตมาทาให้เราต้องทุกข์อีก ต่อไป สามารถนาอดีตมาใช้เป็นเครื่องเตือนใจว่าการบ่มเพาะความโกรธ ความเกลียดนั้น ล้วนทาให้ผู้ที่เกี่ยวข้องทุกคนต้องเป็นทุกข์ โดยเฉพาะ อย่างยิ่งตัวเราเอง การเรียนรู้ที่จะให้อภัยแก่ผู้ที่ทาร้ายเรานั้น จะทาให้เรา รู้สึกผ่อนคลาย ทั้งยังเป็นการถอดถอนความยึดมั่นถือมั่นที่เคยมีในใจเรา ให้เบาบางลง
  • 30. ผลกระทบต่อชุมชนและสังคม • ความสาเร็จของพระไพศาล วิสาโลในการเผยแพร่พุทธสันติ วิธี คือ การที่ท่านรู้จักใช้จุดเด่นที่ท่านมีมาประกอบ เช่น การใช้ ความสามารถในการเขียน และใช้ภาษาง่ายๆถ่ายทอดให้แก่คนรุ่น ใหม่เข้าใจ การใช้เทคโนโลยีต่างๆเป็นช่องทางของการเผยแพร่ ทั้ง ในรูปของงานเขียนผ่านหนังสือ นิตยสาร อินเตอร์เน็ต การให้ สัมภาษณ์ผ่านโทรทัศน์ วิทยุ เคเบิลทีวี เป็นต้น
  • 31. ผลกระทบต่อชุมชนและสังคม • นอกจากนี้ท่านยังใช้ระบบสร้างเครือข่าย หรือกลุ่มคนที่มี แนวคิดใกล้เคียงกัน เพื่อให้เกิดพลังของสันติวิธีเพิ่มขึ้น เช่น การ ร่วมมือกับศูนย์สันติวิธี มหาวิทยาลัยมหิดล ในการลดขัดแย้งที่ เกิดขึ้นในระหว่างการประท้วงของกลุ่มคนเสื้อแดงเมื่อเดือน พฤษภาคม ๒๕๕๓ โดยการส่งอาสาสมัครลงพื้นที่รับฟังความ คิดเห็น เพื่อให้ผู้ประท้วงรู้สึกผ่อนคลาย และรู้สึกว่ายังมีคน มองเห็นความสาคัญของพวกเขาอยู่
  • 32. สรุป • พระไพศาล วิสาโล เป็ นพระสงฆ์ ที่นาหลักพุทธธรรมมา ประยุกต์ใช้กับสังคม ในการขับเคลื่อนงานเพื่อสังคมในลักษณะ ต่างๆ เช่น การอนุรักษ์ป่ าไม้ การเผยแพร่แนวคิดสันติวิธีเพื่อลด ความขัดแย้งในสังคม • นอกจากนี้ท่านยังเป็ นที่ปรึกษาให้กับองค์กรที่ทางานด้าน สังคมในอีกหลายองค์กรเช่น เครือข่ายพุทธิกา เป็นต้น • ดั้งนั้นพระไพศาล จึงเป็นตัวอย่างของพระสงฆ์ที่นาหลักการ ทางพระพุทธศาสนามาปรับใช้กับการสร้างสรรค์และแก้ปัญหา สังคมในปัจจุบันได้อย่างเป็นรูปธรรม
  • 34.