SlideShare a Scribd company logo
๑ • ศิลปะสมัยอยุธยา - อู่ทอง ๑
๒ • ศิลปะสมัยอยุธยา - อู่ทอง ๒
๓ • ศิลปะสมัยอยุธยา - สุพรรณภูมิ
๔ • ศิลปะสมัยอยุธยา - สุโขทัย
๕ • ศิลปะสมัยอยุธยา - ปราสาททอง
๖ • ศิลปะสมัยอยุธยา - บ้านพลูหลวง
 การที่พระพุทธรูปศิลปะอยุธยารับอิทธิพลศิลปะอู่ทองมาเป็ น
แม่แบบ ทาให้พระพุทธรูปศิลปะอยุธยาตอนต้นคล้ายศิลปะอู่ทอง
เป็ นอย่างมาก และหากจะกล่าวอย่างชัดเจนแล้วพระพุทธรูปศิลปะ
อยุธยาตอนต้นก็คือศิลปะสกุลช่างอู่ทองนั้นเอง
 พระพุทธรูปศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๑ มีอายุเริ่มตั้งแต่สมัย
สมเด็จพระรามาธิบดีที่ ๑ (พระเจ้าอู่ทอง) ถึงสมัยสมเด็จพระราม
ราชาธิราช ซึ่งเป็นช่วงก่อตัวของศิลปะอยุธยา โดยรับอิทธิพลศิลปะอู่
ทองมาเป็ นแม่แบบ และรับอิทธิพลศิลปะสุโขทัยและศิลปะล้านนา
เข้ามาผสมผสานบ้างเล็กน้อย
 การรับอิทธิพลศิลปะอู่ทองซึ่งมีลักษณะทรงพลังอานาจมา
ผสมผสานกับศิลปะสุโขทัยซึ่งมีลักษณะอ่อนหวาน ทาให้ศิลปะ
อยุธยาระยะแรกหรือศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๑ มีพุทธลักษณะ
ผสมผสานระหว่างความทรงพลังอานาจกับความอ่อนหวาน แต่จะ
แสดงความทรงพลังอานาจมากกว่า กล่าวคือพระพักตร์ (หน้า)
จะแสดงอาการแย้มพระสรวล (อมยิ้ม) เล็กน้อย แต่จะแฝงพลัง
อานาจอยู่ภายใน
 พระพุทธปรางห้ามญาติ ศิลปะสมัย
อยุธยา-อู่ทอง ๑ แสดงรูปแบบ
ศิลปะที่ได้รับอิทธิพลศิลปะอู่ทอง
โดยตรง โดยมีพระพักตร์ (ใบหน้า)
ที่คล้ายมนุษย์มาก มีพระเนตร (ตา)
แบบตาเนื้อ พระนาสิก (จมูก) แบน
พระหัตถ์ (มือ) ใหญ่ และพระองคุลี
(นิ้วมือ) กางออก ซึ่งเป็ นพุทธ
ลักษณะเด่นของพระพุทธรูปสมัยนี้
 พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะสมัย
อยุธยา -อู่ทอง ๑ ตอนต้น แสดงสาย
วิวัฒนาการทางศิลปะที่ปรับเปลี่ยนไป
นับตั้งแต่รูปแบบเปลวรัศมี เม็ดพระศก รูป
พระพักตร์ การครองจีวรเปลี่ยนจากห่ม
คลุมเป็ นห่ มเฉียง และรูปแบบสาย
รัดประคดที่หยักกลางเล็กน้อย ส่วนรูป
พระหัตถ์ก็ยังคงมีขนาดใหญ่และมีพระ
องคุลี (นิ้วมือ) ขวากางออกเช่นเดิม
 พระพุทธรูปแผ่ นทองคาดุน
ปางมารวิชัย ศิลปะสมัยอยุธยา-
อู่ ทอง ๑ ตอนต้ น พบที่ กรุ
พ ร ะ ป ร า ง ค์ วั ด ร า ช บู ร ณ ะ
พระนครศรี อยุธยา มีพุทธ
ลักษณะเด่นคือที่แถบไรพระศกมี
เม็ดไข่ปลาขนาดเล็กวางเรียง
แบบพระพุทธศิลปะชัยปราการ
พระพุทธรูปองค์นี้มีพุทธลักษณะ
ที่งดงามมากองค์หนึ่ง ปัจจุบันจัด
แสดงอยู่ ที่ พิพิธภัณฑสถาน
แห่งชาติเจ้าสามพระยา จังหวัด
พระนคร-ศรีอยุธยา
 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะอยุธยา-
อู่ทอง ๑ ตอนกลาง มีหลากหลาย
รูปแบบเนื่องจากได้รับอิทธิพล
ศิลปะสุโขทัยและศิลปะสกุลช่าง
ทางเหนือรูปแบบอื่นๆ เข้ามา
ผสมผสาน
 เริ่มตั้งแต่สมัยสมเด็จพระนครินทราธิราช (เจ้านครอินทร์)
ถึงสมัยสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ ๒ (เจ้าสามพระยา) ได้สร้างสรรค์
ศิลปะพระพุทธรูปโดยสืบต่อรูปแบบศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๑ แต่มี
รูปลักษณ์แตกต่างจากศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๑ เนื่องจากรับ
อิทธิพลศิลปะสุโขทัยเข้ามาผสมผสานมากขึ้น จึงกาหนดชื่อเรียก
ศิลปะสมัยนี้ว่า ศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๒
 พระพุทธรูปศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๒
แบ่งออกเป็น ๒ สกุลช่าง คือ
 สกุลช่างอยุธยา
(MALE APPEARANCE)
 สกุลช่างสุโขทัย
(FEMALE APPEARANCE)
 พระพุทธรูปศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๒ สกุลช่างอยุธยา กาเนิด
ในสมัยสมเด็จพระนครินทราธิราช (พ.ศ.๑๙๕๑-๑๙๖๗) โดยสืบต่อ
รูปแบบศิลปะจากสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๑ แต่อิทธิพลของศิลปะอู่ทอง
ได้ลดความรุนแรงลงแล้วรับอิทธิพลศิลปะสุโขทัยเข้ามาผสมผสาน
ร่วมศิลปะมากขึ้น
 ดังนั้นพระพุทธรู ปศิลปะสมัย
อยุธยา-อู่ทอง ๒ สกุลช่างอยุธยา จึง
มีพุทธลักษณะคล้ายศิลปะสุโขทัย
มากขึ้น โดยเฉพาะรูปพระพักตร์
เริ่มพัฒนาเป็นวงรี พระวรกาย เริ่ม
ยืดโปร่งขึ้น และลักษณะการหุบพระ
องคุลี (นิ้วมือ) รวมทั้งลักษณะการ
วางพระหัตถ์ ซ้ ายที่ ขนานกับ
พระเพลา (ตัก)
 มีรัศมีเป็นเปลวเพลิงทรงสูงคล้ายปลีก
กล้วยวางซ้อนกันเป็นชั้นๆ
 มีพระพักตร์เป็นรูปยาวรี
 มีปลายพระกรรณด้านล้าง (ติ่งหู)
 มีไรพระศกหรือขอบพระพักตร์
เล็กน้อย
 มีพระขนงโก่งจรดกันดังปีกกา
 มีพระเนตรเหลือบต่า
 มีพระนาสิกโด่งยาวพอดี
 มีพระโอษฐ์เล็กกว่าสมัยอู่ทอง ๑
เน้นริมพระโอษฐ์ด้านบนให้คมชัด
 มีพระวรกายทรงกระบอก
 ครองจีวรห่มเฉียง มีสายรัดประคด
ทั้งด้านหน้าและด้านหลัง
 ชายสังฆาฏิมีขนาดใหญ่ ด้านยาว
จรดพระนาภี (หน้าท้อง)
 มักประทับนั่งขัดสมาธิราบ แสดง
ปางมารวิชัยบนฐานหน้ากระดาน
ทรงสูง โดยฐานหน้าแอ่นแล้วเว้า
เข้าใน
 พระพุทธศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๒
สกุลช่างสุโขทัย กาเนิดในสมัยสมเด็จ
พระบรมราชาธิราชที่ ๒ (พ.ศ. ๑๙๖๗-
๑๙๙๑) สืบต่อมาจากสกุลช่างอยุธยา
แต่ รั บอิท ธิพลศิลปะสุ โ ขทั ยมา
ผสมผสานมากขึ้น ทาให้พระพุทธรูปมี
พระพักตร์ค่อนเป็ นรูปไข่คล้ายศิลปะ
สุ โ ขทั ยตอ น ปลาย โ ดยเ ฉ พา ะ
พระพุทธรูปที่สร้างโดยพระนางมหาเทวี
ที่เรียกว่า “เจ้าแม่” พระพักตร์จะมี
ลักษณะคล้ายหน้านาง
 สกุลช่างสุโขทัย แบบหน้านาง รับ
อิทธิพลศิลปะสุโขทัยอย่างเต็มที่
 มีพระพักตร์เป็นทรงรีรูปไข่
 มีไรพระศกโค้งตามแนวพระขนง (คิ้ว)
 มีขอบพระกรรณด้านบนตวัด
เล็กน้อย
 พระวรกายสูงโปร่ง
 มีพระองคุลีจีบเข้าหากันแบบศิลปะ
สุโขทัย
 ชายสังฆาฏิปลายตัดตรงหรือเป็นลาย
เขี้ยวตะขาบชั้นเดียว
สกุลช่างอยุธยา
(MALE APPEARANCE)
สกุลช่างสุโขทัย
(FEMALE APPEARANCE)
 ศิลปะสมัยอยุธยา-สุพรรณภูมิ กาเนิดในสมัยสมเด็จพระบรมไตร
โลกนาถ ถึงสิ้นสุดราชวงศ์สุพรรณภูมิ คือสมัยสมเด็จพระมหินทราธิ
ราช โดยศิลปะสมัยนี้ยังคงสืบต่อรูปแบบศิลปะ จากศิลปะสมัย
อยุธยา-อู่ทอง ๒ สกุลช่างสุโขทัยเข้ามาผสมผสานมากขึ้น จนแทบจะ
ไม่ปรากฏอิทธิพลศิลปะอู่ทองเลย
 พระพุทธรูปสมัยอยุธยา-สุพรรณภูมิ จาแนกออกเป็น ๒ รูปแบบคือ
พระพุธรูปแบบทรงจีวรเรียบ พระพุธรูปแบบทรงเครื่อง
 พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะ
อยุธยา-สุพรรณภูมิตอนต้น ยังยึด
ติดรูปแบบกึ่งอนุรักษ์อยู่ มีรูปพระ
พักตร์ที่ยาวรีคล้ายผลฟัก มีขอบ
พระพักตร์หรือไรศก พระขนงที่โก่ง
มาก พระนาสิกยาว พระโอษฐ์เล็ก
เป็ นรูปกระจับ เน้นขอบพระโอษฐ์
ด้านบน และรูปแบบการวางพระ
หัตถ์ ซึ่งเป็ นรูปแบบของศิลปะ
อยุธยาอย่างเด่นชัด
สมัยตอนต้น
41
 ศิลปะสมัยนี้รับอิทธิพลช่างสกุล
ต่างๆ เข้ามาร่วมศิลปะ เช่น มีเม็ด
พระศกกลมเล็กคล้ายเม็ดไข่ปลา
วางเรียงเป็ นระเบียบแบบศิลปะ
เมืองน่าน มีรูปพระพักตร์ แบบ
สุโขทัย มีพระวรกายล่าสั่นแบบ
ศิลปะเชียงแสน มีชายสังฆาฏิแบบ
อยุธยา พระหัตถ์ขวาวางบนปลาย
พระชานุ แบบเชียงแสน ฯ
สมัยตอนกลาง
พิมพ์ขนมต้มอยุธยา
45
 ศิลปะสมัยนี้ นับเป็นความสาเร็จขั้นต้นของการสร้างสรรค์เอกลักษณ์
ศิลปะอยุธยา โดยพระพุทธรูปจะมีพุทธลักษณะดังนี้
 มีพระรัศมีเป็นรูปเปลวเพลิง คล้ายกาบปลีวางซ้อนกัน แต่บางองค์จะมี
รัศมีเป็นรูปดอกบัวตูม
 ขมวดพระเกศาเป็นรูปก้นหอยจุ๊บแจง แต่บางองค์ก็มีเม็ดพระศกแหลม
คล้ายหนามขนุน
 มีพระพักตร์ (หน้า) ยาวรีเป็นรูปไข่ดูอิ่มเอิบแบบสุโขทัย
 พระขนงโก่งจรดกันที่สันพระนาสิก
 พระเนตร เหลือบต่า มีเปลือกพระเนตรหนา ตวัดปลายแบบตาหงส์ ฯ
สมัยตอนปลาย
 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะอยุธยา-
สุพรรณภูมิตอนปลาย รั บ
อิทธิพลศิลปะสกุลช่างต่างๆ มา
หล่อหลอมรวมกันเป็นหนึ่งเดียว
จนสามารถแสดงเอกลักษณ์ของ
ตนเองได้ในขั้นปฐม ซึ่งจัดว่า
เป็ นศิลปะที่มีความงามไม่แพ้
ศิลปะสกุลช่างใด
สมัยตอนปลาย
77
 ปัจจุบันเป็ นที่ยอมรับกันแล้วว่า
พระพุทธรูปแบบทรงเครื่ อง
ศิลปะอยุธยา เริ่มสร้างในสมัย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ โดย
ได้รับอิทธิพลจากเทวรูปทรง
เครื่ องศิลปะสุโขทัย ดังนั้น
พระพุทธรูปแบบทรงเครื่ อง
ศิลปะอยุธยาจึงกาเนิดในสมัย
อยุธยา-สุพรรณภูมิซึ่งจาแนก
ออกเป็น ๓ สมัยย่อย
 พระพุทธรูปทรงเครื่องปางสมาธิ
ได้รับอิทธิพลศิลปะเทวรูปทรง
เครื่องสุโขทัย สังเกตจากรูปวง
พระพักตร์ พระวรกาย ลวดลาย
เครื่องทรง โดยเฉพาะ ลักษณะ
การประทับนั่งและการมีพระ
เพลากว้าง ซึ่งล้วนแล้วแต่เป็ น
รูปแบบศิลปะสุโขทัย
สมัยตอนต้น
79
 เศียรพระพุทธรูปทรงเครื่ อง
ศิลปะอยุ ธยา - สุ พร ร ณภู มิ
ตอนกลาง เป็นเคียรพระพุทธรูป
ที่งดงามมาก ถึงแม้ว่าจะยังคง
รูปแบบศิลปะสุโขทัยอยู่แต่ก็
แสดงเอกลักษณ์ ของศิลปะ
อยุธยาขั้นปฐมบ้างแล้ว
สมัยตอนกลาง
82
 พระพุทธรูปทรงเครื่อง ปางห้าม
สมุทร ศิลปะสุพรรณภูมิตอนปลาย
มีเนื้อโลหะและการหล่อแบบศิลปะ
สกุลช่างสุโขทัยหมวดกาแพงเพชร
แต่ก็แสดงเอกลักษณ์ศิลปะอยุธยา
เต็มที่แล้ว โดยเฉพาะลักษณะกรอง
ศอแบบปกเสื้อขนาดใหญ่ สังวาล
ห้อยยาวลงมา โดยส่วนปลายห้อย
ทับทรวงรู ปกระจับที่ ตกแต่ ง
ลวดลายภายใน
สมัยตอนปลาย
83
 พระพุทธรูปสมัยนี้ ยังคงสืบต่อศิลปะสมัยอยุธยา-อู่ทอง ๒ แต่
ค่อนข้างจะมีรูปแบบหลากหลาย โดยในช่วงต้นจะมีรูปแบบกึ่ง
อนุรักษ์ จาลองรูปแบบศิลปะสุโขทัย ต่อมาในช่วงตอนกลางจะมี
รูปแบบร่วมสมัยหรือร่วมศิลปะ เป็นการนาเอาเอกลักษณ์ของแต่ละ
ศิลปะที่เห็นว่ามีความงดงามมาหล่อหลอมเข้าด้วยกัน เช่น
พระพุทธรูป “พิมพ์ขนมต้มอยุธยา” ต่อมาในช่วงปลายพระพุทธรูปก็
เริ่มแสดงเอกลักษณ์ของศิลปะอยุธยา เป็นศิลปะอยุธยาขั้นปฐม และ
สมัยนี้ก็เป็นสมัยแรกที่เริ่มสร้างพระพุทธรูปทรงแบบทรงเครื่อง
 ศิลปะสมัยอยุธยา-สุโขทัย
กาเนิดในช่วงที่ราชวงศ์สุโขทัยมี
อานาจปกครองกรุงศรีอยุธยา
หลังจากที่กรุงศรีอยุธยาเสียเอก
ราชให้แก่พม่าครั้งแรกในปี พ.ศ.
๒๐๑๑ พร้อมๆ กับการสิ้นสุด
ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
 พระพุทธรูปทรงจีวรเรียบ ปางมาร
วิชัย สร้างในสมัยสมเด็จพระมหา
ธรรมราชา เป็นพระพุทธรูปศิลปะ
สมัยอยุธยาที่มีเอกลักษณ์เป็นของ
ตนเอง ประทับนั่งบนฐานสูงที่
ตกแต่งลวดลายอย่างมากมายตาม
ตานานพุทธประวัติ เรื่องพญามาร
ผจญและพระแม่ธรณีบิดมวยผม
เป็นศิลปะร่วมสมัยกับศิลปะพม่า
สมัยอังวะ
 พระพุทธรูปสมัยนี้ ยังคงสืบต่อศิลปะสมัย
อยุธยา-สุพรรณภูมิ แต่ในช่วงต้นจะรับ
อิทธิพลศิลปะพม่าเข้ามาผสมผสาน
สังเกตการตกแต่งฐานพระพุทธรูป ต่อมา
ในช่วงปลาย ก็รับอิทธิพลศิลปะสุโขทัย
มากขึ้น โดยพระพุทธรูปจะมีลักษณะคล้าย
ศิลปะสุโขทัย เช่น มีพระอุระ (อก) หนา
บั้นพระองค์ (เอว) เล็ก พระโสณี (สะโพก)
ใหญ่ และกลับมานิยมพระเนตรแบบตา
หงส์อีกครั้งหนึ่ง
 ศิลปะสมัยอยุธยา-ปราสาททอง กาเนิดขึ้นหลังจากสมเด็จพระ
เจ้าปราสาททองทรงปราบปรามกัมพูชาไว้ใต้อานาจได้สาเร็จ การ
ปราบปรามกัมพูชาครั้งนี้ ได้กวาดต้อนช่างฝีมือมาอยู่ที่กรุงศรีอยุธยา
เป็ นจานวนมาก ทาให้การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมเกิดการ
ผสมผสานระหว่างศิลปะอยุธยากับศิลปะเขมร
 สาหรับงานประติมากรรมที่ได้รับ
อิทธิพลศิลปะเขมรอย่างชัดเจน จน
เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด
ก็คือการสร้ างสรรค์พระพุทธรูปที่
เรียกว่า “แบบทรงเครื่องใหญ่” อันเกิด
จากการผสมผสานคติความเชื่อ “แบบ
เทวราชา” ของกัมพูชา กับ “แบบธรรม
ราชา” ของกรุงศรีอยุธยา
 รูปพระพักตร์ดังผลมะตูม แสดง
ถึงวิวัฒนาการของศิลปะสมัยนี้
อย่างชัดเจน
 พระพุทธรูปทรงเครื่ องใหญ่
ประทับยืน นิยมหล่อลายกนก
หางหงส์แบบกึ่งลอยตัว
 รวมทั้งชายไหวชายแครงแบบติด
ตายแนบจีวรช่วงล่าง
133
 พระพุทธรูปแบบทรงจีวรเรียบ
ศิลปะอยุธยา-ปราสาททอง
พัฒนามาจากศิลปะสมัยอยุธยา-
สุโขทัย โดยเฉพาะรูปแบบฐาน
พระพุทธรูปประทับนั่งจะประดับ
ตกแต่งลวดลายและรูปทรงให้
สูงขึ้น
 พระพุทธรูปปางมารวิชัยศิลปะ
อยุธยา-ปราสาททองตอนต้น
ประทับนั่งบนฐานแบบมาตรฐาน
ของสมัยนี้ เป็ นพระพุทธรูปที่มี
สภาพสมบูรณ์มาก ตัวฐานกับ
องค์พระสามารถถอดแยกออก
จากกันได้
141
 พระพุทธรูแบบทรงเครื่อง (น้อย)
เริ่มสร้างตั้งแต่สมัยพระบรมไตร
โลกนาถ เป็นต้นมาแต่มีวิวัฒนา-
การน้อยมาก
 ต่ อ ม า พ ร ะ พุ ท ธ รู ป แ บ บ
ทรงเครื่ องน้ อยก็ได้ รับการ
ปรับปรุงมากขึ้นหรือมากที่สุดใน
ศิลปะสมัยอยุธยา-ปราสาททอง
 พระพุทธรูปสมัยนี้ แม้จะสืบต่อศิลปะสมัยอยุธยา-สุโขทัย แต่ก็
เกิดการเปลี่ยนแปลงแบบก้าวกระโดด โดยสมัยนี้ได้สร้างสรรค์
พระพุทธรูปแบบทรงเครื่องใหญ่ขึ้น พร้อมทั้งยังสร้างสรรค์ฐาน
พระพุทธรูปให้มีทรวดทรงสูงขึ้นและมีความวิจิตรอลังการประดับ
ตกแต่งลวดลายอย่างมากมาย
 ดังนั้นการสร้างสรรค์พระพุทธรูปสมัยนี้ จึงหลุดพ้นจากแบบแผน
ดั้งเดิมที่เคยปฏิบัติสืบต่อกันมา และก็ได้เป็ นต้นแบบของศิลปะ
อยุธยาบริสุทธิ์ในสมัยต่อมาด้วย
 ราชวงศ์บ้านพลูหลวง นับเป็ นราชวงศ์สุดท้าย ที่มีอานาจ
ปกครองอยุธยา ก่อนที่จะถูกพม่าปล้นสะดมเผาทาลาย
 ในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ (พ.ศ. ๒๒๗๕-๒๓๑๐) งาน
ศิลปกรรมเกือบทุกแขนงได้รับยกย่องให้เป็น “ศิลปะอยุธยาบริสุทธิ์”
 พระพุทธรูปสมัยอยุธยา-บ้านพลูหลวงได้พัฒนาสืบต่อจากสมัย
อยุธยา-ประสาททอง ฉะนั้นจึงมีรูปแบบศิลปะค่อนข้างคลายคลึงกัน
ทั้ง ๓ แบบ คือแบบทรงเครื่องใหญ่ แบบทรงจีวรเรียบ และแบบ
ทรงเครื่องน้อย
 พระพักตร์ พุทธรูปทรงเครื่อง
ใหญ่ ศิลปะสมัยอยุธยา-บ้านพลู
หลวงตอนกลาง จัดเป็ นศิลปะ
“อยุธยาบริสุทธิ์” เป็ นศิลปะแห่ง
ชนชาติไทยอย่างแท้จริง
 พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่ ศิลปะ
สมัยบ้านพลูหลวงตอนกลาง มีพระ
พักตร์สวยงามอ่อนโยนคล้ายมนุษย์
มีพระมงกุฎทรงยอดเจดีย์ มีขอบ
พระมงกุฎตรงพระนลาฏ (หน้าผาก)
เกือบเป็นเส้นตรง ตกแต่งเครื่องทรง
ด้วยลายพรรณพฤกษา และมีชาย
ไหวชายแครงที่เริ่มแผ่กางออก
 พระพุทธรูปทรงเครื่องใหญ่
ปางห้ามสมุทร ศิลปะบ้านพลู
หลวงตอนปลาย มีลักษณะเด่นคือ
มีพระพักตร์ “แบบหน้านาง” และ
ประดับสังวาลย์รอบขอบพระถัน
สร้อยสังวาลย์คล้องกับแผ่นใต้ทับ
ทรวงแล้วโยงมาคล้องกับชายจีวร
ด้านล่างใต้พระกัปปะระ (ข้อศอก)
 เศียรพระพุทธรูป ศิลปะสมัย
อยุธยา-บ้านพลูหลวงต้อนต้น
สังเกตจากเม็ดพระศกที่แหลมคม
ทิ้งระยะห่างแบบหนามทุเรียน
และวงพระพักตร์ที่ได้รับอิทธิพล
ศิลปะสมัยอยุธยา-ปราสาททอง
 พระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะ
บ้ าน พลู หลวงต อน กลาง มี
ลักษณะงดงามและค่อนข้างหา
ยาก เพราะมีขนาดเล็กและหล่อ
ด้วยสาริด มีสภาพสมบูรณ์ ฐาน
พ ร ะ พุ ท ธ รู ป แ ล ะ รู ป อ ง ค์
พระพุทธรูปสามารถแยกถอด
ออกจากกันได้
183
184
 พระพุทธรูปทรงเครื่องน้อย ปางสมาธิ
มีลวดลายและรูปแบบคล้ายศิลปะสมัย
อยุธยาตอนต้น แต่เมื่อพิจารณารูปวง
พระพักตร์ ลักษณะเนื้อรัก เนื้อโลหะ
ดินหุ่น สันนิษฐานว่าคงสร้างในช่วง
ปลายสมัยอยุธยา-บ้านพลูหลวง
 พระพุทธรูปทรงเครื่องน้อย ปาง
ห้ามญาติ ประทับยืนบนแท่น
สี่เหลี่ยมศิลปะสมัยอยุธยา-บ้าน
พลูหลวงตอนปลาย ปัจจุบันจัด
แสดงอยู่ ที่ พิพิธภัณฑ์ สถาน
แห่งชาติพระนคร กรุงเทพฯ
 สมัยนี้ศิลปกรรมแขนงต่างๆ ได้รับการพัฒนามากที่สุด
โดยเฉพาะในสมัยสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ศิลปกรรมแขนง
ต่างๆ ได้รับการยกย่องให้เป็น “ศิลปะอยุธยาบริสุทธิ์” เป็นศิลปะแห่ง
ชนชาติไทยอย่างแท้จริง และเป็นแม่แบบให้แก่ศิลปะไทยสมัยต่อมา
 พระพุทธรูปสมัยนี้มีความงามเป็ นเลิศทั้งส่วนองค์พระพุทธรูป
และฐานพระพุทธรูปซึ่งได้รับการตกแต่งอย่างอลังการวิจิตรประณีต
สวยงาม แสดงเอกลักษณ์ความเป็ นไทยอย่างชัดเจนโดยเฉพาะพระ
พักตร์จะมีลักษณะคล้ายใบหน้ามนุษย์มาก ซึ่งอาจจะเป็นเค้าใบหน้า
ของบรรพบุรุษคนไทยก็เป็นได้
 พระพุทธรูปศิลปะสมัยอยุธยา คือศิลปะที่เกิดจากฝี มือคนไทย
เป็ นศิลปะที่มีเอกลักษณ์ที่แสดงออกถึงความเป็ นชาติไทยอย่าง
แท้จริง การศึกษาเรื่องพุทธศิลปะ ก็เป็ นการอนุรักษ์ศิลปะของชาติ
อีกทางหนึ่ง
สวัสดีครับ
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Yim Wiphawan
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Pracha Wongsrida
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Pracha Wongsrida
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
chatsawat265
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Pracha Wongsrida
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Pracha Wongsrida
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยาJulPcc CR
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
Kornnicha Wonglai
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์krunumc
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงHeeroyuy Heero
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
Kornnicha Wonglai
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
Keerati Santisak
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุting2513
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
school
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Pracha Wongsrida
 

What's hot (20)

Ptt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัยPtt อาณาจักรสูโขทัย
Ptt อาณาจักรสูโขทัย
 
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
Key of 3 การสถาปนาสุโขทัย-57
 
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
Key of 2 อาณาจักรโบราณ-57
 
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัยประวัติศาสตร์สุโขทัย
ประวัติศาสตร์สุโขทัย
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
Key of 6 การสถาปนารัตนโกสินทร์
 
07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา07อาณาจักรอยุธยา
07อาณาจักรอยุธยา
 
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรีเศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
เศรษฐกิจในสมัยสุโขทัย อยุธยา และธนบุรี
 
นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑นิราศภูเขาทองม.๑
นิราศภูเขาทองม.๑
 
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์  และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บทที่ 1 วิธีการทางประวัติศาสตร์ และการแบ่งยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
 
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสงศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
ศิลปะพื้นฐาน รูปร่าง เส้น แสง
 
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้(ครูพิณทิพย์)
 
ความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะความเข้าใจในศิลปะ
ความเข้าใจในศิลปะ
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
ศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตกศิลปะตะวันตก
ศิลปะตะวันตก
 
ทัศนธาตุ
ทัศนธาตุทัศนธาตุ
ทัศนธาตุ
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงธนบุรี1+585+55t2his p05 f05-1page
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1ประวัติศาสตร์ ม.1
ประวัติศาสตร์ ม.1
 
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
Key of 4 การสถาปนาอยุธยา-57
 

Similar to ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา

ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมguestf6be25a
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
Wasin Kunnaphan
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
Puchida Saingchin
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
Prachoom Rangkasikorn
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
Prachoom Rangkasikorn
 
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
Prachoom Rangkasikorn
 

Similar to ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา (6)

ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรมความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
ความเป็นมา ความสำคัญของภาพและการถ่ายภาพวัฒนธรรม
 
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยางานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
งานทัศนศิลป์ในสมัย อยุธยา
 
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยาสื่อศิลปะ ครูรัตติยา
สื่อศิลปะ ครูรัตติยา
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4pageภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์+603+dltvp6+55t2his p06 f14-4page
 
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1pageภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
ภูมิปัญญาไทยสมัยกรุงรัตนโกสินทร์+603+55t2his p06 f14-1page
 
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
114+hisp6+dltv54+550216+a+สไลด์ ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์ (1)
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา

Editor's Notes

  1. ภาพที่ 45