SlideShare a Scribd company logo
พระพุทธศาสนา
กับการสังคมสงเคราะห์
ธรรมะวาทะพระพยอม
 ขั้วของความชั่ว อยู่ที่เห็นแก่ตัว ขั้วของความดี อยู่ที่เสียส ะ
 จงรักษาความถูกต้องมากกว่าความถูกใจ คนเดี๋ยวนี้มันจัญไร
รักษาความถูกใจมากกว่าความถูกต้อง
ประวัติพระพยอม
 เกิดวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492
 ภูมิ าเนา อาเภอบางใหญ่
จังหวัดนนทบุรี
 พ.ศ. 2513 อุปสมบทเป็น
พระภิกษุ ที่วัดสังวรพิม ไพบู ย์
 พ.ศ 2516 จบนักธรรมเอกที่
วัดบางอ้อยช้าง จังหวัด นนทบุรี
ชีวิตในวัยเด็ก
 พระพยอมเกิดในครอบครัวที่ยากจน การใช้ชีวิตจึงไม่เหมือนกับ
เด็กทั่วไป ในวันที่โรงเรียนหยุด หรือ ช่วงเย็นห ังจากเ ิกเรียน
เด็กชายพยอมจะออกหางานพิเศษรับจ้างดายหญ้าตามร่องสวน
วัยหนุ่ม
 พระพยอมไม่เคยใช้ชีวิตวัยหนุ่มเยี่ยงชายหนุ่มทั่วไป ท่านใช้จ่าย
ทรัพย์ที่หามาโดยสุจริต ด้วยความประหยัด มัธยัสถ์ เพื่อน ๆ
ของท่านจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าตามยุคสมัย แต่ท่านยังคงสวม
เสื้อยืดก ้าม กางเกงแบบชาวสวน
พระดีศรีสังคม
 วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492เด็กชายคนหนึ่งที่ถือกาเนิดจาก
แม่สาเภา จั่นเพชร แม่ที่ยากจนแต่มีความรัก ูกสุดประมาณ
จากวันนั้น . . . จนถึง . . . วันนี้ เด็กยากจนนั้น คือ .
 . . พระนักเทศน์ผู้มีคุณภาพพระดีศรีสังคม พ่อพระของผู้ยากจน
พระผู้ร่ารวยงาน แต่ยากจนเว า พระราชธรรมนิเทศ (พระพยอม กั ยาโณ)
มู นิธิสวนแก้ว
ประกาศเกียรติคุณ แ ะรางวั
 พ.ศ. 2528 รางวั สังข์เงิน สาขาใช้ศิ ปะในการเผยแพร่
จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย
 พ.ศ. 2535 โ ่เกียรติคุณบารมี “พระผู้มีคุณต่อแผ่นดินแ ะสังคม” จากสมเด็จ
พระสังฆราช
 พ.ศ. 2536 โ ่บุคค ดีเด่นแห่งวงการศึกษาของชาติ สาขาการศึกษานอกระบบ
จากสมาคมศึกษานิเทศก์แห่งประเทศไทย
 พ.ศ. 2537 ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพุทธศาสน์
จากมหาวิทยา ัยมหาจุฬา งกรณราชวิทยา ัย
 พ.ศ. 2539 โ ่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้ร่วมรณรงค์สร้างสรรค์สังคมป อดบุหรี่”
จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี
 พ.ศ. 2541ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศึกษาศาสตร์
เพื่อพัฒนาชุมชนจากสภามหาวิทยา ัยสงข านครินทร์
ประกาศเกียรติคุณ แ ะรางวั
 พ.ศ. 2541 ปริญญานิเทศศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยา ัยวงษ์ชว ิตกุ
 พ.ศ. 2544 โ ่เกียรติคุณ “ผู้สนับสนุนงานกรมประชาสงเคราะห์ดีเด่น ประจาปี 2544”
 พ.ศ. 2545 โ ่รางวั การสนับสนุนโครงการการจัดการสิ่งปฏิกู ตามแนวพระราชดาริ
จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข
 พ.ศ. 2546 โ ่รางวั PCD Awards 2002 ด้านบุคค ดีเด่นด้านการจัดการขยะมู ฝอย
จากกรมควบคุมม พิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติแ ะสิ่งแวด ้อม
 ปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาธรรมนิเทศ
จากมหาวิทยา ัยมหาจุฬา งกรณราชวิทยา ัย
ประวัติวัดสวนแก้ว
 เดิมชื่อ วัดแก้ว เป็นวัดร้างมา 80 ปี ภายห ังห วงพ่อเทียน จิตตสุโภ
แ ะพระภิกษุอีก 3-4 รูป ได้เข้ามาพานักแต่พื้นที่ ของวัดเต็มไปด้วย
เรือกสวน ห วงพ่อไม่สามารถจะบูรณะได้เพราะขาดบุค ากรที่จะ
ช่วยพัฒนา
 ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการบริหารงานช่วยสังคม ปัญหา
ของสังคมทุกวันนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่าง ฐานะ อาชีพ
ความรู้ แ ะโอกาส ซึ่งพระสงฆ์ควรจะมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหานี้
ด้วย ด้วยปณิธานที่จะช่วยเห ือเพื่อนมนุษย์ แ ะเผยแพร่
ศี ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า เพื่อให้ประชาชนได้รู้จักการใช้
ห ักธรรม ในการดาเนินชีวิตแ ะแก้ปัญหาด้วยตนเอง ท่านจึงได้
จัดตั้งมู นิธิสวนแก้วขึ้น ในปี พ.ศ. 2529
โดยมีวัตถุประสงค์ห ัก 6 ประการ คือ
1. เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา
2. เพื่อส่งเสริมศี ธรรม จรรยาอันดี
3. เพื่ออนุรักษ์ แ ะส่งเสริมวัฒนธรรมแ ะประเพณีไทย
4. เพื่อร่วมมือกับองค์การการกุศ อื่นๆ เพื่อสาธารณะประโยชน์
5. ไม่ดาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมืองแต่อย่างใด
6. จัดการศึกษา แ ะส่งเสริมการศึกษา
โครงการต่างๆ ของวัดสวนแก้ว
โครงการที่ 1 : บวชเณรภาคฤดูร้อน
โครงการที่ 2 : เข้าค่ายอบรมฯ
โครงการที่ 3 : ร่มโพธิ์แก้ว
โครงการที่ 4 : เวทีบาเพ็ญประโยชน์
โครงการที่ 5 : อกคราบ
โครงการที่ 6 : กระบอกสารอกกิเ ส
โครงการที่ 7 : ช่วยน้องท้องหิว
โครงการที่ 8 : รณรงค์ผู้ไม่รู้หนังสือฯ
โครงการที่ 9 : ส บมาฟื้นไป
โครงการที่ 10 : ที่พักคนชรา
โครงการที่ 11 : สะพานบุญ..ฯ
โครงการที่ 12 : ซุปเปอร์มาร์เก็ต ฯ
โครงการที่ 13 : สวนแก้วเนอร์สเซอรี่
โครงการที่ 14 : เพื่อการเกษตรฯ
โครงการที่ 15 : บ่อหมักสิ่งปฏิกู ..ฯ
โครงการที่ 16 : บ้านทักษะชีวิต
โครงการที่ 17 : อนุรักษ์พันธุ์กรรมพืช
โครงการที่ 18 : คอนโดสุนัข
โครงการที่ 3 : ร่มโพธิ์แก้ว
การรวมก ุ่ม เตรียมพร้อมปฏิบัติงานทุกเช้า
ของสมาชิกร่มโพธิ์แก้ว
แบ่งก ุ่มรับประทานอาหาร เพื่อไม่ให้งาน
ภาคสนามหยุดชะงัก
ห วงพ่อพระพยอม ไม่เคยทอดทิ้งคนพิการ
โครงการที่ 4 : เวทีบาเพ็ญประโยชน์
...นี่คือ.. ผ งานของผู้ด้อยโอกาส ภายห ังจบห ักสูตร วิชาการก่อสร้าง
(เป็นภาพห้องน้าที่อยู่ภายในสวน)
โครงการที่ 5 : ลอกคราบ
...ชีวิตที่มีความหวังอีกครั้ง ภายหลังจากการบาบัด
ฟื้นฟู ด้วยความเมตตาของหลวงพ่อพระพยอม
โครงการที่ 7 : ช่วยน้องท้องหิว
ทุกคนจะได้รับทุนการศึกษาแ ะสิ่งของต่างๆ จากห วงพ่อพระพยอม
ภายห ังเสร็จสิ้นภารกิจการหาทุนการศึกษาในวันหยุดภาคเรียน
โครงการที่ 11 : สะพานบุญ..ฯ
ขยะที่กองอยู่เต็มสนามห วง เป็นขยะที่สังคม
ไม่ต้องการ แต่พระอาจารย์พยอม กั ยาโณ
สามารถแปรรูปให้เป็นประโยชน์ได้ จนได้รับ
สมญานามว่า พระผู้เ ี้ยงคนด้วยขยะ
โครงการที่ 13 : สวนแก้วเนอร์สเซอรี่
ยิ้ม... ร้องไห้... แต่ที่นี่คือ ความสุข ของหนูน้อย
โครงการที่ 18 : คอนโดสุนัข
ผู้ที่รับดูแ สุนัข จาเป็นต้องรับหน้าที่ด้วยความอดทน
เพราะสุนัขบางตัวเป็นโรคเรื้อน แ ะดุร้าย
แต่เพื่อให้คนในสังคมได้อยู่อย่างสงบ
พระอาจารย์พยอมจึงต้องทาต่อไปตามปณิธานของท่านนั่นเอง
การสังคมสงเคราะห์
 การสังคมสงเคราะห์ หมายถึง การดาเนินการต่างๆ เพื่อ
ช่วยเห ือผู้ซึ่งไม่สามารถช่วยเห ือตัวเองได้ ให้สามารถ
ดารงชีวิตอยู่ได้ตามควรแก่อัตภาพ แ ะหรือให้สามารถช่วยเห ือ
ตนเองต่อไปได้ อีกทั้ง หมายถึง การดาเนินการเพื่อช่วยเห ือผู้
เดือดร้อนจากการประสบอุบัติภัยต่างๆ ทั้งในด้านการแก้ไขความ
เดือดร้อนเฉพาะหน้า แ ะการช่วยเห ือให้สามารถประกอบ
อาชีพครองชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอีกต่อไป
ความหมายการสังคมสงเคราะห์ โดยพระเทพเวที
(ประยุทธ ปยุตฺโต)
 “....ตามศัพท์ (สังคมสงเคราะห์) แป ง่ายๆ ว่า “การสงเคราะห์
สังคม” แต่ถ้าจะแป ให้ ึกกว่านั้น ก็มีความหมายทางธรรม
สงเคราะห์ คาบา ีเป็ น สงฺคห (สังคหะ) แป ว่า ประมว
รวบรวม จับมารวมเข้าด้วยกัน ยึดเหนี่ยวใจให้รวมเป็ นหนึ่ง
ผูกใจไว้ สังคหะ ที่แป ว่า ยึดเข้าไว้ด้วยกันนั้น หมายถึง ยึดใน
แง่นามธรรม แ ะยึดในแง่รูปธรรม ทางนามธรรม คือ ยึดเหนี่ยว
ผูกจิตใจให้รวมเป็ นหนึ่ง ทางรูปธรรม คือ ให้คนมารวมกัน
ประสานเข้าด้วยกัน
 “...คาว่า สังคห หรือ สงเคราะห์ นี้ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ด้วยกัน
เป็นชุดเดียวกับคาอื่นอีกสามข้อ เรียง าดับเป็น สังคห อวิวาท
สามัคคี แ ะเอกีภาพ คือ ความยึดเหนี่ยวประสานกันไว้ ความไม่
ทะเ าะวิวาท ความพร้อมเพรียง แ ะความเป็นอันหนึ่งอัน
เดียวกัน...”
จุดมุ่งหมายของงานสังคมสงเคราะห์
1. เพื่อเป็นการช่วยเห ือบุคค ให้เข้าใจปัญหา
2. เพื่อเป็นการช่วยเห ือบุคค ให้รู้จักการแก้ปัญหา
3. เพื่อป้ องกันปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการชี้บอกถึงจุดบกพร่อง หรือ
สาเหตุแห่งปัญหาที่เกิดขึ้น
4. เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนา ความสามารถของบุคค อันจะ
ส่งผ ต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคค แ ะชุมชน
ห ักการให้การสงเคราะห์
 1. ช่วยคนที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้
 2. ช่วยให้ตรงกับความต้องการของเขา
 3. ช่วยตามความจาเป็น จัดให้เท่าที่จาเป็น
 4. ช่วยพัฒนาความสามารถ
 5. ช่วยในฐานะที่ต่างเป็นสมาชิกของสังคมด้วยกัน
นักสังคมสงเคราะห์ พึงยึดถือปฏิบัติตามห ักพุทธธรรม
 1. สร้างสวัสดิการแก่ตนเองก่อน (พึ่งตนเองได้) ด้วย - พุทธธรรม
2. ปรับฐานชีวิตด้วย - ไตรสิกขา
3. บ่มใจด้วย - พรหมวิหารธรรม
4. สรรสร้างงานด้วย - สังคหวัตถุธรรม - แ ะสาราณียธรรม
5. รักษาตนด้วย - รู้ซึ้งธรรมชาติของชีวิตด้วยไตร ักษณ์
- หมั่นทบทวนสมการชีวิต
- ไม่ห ง (ทาง) โ ก
ก. จุดหมายของชีวิต 3 ขั้น (อัตถะ 3 / สมบัติ)
 ขั้นที่ 1 จุดหมายที่เห็นได้ในปัจจุบัน เห็นได้ด้วยตา ที่เรียกว่า
ทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือ มนุษย์สมบัติ
 ขั้นที่ 2 จุดหมายที่รู้ได้ด้วยจิตใจ ไม่อาจมองเห็นด้วยตาแต่รู้สึก
ได้ด้วยใจ เรียกว่า สัมปรายิกัตถะ หรือ สวรรค์สมบัติ
 ขั้นที่ 3 จุดหมายสูงสุดเรียกว่า ปรมัตถะ หรือ นิพพานสมบัติ
ข. จุดหมายของชีวิต 3 ด้าน (อัตถะ 3 / 2)
 จุดหมายด้านที่ 1
อัตตัตถะ จุดหมายเพื่อตน หรือประโยชน์ตน
 จุดหมายด้านที่ 2
ปรัตถะ จุดหมายเพื่อผู้อื่น หรือประโยชน์เพื่อผู้อื่น
 จุดหมายด้านที่ 3
อุภยัจถะ จุดหมายร่วมกัน หรือ ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
จุดหมายแห่งชีวิต 3 ขั้น + 3 ด้าน
= คุณภาพชีวิตอย่างบูรณาการ
ดาวน์โห ดไฟ ์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาแ ะศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
พัน พัน
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
pop Jaturong
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณdirectorcherdsak
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธKasetsart University
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
Padvee Academy
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
Padvee Academy
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีพัน พัน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
athapol anunthavorasakul
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานOnpa Akaradech
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖Anchalee BuddhaBucha
 

What's hot (20)

พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานบทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
บทที่ ๑ ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณวิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
วิสัยทัศน์ในการบริหาร ผอ.เชิดศักดิ์ ศุภโสภณ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๑) สัปดาห์ที่ ๑
 
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธเศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
เศรษฐศาสตร์เชิงพุทธ
 
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
กรรมฐาน (สื่อการสอน ๒) สัปดาห์ที่ ๒
 
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐานธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
ธรรมะภาคปฏิบัติ : ประวัติและวิวัฒนาการของการปฏิบัติกรรมฐาน
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์การปกครองคณะสงฆ์
การปกครองคณะสงฆ์
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
โคลนติดล้อ (สอน Ppt)[1]
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบันพุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
พุทธศาสนาในโลกปัจจุบัน
 
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 pptสมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
สมถกัมมัฏฐานกสิณ 10 ppt
 
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรีเอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
เอกสารประกอบการเรียน อาณาจักรธนบุรี
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชนภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
ภาวะผู้นำการศึกษากับชุมชน
 
บทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพานบทที่ 6 นิพพาน
บทที่ 6 นิพพาน
 
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
เปรียบเทียบพุทธปรัชญาและปรัชญาลัทธิครูทั้ง ๖
 

Viewers also liked

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
Padvee Academy
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Padvee Academy
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
Padvee Academy
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
Padvee Academy
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
Padvee Academy
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
Padvee Academy
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
Padvee Academy
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
Padvee Academy
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
Padvee Academy
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
Padvee Academy
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
Padvee Academy
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
Padvee Academy
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
Padvee Academy
 

Viewers also liked (20)

ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อมปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๖ ปรัชญากรีกสมัยเสื่อม
 
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิตLife compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
Life compass philosophy : ติดเข็มทิศให้กับชีวิต
 
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยาศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
ศิลปะพระพุทธรูปสมัยอยุธยา
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพงขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดนาป่าพง
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
ปรัชญาทั่วไป ตอนทฤษฎีความรู้ (ญาณวิทยา)
 
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษอิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
อิทธิพลของพระพุทธศาสนาที่มีต่ออังกฤษ
 
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนาบทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
บทที่ 3 ความแตกต่างระหว่างปรัชญากับศาสนา
 
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนาผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
ผลกระทบของลัทธิการเมืองกับพระพุทธศาสนา
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๔ ปรัชญากรีกสมัยเริ่มต้น (ตอนที่ ๒)
 
พุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียดพุทธวิธีคลายเครียด
พุทธวิธีคลายเครียด
 
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุลศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
ศึกษาผลงานสำคัญของพระราหุล
 
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัยแนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
แนวทางการใช้หลักพุทธธรรมของผู้สูงวัย
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญาขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน สามเณรน้อยปลูกปัญญา
 
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทยธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
ธรรมาภิบาลกับปัญหาคอรัปชั่นในประเทศไทย
 
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญาปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
ปรัชญาตะวันตก บทที่ ๑ ความหมายและขอบข่ายปรัชญา
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์ ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
ปรัชญาอัตถิภาวนิยม Existentialism ตอน อัตถิภาวะของมนุษย์
 
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีนปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
ปรัชญาจีน ตอนความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับปรัชญาจีน
 

Similar to พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน

โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
tassanee chaicharoen
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10thTongsamut vorasan
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งpentanino
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
ธรรมะอินเทรนด์ ธรรมะออนไลน์
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
niralai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55Kwandjit Boonmak
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
Kwandjit Boonmak
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing
 
ชีวิตสมณะ
ชีวิตสมณะชีวิตสมณะ
ชีวิตสมณะRose Banioki
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
Wat Thai Washington, D.C.
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
Songsarid Ruecha
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
พัน พัน
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 

Similar to พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน (20)

โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรมโครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
โครงงานสุขภาพส่งเสริมคุณธรรม
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10  ariyavinaya10th
1 อริยวินัย ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 10 ariyavinaya10th
 
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็งบทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
บทบาทของมหาวิทยาลัยสงฆ์ในการสร้างชุมชนเข้มแข็ง
 
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนาสถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
สถานการณ์พุทธศาสนา พลิกหายนะเป็นพัฒนา
 
คู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธคู่มืออบรมยุวพุทธ
คู่มืออบรมยุวพุทธ
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
Dhammaratna fund(กองทุนธรรมรัตน์)
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
ติวศาสนา55
ติวศาสนา55ติวศาสนา55
ติวศาสนา55
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
ชีวิตสมณะ
ชีวิตสมณะชีวิตสมณะ
ชีวิตสมณะ
 
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหังผู้นำขี้โอ่...โอหัง
ผู้นำขี้โอ่...โอหัง
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
คำนำทำ1
คำนำทำ1คำนำทำ1
คำนำทำ1
 
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่งครูพัชราภรณ์    เหมือนรุ่ง
ครูพัชราภรณ์ เหมือนรุ่ง
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
บทความเรื่องการบริหารงานตามหลักฆราวาสธรรม ๒
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
Padvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
Padvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
Padvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
Padvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
Padvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Padvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
Padvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
Padvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
Padvee Academy
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
Padvee Academy
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
Padvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 
ศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮศาสนาบาไฮ
ศาสนาบาไฮ
 
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทยประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
ประวัติศาสตร์การเมืองการปกครองของไทย
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
RSapeTuaprakhon
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (6)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่นการเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
การเคลื่อนที่ของคลื่น ปรากฎการคลื่นกล ความเร็วคลื่น ส่วนประกอบของคลื่น
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

พระพุทธศาสนากับสังคมสงเคราะห์ ตอน พระพยอม พ่อพระของผู้ยากจน

  • 2. ธรรมะวาทะพระพยอม  ขั้วของความชั่ว อยู่ที่เห็นแก่ตัว ขั้วของความดี อยู่ที่เสียส ะ  จงรักษาความถูกต้องมากกว่าความถูกใจ คนเดี๋ยวนี้มันจัญไร รักษาความถูกใจมากกว่าความถูกต้อง
  • 3. ประวัติพระพยอม  เกิดวันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492  ภูมิ าเนา อาเภอบางใหญ่ จังหวัดนนทบุรี  พ.ศ. 2513 อุปสมบทเป็น พระภิกษุ ที่วัดสังวรพิม ไพบู ย์  พ.ศ 2516 จบนักธรรมเอกที่ วัดบางอ้อยช้าง จังหวัด นนทบุรี
  • 4. ชีวิตในวัยเด็ก  พระพยอมเกิดในครอบครัวที่ยากจน การใช้ชีวิตจึงไม่เหมือนกับ เด็กทั่วไป ในวันที่โรงเรียนหยุด หรือ ช่วงเย็นห ังจากเ ิกเรียน เด็กชายพยอมจะออกหางานพิเศษรับจ้างดายหญ้าตามร่องสวน
  • 5. วัยหนุ่ม  พระพยอมไม่เคยใช้ชีวิตวัยหนุ่มเยี่ยงชายหนุ่มทั่วไป ท่านใช้จ่าย ทรัพย์ที่หามาโดยสุจริต ด้วยความประหยัด มัธยัสถ์ เพื่อน ๆ ของท่านจะแต่งกายด้วยเสื้อผ้าตามยุคสมัย แต่ท่านยังคงสวม เสื้อยืดก ้าม กางเกงแบบชาวสวน
  • 6. พระดีศรีสังคม  วันที่ 24 เมษายน พ.ศ. 2492เด็กชายคนหนึ่งที่ถือกาเนิดจาก แม่สาเภา จั่นเพชร แม่ที่ยากจนแต่มีความรัก ูกสุดประมาณ จากวันนั้น . . . จนถึง . . . วันนี้ เด็กยากจนนั้น คือ .  . . พระนักเทศน์ผู้มีคุณภาพพระดีศรีสังคม พ่อพระของผู้ยากจน พระผู้ร่ารวยงาน แต่ยากจนเว า พระราชธรรมนิเทศ (พระพยอม กั ยาโณ) มู นิธิสวนแก้ว
  • 7. ประกาศเกียรติคุณ แ ะรางวั  พ.ศ. 2528 รางวั สังข์เงิน สาขาใช้ศิ ปะในการเผยแพร่ จากสมาคมนักประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทย  พ.ศ. 2535 โ ่เกียรติคุณบารมี “พระผู้มีคุณต่อแผ่นดินแ ะสังคม” จากสมเด็จ พระสังฆราช  พ.ศ. 2536 โ ่บุคค ดีเด่นแห่งวงการศึกษาของชาติ สาขาการศึกษานอกระบบ จากสมาคมศึกษานิเทศก์แห่งประเทศไทย  พ.ศ. 2537 ปริญญามหาบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาพุทธศาสน์ จากมหาวิทยา ัยมหาจุฬา งกรณราชวิทยา ัย  พ.ศ. 2539 โ ่ประกาศเกียรติคุณ “ผู้ร่วมรณรงค์สร้างสรรค์สังคมป อดบุหรี่” จากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาสยามบรมราชกุมารี  พ.ศ. 2541ปริญญาศึกษาศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาศึกษาศาสตร์ เพื่อพัฒนาชุมชนจากสภามหาวิทยา ัยสงข านครินทร์
  • 8. ประกาศเกียรติคุณ แ ะรางวั  พ.ศ. 2541 ปริญญานิเทศศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ จากมหาวิทยา ัยวงษ์ชว ิตกุ  พ.ศ. 2544 โ ่เกียรติคุณ “ผู้สนับสนุนงานกรมประชาสงเคราะห์ดีเด่น ประจาปี 2544”  พ.ศ. 2545 โ ่รางวั การสนับสนุนโครงการการจัดการสิ่งปฏิกู ตามแนวพระราชดาริ จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข  พ.ศ. 2546 โ ่รางวั PCD Awards 2002 ด้านบุคค ดีเด่นด้านการจัดการขยะมู ฝอย จากกรมควบคุมม พิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติแ ะสิ่งแวด ้อม  ปริญญาพุทธศาสตร์ดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาวิชาธรรมนิเทศ จากมหาวิทยา ัยมหาจุฬา งกรณราชวิทยา ัย
  • 9. ประวัติวัดสวนแก้ว  เดิมชื่อ วัดแก้ว เป็นวัดร้างมา 80 ปี ภายห ังห วงพ่อเทียน จิตตสุโภ แ ะพระภิกษุอีก 3-4 รูป ได้เข้ามาพานักแต่พื้นที่ ของวัดเต็มไปด้วย เรือกสวน ห วงพ่อไม่สามารถจะบูรณะได้เพราะขาดบุค ากรที่จะ ช่วยพัฒนา
  • 10.  ทั้งนี้ เพื่อความสะดวกในการบริหารงานช่วยสังคม ปัญหา ของสังคมทุกวันนี้เป็นปัญหาที่เกิดขึ้นระหว่าง ฐานะ อาชีพ ความรู้ แ ะโอกาส ซึ่งพระสงฆ์ควรจะมีส่วนร่วมแก้ไขปัญหานี้ ด้วย ด้วยปณิธานที่จะช่วยเห ือเพื่อนมนุษย์ แ ะเผยแพร่ ศี ธรรมคาสอนของพระพุทธเจ้า เพื่อให้ประชาชนได้รู้จักการใช้ ห ักธรรม ในการดาเนินชีวิตแ ะแก้ปัญหาด้วยตนเอง ท่านจึงได้ จัดตั้งมู นิธิสวนแก้วขึ้น ในปี พ.ศ. 2529
  • 11. โดยมีวัตถุประสงค์ห ัก 6 ประการ คือ 1. เพื่อเผยแพร่พระพุทธศาสนา 2. เพื่อส่งเสริมศี ธรรม จรรยาอันดี 3. เพื่ออนุรักษ์ แ ะส่งเสริมวัฒนธรรมแ ะประเพณีไทย 4. เพื่อร่วมมือกับองค์การการกุศ อื่นๆ เพื่อสาธารณะประโยชน์ 5. ไม่ดาเนินการเกี่ยวข้องกับการเมืองแต่อย่างใด 6. จัดการศึกษา แ ะส่งเสริมการศึกษา
  • 12. โครงการต่างๆ ของวัดสวนแก้ว โครงการที่ 1 : บวชเณรภาคฤดูร้อน โครงการที่ 2 : เข้าค่ายอบรมฯ โครงการที่ 3 : ร่มโพธิ์แก้ว โครงการที่ 4 : เวทีบาเพ็ญประโยชน์ โครงการที่ 5 : อกคราบ โครงการที่ 6 : กระบอกสารอกกิเ ส โครงการที่ 7 : ช่วยน้องท้องหิว โครงการที่ 8 : รณรงค์ผู้ไม่รู้หนังสือฯ โครงการที่ 9 : ส บมาฟื้นไป โครงการที่ 10 : ที่พักคนชรา โครงการที่ 11 : สะพานบุญ..ฯ โครงการที่ 12 : ซุปเปอร์มาร์เก็ต ฯ โครงการที่ 13 : สวนแก้วเนอร์สเซอรี่ โครงการที่ 14 : เพื่อการเกษตรฯ โครงการที่ 15 : บ่อหมักสิ่งปฏิกู ..ฯ โครงการที่ 16 : บ้านทักษะชีวิต โครงการที่ 17 : อนุรักษ์พันธุ์กรรมพืช โครงการที่ 18 : คอนโดสุนัข
  • 13. โครงการที่ 3 : ร่มโพธิ์แก้ว การรวมก ุ่ม เตรียมพร้อมปฏิบัติงานทุกเช้า ของสมาชิกร่มโพธิ์แก้ว แบ่งก ุ่มรับประทานอาหาร เพื่อไม่ให้งาน ภาคสนามหยุดชะงัก ห วงพ่อพระพยอม ไม่เคยทอดทิ้งคนพิการ
  • 14. โครงการที่ 4 : เวทีบาเพ็ญประโยชน์ ...นี่คือ.. ผ งานของผู้ด้อยโอกาส ภายห ังจบห ักสูตร วิชาการก่อสร้าง (เป็นภาพห้องน้าที่อยู่ภายในสวน)
  • 15. โครงการที่ 5 : ลอกคราบ ...ชีวิตที่มีความหวังอีกครั้ง ภายหลังจากการบาบัด ฟื้นฟู ด้วยความเมตตาของหลวงพ่อพระพยอม
  • 16. โครงการที่ 7 : ช่วยน้องท้องหิว ทุกคนจะได้รับทุนการศึกษาแ ะสิ่งของต่างๆ จากห วงพ่อพระพยอม ภายห ังเสร็จสิ้นภารกิจการหาทุนการศึกษาในวันหยุดภาคเรียน
  • 17. โครงการที่ 11 : สะพานบุญ..ฯ ขยะที่กองอยู่เต็มสนามห วง เป็นขยะที่สังคม ไม่ต้องการ แต่พระอาจารย์พยอม กั ยาโณ สามารถแปรรูปให้เป็นประโยชน์ได้ จนได้รับ สมญานามว่า พระผู้เ ี้ยงคนด้วยขยะ
  • 18. โครงการที่ 13 : สวนแก้วเนอร์สเซอรี่ ยิ้ม... ร้องไห้... แต่ที่นี่คือ ความสุข ของหนูน้อย
  • 19. โครงการที่ 18 : คอนโดสุนัข ผู้ที่รับดูแ สุนัข จาเป็นต้องรับหน้าที่ด้วยความอดทน เพราะสุนัขบางตัวเป็นโรคเรื้อน แ ะดุร้าย แต่เพื่อให้คนในสังคมได้อยู่อย่างสงบ พระอาจารย์พยอมจึงต้องทาต่อไปตามปณิธานของท่านนั่นเอง
  • 20. การสังคมสงเคราะห์  การสังคมสงเคราะห์ หมายถึง การดาเนินการต่างๆ เพื่อ ช่วยเห ือผู้ซึ่งไม่สามารถช่วยเห ือตัวเองได้ ให้สามารถ ดารงชีวิตอยู่ได้ตามควรแก่อัตภาพ แ ะหรือให้สามารถช่วยเห ือ ตนเองต่อไปได้ อีกทั้ง หมายถึง การดาเนินการเพื่อช่วยเห ือผู้ เดือดร้อนจากการประสบอุบัติภัยต่างๆ ทั้งในด้านการแก้ไขความ เดือดร้อนเฉพาะหน้า แ ะการช่วยเห ือให้สามารถประกอบ อาชีพครองชีวิตอยู่ได้อย่างเป็นปกติสุขอีกต่อไป
  • 21. ความหมายการสังคมสงเคราะห์ โดยพระเทพเวที (ประยุทธ ปยุตฺโต)  “....ตามศัพท์ (สังคมสงเคราะห์) แป ง่ายๆ ว่า “การสงเคราะห์ สังคม” แต่ถ้าจะแป ให้ ึกกว่านั้น ก็มีความหมายทางธรรม สงเคราะห์ คาบา ีเป็ น สงฺคห (สังคหะ) แป ว่า ประมว รวบรวม จับมารวมเข้าด้วยกัน ยึดเหนี่ยวใจให้รวมเป็ นหนึ่ง ผูกใจไว้ สังคหะ ที่แป ว่า ยึดเข้าไว้ด้วยกันนั้น หมายถึง ยึดใน แง่นามธรรม แ ะยึดในแง่รูปธรรม ทางนามธรรม คือ ยึดเหนี่ยว ผูกจิตใจให้รวมเป็ นหนึ่ง ทางรูปธรรม คือ ให้คนมารวมกัน ประสานเข้าด้วยกัน
  • 22.  “...คาว่า สังคห หรือ สงเคราะห์ นี้ พระพุทธเจ้าตรัสไว้ด้วยกัน เป็นชุดเดียวกับคาอื่นอีกสามข้อ เรียง าดับเป็น สังคห อวิวาท สามัคคี แ ะเอกีภาพ คือ ความยึดเหนี่ยวประสานกันไว้ ความไม่ ทะเ าะวิวาท ความพร้อมเพรียง แ ะความเป็นอันหนึ่งอัน เดียวกัน...”
  • 23. จุดมุ่งหมายของงานสังคมสงเคราะห์ 1. เพื่อเป็นการช่วยเห ือบุคค ให้เข้าใจปัญหา 2. เพื่อเป็นการช่วยเห ือบุคค ให้รู้จักการแก้ปัญหา 3. เพื่อป้ องกันปัญหาที่เกิดขึ้น โดยการชี้บอกถึงจุดบกพร่อง หรือ สาเหตุแห่งปัญหาที่เกิดขึ้น 4. เพื่อเป็นการส่งเสริมการพัฒนา ความสามารถของบุคค อันจะ ส่งผ ต่อการยกระดับคุณภาพชีวิตของบุคค แ ะชุมชน
  • 24. ห ักการให้การสงเคราะห์  1. ช่วยคนที่ไม่สามารถช่วยตนเองได้  2. ช่วยให้ตรงกับความต้องการของเขา  3. ช่วยตามความจาเป็น จัดให้เท่าที่จาเป็น  4. ช่วยพัฒนาความสามารถ  5. ช่วยในฐานะที่ต่างเป็นสมาชิกของสังคมด้วยกัน
  • 25. นักสังคมสงเคราะห์ พึงยึดถือปฏิบัติตามห ักพุทธธรรม  1. สร้างสวัสดิการแก่ตนเองก่อน (พึ่งตนเองได้) ด้วย - พุทธธรรม 2. ปรับฐานชีวิตด้วย - ไตรสิกขา 3. บ่มใจด้วย - พรหมวิหารธรรม 4. สรรสร้างงานด้วย - สังคหวัตถุธรรม - แ ะสาราณียธรรม 5. รักษาตนด้วย - รู้ซึ้งธรรมชาติของชีวิตด้วยไตร ักษณ์ - หมั่นทบทวนสมการชีวิต - ไม่ห ง (ทาง) โ ก
  • 26. ก. จุดหมายของชีวิต 3 ขั้น (อัตถะ 3 / สมบัติ)  ขั้นที่ 1 จุดหมายที่เห็นได้ในปัจจุบัน เห็นได้ด้วยตา ที่เรียกว่า ทิฏฐธัมมิกัตถะ หรือ มนุษย์สมบัติ  ขั้นที่ 2 จุดหมายที่รู้ได้ด้วยจิตใจ ไม่อาจมองเห็นด้วยตาแต่รู้สึก ได้ด้วยใจ เรียกว่า สัมปรายิกัตถะ หรือ สวรรค์สมบัติ  ขั้นที่ 3 จุดหมายสูงสุดเรียกว่า ปรมัตถะ หรือ นิพพานสมบัติ
  • 27. ข. จุดหมายของชีวิต 3 ด้าน (อัตถะ 3 / 2)  จุดหมายด้านที่ 1 อัตตัตถะ จุดหมายเพื่อตน หรือประโยชน์ตน  จุดหมายด้านที่ 2 ปรัตถะ จุดหมายเพื่อผู้อื่น หรือประโยชน์เพื่อผู้อื่น  จุดหมายด้านที่ 3 อุภยัจถะ จุดหมายร่วมกัน หรือ ประโยชน์ทั้งสองฝ่าย
  • 28. จุดหมายแห่งชีวิต 3 ขั้น + 3 ด้าน = คุณภาพชีวิตอย่างบูรณาการ
  • 29.