SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200
Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand
โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒
พระพุทธศาสนา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
๑_หลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา
๒_แผนการจัดการเรียนรู้
๓_PowerPoint_ประกอบการสอน
๔_Clip
๕_ใบงาน_เฉลย
๖_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย
๗_การวัดและประเมินผล
๘_รูปภาพ
๙_เสริมสาระ
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๕ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๗ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘
๑๐_สื่อเสริมการเรียนรู้
พุทธประวัติ พระสาวก
ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก
จุดประสงค์การเรียนรู้
๑. วิเครำะห์พุทธประวัติหรือประวัติศำสดำของศำสนำที่ตนนับถือตำมที่กำหนดได้
๒. วิเครำะห์และประพฤติตนตำมแบบอย่ำงกำรดำเนินชีวิตและข้อคิดจำกประวัติสำวก ชำดก เรื่องเล่ำ และศำสนิกชนตัวอย่ำงตำมที่กำหนดได้
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
พุทธประวัติ กำรผจญมำร
พระแม่ธรณีบีบมวยผม บันดำลให้เป็นกระแสนำหลำกมำท่วมกองทัพพญำมำร
พุทธประวัติ กำรผจญมำร
• ขณะที่พระสิทธัตถะกำลังนั่งสมำธิ เพื่อแสวงหำหนทำงดับทุกข์ พญำมำรนำมว่ำ วสวัตดี มำปรำกฏตัวพร้อมเสนำมำร
ร้องบอกให้พระองค์ลุกจำกอำสนะ พระองค์ทรงแย้งว่ำบัลลังก์เป็นของพระองค์ จำกนันเหยียด พระดรรชนีลงยัง
พืนดินและตรัสว่ำ “ขอให้วสุนธรำจงเป็นพยำน”
• ทันใดนัน พระแม่ธรณีได้ผุดขึนจำกพืนดิน และบีบมวยผม บันดำลให้มีกระแสนำมำท่วมกองทัพ พญำมำรจนแตกพ่ำย
ไปในที่สุด
พระพุทธรูปปำงมำรวิชัย
สร้ำงขึนเพื่อจำลองพุทธประวัติตอนผจญมำร
เหตุกำรณ์
พุทธประวัติ กำรผจญมำร
วิเครำะห์เหตุกำรณ์
• พญามาร หมำยถึง กิเลสที่มำรบกวนพระทัยของพระสิทธัตถะในขณะนั่งสมำธิ อันได้แก่ โลภะ โทสะ
และโมหะ
• ดังนั้น การผจญมาร ก็คือการต่อสู้กับอานาจของกิเลส
• พระแม่ธรณี หมำยถึง บำรมีทัง ๑๐ ที่ทรงบำเพ็ญมำ
• ดังนั้น การอ้างถึงพระแม่ธรณี ก็คือทรงอ้างถึงคุณความดีที่ทรงบาเพ็ญมา เพื่อใช้เป็นกาลังใจในการต่อสู้
กับกิเลสทั้งปวง จนสามารถเอาชนะกิเลสและตรัสรู้ในที่สุด
พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
พระสิทธัตถะทรงตรัสรู้เป็นองค์พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ศำสดำของพระพุทธศำสนำ
พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
• เมื่อทรงออกผนวชแล้ว พระสิทธัตถะ ได้ศึกษำค้นคว้ำทำงพ้นทุกข์อยู่เป็นเวลำ ๖ ปี จึงได้ตรัสรู้เป็น
พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ในช่วงเวลำ ๖ ปีนี พระองค์ทรงทำอะไรบ้ำง สรุปเป็นขันตอนตำมลำดับ
ขันที่ ๑ ทรงฝึกปฏิบัติโยคะ
ขันที่ ๒ ทรงบำเพ็ญตบะ
ขันที่ ๔ ทรงบำเพ็ญเพียรทำงจิต
ขันที่ ๓ ทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยำ
• ทรงไปขอศึกษำเล่ำเรียนและฝึกปฏิบัติอยู่กับอำจำรย์ “อำฬำรดำบส กำลำมโคตร”
กับ “อุททกดำบส รำมบุตร” จนจบควำมรู้ แต่ก็ยังไม่ใช่ทำงพ้นทุกข์ที่แท้จริง
• กำรทรมำนตนเองให้ลำบำก ตำมวิธีทรมำนตนเองแบบต่ำงๆ ที่นักบวชชำวอินเดียนิยม
ทำกันเป็นจำนวนมำก และเชื่อว่ำเป็นแนวทำงพ้นทุกข์ทำงหนึ่ง
• เป็นกำรคิดค้นหำเหตุผลทำงด้ำนจิตใจ เป็นขันตอนหลังจำกที่พระองค์ทรงเลิกบำเพ็ญ
ทุกกรกิริยำแล้ว
• ขันที่ ๑ กำรกัดฟัน
• ขันที่ ๒ กำรกลันลมหำยใจ
• ขันที่ ๓ กำรอดอำหำร
พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
• หลังจำกทรงพิจำรณำไตร่ตรองแล้ว พบว่ำกำรบำเพ็ญทุกกรกิริยำนัน มิใช่หนทำงดับทุกข์ที่แท้จริง พระสิทธัตถะ
จึงทรงเลิกกระทำ แล้วทรงยึดทำงสำยกลำง จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้ำเมื่อวันขึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อน
พุทธศักรำช ๔๕ ปี โดยสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ คือ กระบวนกำรเกิดของทุกข์และกำรดับทุกข์ เรียกว่ำ “อริยสัจ ๔”
ประกอบด้วย
ทุกข์
สมุทัย
นิโรธ
มรรค
ควำมทุกข์ หรือปัญหำ
ของชีวิตทังหมด
สำเหตุของทุกข์ หรือ
สำเหตุของปัญหำชีวิต
ควำมดับทุกข์
หรือภำวะหมดปัญหำ
ทำงดับทุกข์ หรือ
แนวทำงแก้ปัญหำชีวิต
ทุกข์ สมุทัย
มรรค นิโรธ
อริยสัจ
๔
พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
• ควำมรู้แจ่มแจ้งนัน ได้ปรำกฏขึนในพระทัยของพระองค์ดุจมองเห็นด้วยตำเปล่ำ เป็นควำมสว่ำงโพลงภำยในที่
ปรำศจำกควำมสงสัยเคลือบแคลงใดๆ ควำมรู้นีได้ตอบปัญหำที่ทรงค้ำงพระทัยมำเป็นเวลำกว่ำ ๖ ปี พร้อม
กับกำรเกิดควำมรู้ด้ำนกิเลส (ควำมเศร้ำหมองแห่งจิต คือ โลภ โกรธ หลง) ที่ทรงสงสัยอยู่ในจิตใจของ
พระองค์ก็ได้ปลำสนำกำรหำยไปหมดสิน กำรรู้แจ้งของพระองค์สำมำรถสรุปเป็นขันๆ คือ
ยำมต้น • ทรงระลึกถึงชำติหนหลังของพระองค์ได้
ยำมสอง • ทรงได้ตำทิพย์ มองเห็นกำรเกิด กำรตำยของสัตว์ทังหลำยตำมผลกรรมที่ได้กระทำไว้
ยำมสำม • ทรงเกิดกำรรู้แจ้งที่สำมำรถทำลำยกิเลสให้หมดสินไปได้
พุทธประวัติ กำรสั่งสอน
กำรแสดงปฐมเทศนำโปรดปัญจวัคคีย์
• หลังจำกทรงตรัสรู้ พระพุทธเจ้ำได้เสด็จไปตรัสสอน “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร”
ว่ำด้วยอริยสัจ ๔ ประกำรแก่ปัญจวัคคีย์
• โกณฑัญญะ ๑ ใน ๕ ของปัญจวัคคีย์ได้เกิด “ดวงตำเห็นธรรม” และขอบวช
• พระพุทธเจ้ำประทำนอุปสมบทให้ด้วยวิธี “เอหิภิกขุ” เกิดพระสงฆ์รูปแรกขึนในโลก
และมี “พระรัตนตรัย” ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบบริบูรณ์
พุทธประวัติ กำรสั่งสอน
กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำ
• หลังจำกมีพระอรหันต์สำวกครบ ๖๐ รูป พระพุทธเจ้ำทรงส่งให้แยกย้ำยไปประกำศพระพุทธศำสนำยังทิศต่ำงๆ ส่วนพระพุทธเจ้ำ
เสด็จไปโปรดชฎิลสำมพี่น้อง โดยทรงแสดง “อำทิตตปริยำยสูตร” จนชฎิลสำมพี่น้องและบริวำรบวชเป็นสำวกของพระพุทธองค์
• พระเจ้ำพิมพิสำร และชำวเมืองมคธที่นับถือชฎิลสำมพี่น้อง ต่ำงพำกันเลื่อมใสในพระพุทธศำสนำ และทรงสร้ำง “วัดพระเวฬุวัน”
ถวำยเป็นวัดในพระพุทธศำสนำแห่งแรกของโลกศิษย์ของสัญชัยเวลัฏฐบุตร ชื่อ อุปติสสมำณพ และโกลิตมำณพ ได้ขอบวชเป็น
พระสำวก ซึ่งต่อมำคือ พระสำรีบุตรและพระโมคคัลลำนะ
• สุทัตตเศรษฐี หรืออนำถบิณฑิกเศรษฐี ทูลอำรำธนำพระพุทธเจ้ำให้เสด็จไปโปรดชำวเมืองสำวัตถี และสร้ำง “วัดพระเชตะวัน
มหำวิหำร” ถวำย
• หลังจำกเสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศำสนำยังแคว้นต่ำงๆ เป็นเวลำ ๔๕ พรรษำ พระพุทธเจ้ำก็เสด็จดับขันธปรินิพพำน
เมื่อพระชนมำยุได้ ๘๐ พรรษำ
ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระสำรีบุตร
ประวัติ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• มีนำมว่ำ อุปติสสะ เป็นบุตรพรำหมณ์ในเมืองนำลันทำ กรุงรำชคฤห์
• มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีปัญญำเฉียบแหลม เล่ำเรียนได้อย่ำงรวดเร็วได้เข้ำศึกษำปรัชญำอยู่ในสำนัก
สัญชัยเวลัฏฐบุตร
• เมื่อได้ฟังธรรมจำกพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตำเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสำวกของพระพุทธเจ้ำ ได้นำมว่ำ
“สารีบุตร” และได้รับกำรแต่งตังจำกพระพุทธเจ้ำให้เป็นพระอัครสำวกเบืองขวำ
• เป็นผู้มีปัญญำหลักแหลม
• มีควำมกตัญญูกตเวทิตำธรรมเป็นเลิศ
• เป็นผู้มั่นคง และปรำรถนำดีต่อพระพุทธศำสนำ
ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระโมคคัลลำนะ
ประวัติ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• มีนำมเดิมว่ำ โกลิตะ เป็นบุตรพรำหมณ์หัวหน้ำหมู่บ้ำนโกลิตคำม ได้เข้ำศึกษำปรัชญำสำนักสัญชัยเวลัฏฐบุตร
• ได้ฟังธรรมจำกพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตำเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสำวกของพระพุทธเจ้ำ มีนำมว่ำ “โมคคัลลำนะ”
• มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีฤทธิ์มำก สำมำรถใช้อิทธิปำฏิหำริย์ชักจูงคนให้คลำยจำกควำมเห็นผิด ได้รับกำรแต่งตังจำก
พระพุทธเจ้ำให้เป็นพระอัครสำวกเบืองซ้ำย
• เป็นผู้ที่มีควำมอดทนยิ่ง
• เป็นผู้ที่มีควำมถ่อมตนยิ่ง
• ผู้มีควำมใฝ่รู้อย่ำงยิ่ง
ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ นำงขุชชุตตรำ
ประวัติ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• เป็นหญิงค่อม ธิดำของนำงนมในบ้ำนโฆสกเศรษฐี เมืองโกสัมพี นำงขุชชุตตรำมีหน้ำที่ซือดอกไม้ถวำยแก่
พระนำงสำมำวดี
• ได้ฟังพระธรรมเทศนำจำกพระพุทธเจ้ำ จนบรรลุโสดำปัตติผล
• ได้รับมอบหน้ำที่จำกพระนำงสำมำวดีให้เป็นผู้ไปฟังธรรม แล้วนำมำแสดงให้พระนำงและบริวำรฟัง
จนในเวลำต่อมำได้กลำยเป็นอำจำรย์ผู้แสดงพระธรรม
• เป็นผู้ฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ
• เป็นผู้ที่เอำใจใส่หน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำยอย่ำงดียิ่ง
ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระเจ้ำพิมพิสำร
ประวัติ
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• พระเจ้ำพิมพิสำร เป็นพระมหำกษัตริย์แคว้นมคธ ทรงมีควำมเลื่อมใส ศรัทธำในพระพุทธเจ้ำ
และพระพุทธศำสนำ
• พระองค์ได้ถวำยสวนไผ่ เพื่อใช้ในกำรสร้ำงวัดเวฬุวันถวำยพระพุทธเจ้ำ ซึ่งถือเป็นวัดในพระพุทธศำสนำแห่งแรก
ของโลก
• ทรงเป็นพระบิดำที่ดีของบุตร
• ทรงเป็นผู้มั่นคงในพระรัตนตรัย
• ทรงเป็นผู้นำที่ดี
ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย
• ทรงเป็นพระรำชโอรสในพระยำเลอไทย พระมหำกษัตริย์องค์ที่ ๕ แห่งกรุงสุโขทัย
• ทรงศึกษำวิชำชันต้นจำกพระเถระชำวลังกำหลังจำกครองรำชย์ได้ ๕ ปี
• ทรงอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศำสนำทรงปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธรำชธรรม และให้กำรทำนุบำรุง
พระพุทธศำสนำอย่ำงดียิ่ง
• ทรงเป็นแบบอย่ำงพระมหำกษัตริย์ผู้ประพฤติธรรมพระองค์แรกของกรุงสุโขทัยและทรงเป็นนักปรำชญ์ที่รอบรู้ทัง
ทำงศำสนำ กำรปกครอง และอักษรศำสตร์เป็นอย่ำงยิ่ง
พระประวัติ
• ทรงมีควำมเชี่ยวชำญทำงด้ำนศำสนำ รอบรู้พระไตรปิฎกอย่ำงแตกฉำน ทังอรรถกถำ ฎีกำ
อนุฎีกำ และปกรณ์วิเสสอื่นๆ
• ทรงส่งเสริมอุปถัมภ์ด้ำนกำรศึกษำพระพุทธศำสนำและศิลปะศำสตร์ต่ำงๆ
• ทรงส่งรำชบุรุษไปขอพระบรมสำรีริกธำตุจำกลังกำทวีปและได้ทรงนำมำบรรจุไว้ใน
พระมหำธำตุเมืองนครชุม
• ทรงส่งรำชทูตไปอำรำธนำพระสังฆรำชมำจำกลังกำทวีป มำจำพรรษำ อยู่ที่วัดป่ำมะม่วง
ด้ำนศำสนำ
• โปรดให้สร้ำงปรำสำทรำชมณเฑียร
• โปรดให้ยกผนังกันนำตังแต่เมืองสองแคว (พิษณุโลก) มำถึงกรุงสุโขทัย
• ทรงปกครองด้วยทศพิธรำชธรรม
ด้ำนกำรปกครอง
• ทรงพระรำชนิพนธ์เรื่อง “เตภูมิกถำ” หรือ “ไตรภูมิพระร่วง” อันเป็นวรรณกรรมทำง
พระพุทธศำสนำเรื่องแรกของไทย
• โปรดให้มีกำรสร้ำงศิลำจำรึกไว้หลำยหลัก
ด้ำนอักษรศำสตร์
ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• ทรงมีความกตัญญูอย่างยิ่ง พระมหำธรรมรำชำลิไทย ทรงมีควำมรักและกตัญญูต่อพระรำชมำรดำของพระองค์
เป็นอย่ำงยิ่ง
• ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอดนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เนือหำของไตรภูมิพระร่วง กล่ำวถึงเรื่องศีลธรรม
จริยธรรม เรื่องนรก สวรรค์ เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ยำกที่จะอธิบำยให้เข้ำใจได้
• ทรงมีความคิดริเริ่มเป็นยอด วิเครำะห์ได้จำกกำรที่ทรงบรรยำยธรรมในไตรภูมิพระร่วง ทรงเสนอแนวคิดใหม่ๆ ด้วย เช่น
แนวคิดเรื่องคนทำชั่วแล้วถูกจำรึกชื่อบนหนังสุนัข ซึ่งในคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถำ ฎีกำ
ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย
ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส
• มีพระนำมเดิมว่ำ พระองค์เจ้ำมนุษยนำคมำนพ
• ประสูติเมื่อวันที่ ๑๒ เมษำยน พ.ศ. ๒๔๐๒
• ทรงเป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และเจ้ำจอมมำรดำแพ
• ทรงผนวชเป็นสำมเณรที่วัดพระศรีรัตนศำสดำรำมเมื่อพระชันษำได้ ๑๓ พรรษำ ทรงผนวชเป็นภิกษุ
เมื่อพระชันษำได้ ๒๐ พรรษำ และเสด็จไปประทับที่วัดบวรนิเวศวิหำรและวัดมกุฏกษัตริยำรำมตำมลำดับ
• ทรงได้รับกำรยกย่องว่ำทรงเป็น “ดวงประทีปแก้วแห่งคณะสงฆ์ไทย”
พระประวัติ
ผลงำนสำคัญด้ำนกำรจัดกำรทำงพระพุทธศำสนำ
• ทรงจัดสอนภิกษุสำมเณรผู้บวชใหม่ ให้ได้เรียนพระธรรมวินัย และภำษำไทย
• ทรงให้สวดมนต์ในวันพรรษำทุกวัน
• ทรงจัดให้ภิกษุที่พรรษำต่ำกว่ำ ๕ ที่จบนักธรรมแล้ว มำเรียนบำลีทังหมด
• ทรงจัดตังมหำมกุฏรำชวิทยำลัย
• ทรงจัดกำรเรียนกำรสอนทังหนังสือไทยและควำมรู้ในศำสตร์อื่นๆ ควบคู่กันไป
• ทรงฝึกพระธรรมกถึก จนสำมำรถแสดงธรรมปำกเปล่ำได้
• ทรงจัดตังกำรฟังธรรมสำหรับเด็กวัดในวันธรรมสวนะ
ผลงำนพระนิพนธ์ทำงพระพุทธศำสนำ
• ทรงตังหลักสูตร “สำมเณรผู้รู้ธรรม”
• ทรงนิพนธ์ “นวโกวำท”
• ทรงรจนำหนังสือแบบเรียนต่ำงๆ เช่น วินัยมุขเล่ม ๑, ๒ และ ๓ ธรรมวิจำรณ์ ธรรมวิภำค แบบเรียนบำลีไวยำกรณ์
เป็นต้น
• ทรงพระนิพนธ์หนังสือประเภทอื่น เช่น ประเภทพระโอวำท พระธรรมกถำ ประเภทประวัติศำสตร์และโบรำณคดี เป็นต้น
• ทรงพระนิพนธ์ภำษำบำลี ทรงรจนำบทนมัสกำรพระรัตนตรัย ชื่อ นมกำรสิทธิคำถำ (โย จักขุมำ)
ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส
คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง
• ทรงมีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา พยำยำมเอำแบบอย่ำงที่ดีจำกผู้ที่พระองค์ประทับใจ เช่น พระยำปริยัติธรรมธำดำ
เห็นว่ำเป็นคนมีควำมรู้และควำมประพฤติดี จึงคอยศึกษำหำควำมรู้จำกท่ำนเหล่ำนันเสมอ
• ทรงมีความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นเลิศ พระองค์ทรงเป็น “เจ้ำนำย” มำผนวช กลับไม่ถือองค์ ทรงกรำบไหว้พระภิกษุ
ที่อำยุพรรษำมำกกว่ำ
• ทรงมีหิริโอตตัปปะเป็นเลิศ ทรงมีควำมละอำยต่อกำรทำชั่วทำผิด ทรงใช้จ่ำยสุรุ่ยสุร่ำย ไม่รู้จักประหยัด
• ทรงมีความคิดริเริ่ม ฝึกพระภิกษุสงฆ์ให้มีควำมสำมำรถในกำรถ่ำยทอดพระธรรมให้เข้ำใจง่ำย รวมทังทรงนิพนธ์
หนังสือคู่มือศึกษำพระพุทธศำสนำอย่ำงง่ำย คือ นวโกวำท ซึ่งใช้เป็นหลักสูตรผู้บวชใหม่มำจนบัดนี
• ทรงมีวิสัยทัศน์กว้างไกล เนื่องจำกทรงเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษำ ทรงมีวิธีคิดที่แยบคำย (โยนิโสมนสิกำร) อย่ำงครบวงจรคือ
คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ คิดเป็นเหตุเป็นผล และคิดก่อให้เกิดกุศล คือ สร้ำงสรรค์ในทำงดี
ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส
ชำดก มิตตวินทุกชำดก
มิตตวินทุกชำดก เป็นเรื่องรำวของชำยชื่อมิตตวินทุกะ ผู้ได้รับผลกรรมเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เพรำะเป็น
ผู้มีควำมโลภ ต้องกำรได้ทรัพย์สมบัติจำนวนมำก ทำให้เมื่อเขำได้พบกับปรำสำทแก้วผลึก ปรำสำทเงิน ปรำสำท
แก้วมณี และปรำสำททอง เขำก็เลือกที่จะเดินผ่ำนเข้ำไปเรื่อยๆ เพรำะหวังว่ำจะได้พบกับทรัพย์ลำค่ำมำกขึน
ในที่สุดควำมโลภนันได้ชักนำให้มิตตวินทุกะได้พบเจอกับผีเปรตที่มีกงจักรบดศีรษะอยู่ แต่มิตตวินทุกะกลับ
เห็นว่ำเป็นเทพบุตรที่มีดอกบัวประดับศีรษะ จึงร้องขอดอกบัวนัน ทำให้ต้องเสวยผลกรรมต่อจำกผีเปรตตนนัน
ถูกกงจักรบดศีรษะได้รับควำมทรมำนยิ่งนัก ซึ่งให้คติสอนใจ คือ โลภมาก ลาภหาย
ชำดก รำโชวำทชำดก
รำโชวำทชำดก เป็นเรื่องรำวที่สั่งสอนให้ผู้นำประเทศปกครองประเทศโดยธรรม มีควำมซื่อสัตย์
สุจริต ไม่คดโกง ทังนีเพื่อประโยชน์สุขของประชำรำษฎร์เป็นสำคัญ โดยข้อคิดสำคัญที่ได้จำกเรื่อง
รำโชวำทชำดก สำมำรถสรุปได้ ๒ ประกำร คือ
• ผู้ปกครองที่ดีต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี เพื่อให้ผู้น้อยปฏิบัติตำม ซึ่งจะช่วยให้สังคมสงบสุข
• ธรรมหรือคุณควำมดีนำมำซึ่งควำมสงบร่มเย็นของบ้ำนเมือง ผู้ปกครองที่ประพฤติธรรม จึงทำให้ประชำรำษฎร์
อยู่อย่ำงร่มเย็นเป็นสุข

More Related Content

What's hot

หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60Krittalak Chawat
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมniralai
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]นิตยา ทองดียิ่ง
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้Aoun หมูอ้วน
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓kruthai40
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"พัน พัน
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาThongsawan Seeha
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชนPadvee Academy
 
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาวุฒิชาติ มาตย์นอก
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกChainarong Maharak
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงพัน พัน
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามพัน พัน
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยPadvee Academy
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์นันทนา วงศ์สมิตกุล
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยSuwanan Nonsrikham
 

What's hot (20)

หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
หลักสูตร51 vs หลักสูตร 60
 
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรมคำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
คำกล่าวเปิดค่ายจริยธรรม
 
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
๑๐. ฉันทลักษณ์และคำประพันธ์ประเภทกาพย์[1]
 
จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้จิตวิทยาการเรียนรู้
จิตวิทยาการเรียนรู้
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
บทอาขยาน ภาษาไทย ม.๓
 
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
การวิเคราะห์วรรณคดี "รำพึงในป่าช้า"
 
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาแผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
แผนวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา
 
ศาสนาเชน
ศาสนาเชนศาสนาเชน
ศาสนาเชน
 
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนาหน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
หน่วย1 ประวัติและความสำคัญของพระพุทธศาสนา
 
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลกวิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
วิวัฒนาการการศึกษาไทยและการศึกษาโลก
 
ไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วงไตรภูมิพระร่วง
ไตรภูมิพระร่วง
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
แบบฝึกหัด
แบบฝึกหัดแบบฝึกหัด
แบบฝึกหัด
 
พุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทยพุทธศาสนามหายานในไทย
พุทธศาสนามหายานในไทย
 
รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1รสวรรณคดี ม.1
รสวรรณคดี ม.1
 
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
วิเคราะห์มาตรฐานและตัวชี้วัดสาระภูมิศาสตร์
 
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
ลิลิตตะเลงพ่าย (สอน Ppt)[1]
 
อินธนูครู
อินธนูครูอินธนูครู
อินธนูครู
 
ประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทยประวัติการศึกษาไทย
ประวัติการศึกษาไทย
 

Similar to หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101Thanawut Rattanadon
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556oraneehussem
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)SAKANAN ANANTASOOK
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒dentyomaraj
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมniralai
 
Report new-final tdri
Report new-final  tdriReport new-final  tdri
Report new-final tdrisujira123
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓weskaew yodmongkol
 

Similar to หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก (20)

แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
แผนที่ 15-หน้าที่ชาวพุทธ ส16101
 
สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556สารสนเทศ 2556
สารสนเทศ 2556
 
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July  2011
Saeng Dhamma Vol.37 No. 435 July 2011
 
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
TSMT Manual (คู่มือการปฏิบัติตนของครู สควค. ครูผู้สร้างสังคมแห่งการเรียนรู้)
 
วรสารเดือน มิ.ย.
วรสารเดือน มิ.ย.วรสารเดือน มิ.ย.
วรสารเดือน มิ.ย.
 
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
จุลสารชมรมจริยธรรมฉบับที่๒
 
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรมคู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
คู่มือค่ายพุทธบุตรอุ่นใจธรรม
 
Report new-final
Report new-finalReport new-final
Report new-final
 
T5
T5T5
T5
 
T3
T3T3
T3
 
Report new-final
Report new-finalReport new-final
Report new-final
 
Report new-final tdri
Report new-final  tdriReport new-final  tdri
Report new-final tdri
 
Paper tdri
Paper tdriPaper tdri
Paper tdri
 
23
2323
23
 
Bbb
BbbBbb
Bbb
 
Report new-final tdri
Report new-final tdriReport new-final tdri
Report new-final tdri
 
T4
T4T4
T4
 
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011 Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
Saeng Dhamma Vol. 36 No. 434 June 2011
 
หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓หนองลาดควาย๕๓
หนองลาดควาย๕๓
 
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011 Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
Saeng Dhamma Vol. 37 No. 436 August 2011
 

More from วุฒิชาติ มาตย์นอก

More from วุฒิชาติ มาตย์นอก (19)

Pbl7
Pbl7Pbl7
Pbl7
 
Resource pbl 1
Resource pbl 1Resource pbl 1
Resource pbl 1
 
Resource pbl 6
Resource pbl 6Resource pbl 6
Resource pbl 6
 
Resource pbl 5
Resource pbl 5Resource pbl 5
Resource pbl 5
 
Resource pbl 4
Resource pbl 4Resource pbl 4
Resource pbl 4
 
Resource pbl 3
Resource pbl 3Resource pbl 3
Resource pbl 3
 
Resource pbl 2
Resource pbl 2Resource pbl 2
Resource pbl 2
 
แผน12
แผน12แผน12
แผน12
 
แผน09
แผน09แผน09
แผน09
 
แผน7
แผน7แผน7
แผน7
 
02excel
02excel02excel
02excel
 
สีกับการออกแบบงานกราฟิก
สีกับการออกแบบงานกราฟิกสีกับการออกแบบงานกราฟิก
สีกับการออกแบบงานกราฟิก
 
กราฟิก 1
กราฟิก 1กราฟิก 1
กราฟิก 1
 
Seci
SeciSeci
Seci
 
Slideshare1
Slideshare1Slideshare1
Slideshare1
 
Proshow gold by wutjung
Proshow gold  by wutjungProshow gold  by wutjung
Proshow gold by wutjung
 
ฝางวิทยายน
ฝางวิทยายนฝางวิทยายน
ฝางวิทยายน
 
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
การจัดการเรียนรู้คอมพิวเตอร์
 
M learning
M   learningM   learning
M learning
 

หน่วย2 พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก

  • 1. บริษัท อักษรเจริญทัศน์ อจท. จำกัด : 142 ถนนตะนำว เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 Aksorn CharoenTat ACT.Co.,Ltd : 142 Tanao Rd. Pranakorn Bangkok 10200 Thailand โทรศัพท์ : 02 622 2999 โทรสำร : 02 622 1311-8 webmaster@aksorn.com / www.aksorn.com ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ พระพุทธศาสนา กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ๑_หลักสูตรวิชาพระพุทธศาสนา ๒_แผนการจัดการเรียนรู้ ๓_PowerPoint_ประกอบการสอน ๔_Clip ๕_ใบงาน_เฉลย ๖_ข้อสอบประจาหน่วย_เฉลย ๗_การวัดและประเมินผล ๘_รูปภาพ ๙_เสริมสาระ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๑ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๒ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๓ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๔ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๕ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๖ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๗ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ ๘ ๑๐_สื่อเสริมการเรียนรู้
  • 2. พุทธประวัติ พระสาวก ศาสนิกชนตัวอย่าง และชาดก จุดประสงค์การเรียนรู้ ๑. วิเครำะห์พุทธประวัติหรือประวัติศำสดำของศำสนำที่ตนนับถือตำมที่กำหนดได้ ๒. วิเครำะห์และประพฤติตนตำมแบบอย่ำงกำรดำเนินชีวิตและข้อคิดจำกประวัติสำวก ชำดก เรื่องเล่ำ และศำสนิกชนตัวอย่ำงตำมที่กำหนดได้ หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒
  • 4. พุทธประวัติ กำรผจญมำร • ขณะที่พระสิทธัตถะกำลังนั่งสมำธิ เพื่อแสวงหำหนทำงดับทุกข์ พญำมำรนำมว่ำ วสวัตดี มำปรำกฏตัวพร้อมเสนำมำร ร้องบอกให้พระองค์ลุกจำกอำสนะ พระองค์ทรงแย้งว่ำบัลลังก์เป็นของพระองค์ จำกนันเหยียด พระดรรชนีลงยัง พืนดินและตรัสว่ำ “ขอให้วสุนธรำจงเป็นพยำน” • ทันใดนัน พระแม่ธรณีได้ผุดขึนจำกพืนดิน และบีบมวยผม บันดำลให้มีกระแสนำมำท่วมกองทัพ พญำมำรจนแตกพ่ำย ไปในที่สุด พระพุทธรูปปำงมำรวิชัย สร้ำงขึนเพื่อจำลองพุทธประวัติตอนผจญมำร เหตุกำรณ์
  • 5. พุทธประวัติ กำรผจญมำร วิเครำะห์เหตุกำรณ์ • พญามาร หมำยถึง กิเลสที่มำรบกวนพระทัยของพระสิทธัตถะในขณะนั่งสมำธิ อันได้แก่ โลภะ โทสะ และโมหะ • ดังนั้น การผจญมาร ก็คือการต่อสู้กับอานาจของกิเลส • พระแม่ธรณี หมำยถึง บำรมีทัง ๑๐ ที่ทรงบำเพ็ญมำ • ดังนั้น การอ้างถึงพระแม่ธรณี ก็คือทรงอ้างถึงคุณความดีที่ทรงบาเพ็ญมา เพื่อใช้เป็นกาลังใจในการต่อสู้ กับกิเลสทั้งปวง จนสามารถเอาชนะกิเลสและตรัสรู้ในที่สุด
  • 7. พุทธประวัติ กำรตรัสรู้ • เมื่อทรงออกผนวชแล้ว พระสิทธัตถะ ได้ศึกษำค้นคว้ำทำงพ้นทุกข์อยู่เป็นเวลำ ๖ ปี จึงได้ตรัสรู้เป็น พระสัมมำสัมพุทธเจ้ำ ในช่วงเวลำ ๖ ปีนี พระองค์ทรงทำอะไรบ้ำง สรุปเป็นขันตอนตำมลำดับ ขันที่ ๑ ทรงฝึกปฏิบัติโยคะ ขันที่ ๒ ทรงบำเพ็ญตบะ ขันที่ ๔ ทรงบำเพ็ญเพียรทำงจิต ขันที่ ๓ ทรงบำเพ็ญทุกกรกิริยำ • ทรงไปขอศึกษำเล่ำเรียนและฝึกปฏิบัติอยู่กับอำจำรย์ “อำฬำรดำบส กำลำมโคตร” กับ “อุททกดำบส รำมบุตร” จนจบควำมรู้ แต่ก็ยังไม่ใช่ทำงพ้นทุกข์ที่แท้จริง • กำรทรมำนตนเองให้ลำบำก ตำมวิธีทรมำนตนเองแบบต่ำงๆ ที่นักบวชชำวอินเดียนิยม ทำกันเป็นจำนวนมำก และเชื่อว่ำเป็นแนวทำงพ้นทุกข์ทำงหนึ่ง • เป็นกำรคิดค้นหำเหตุผลทำงด้ำนจิตใจ เป็นขันตอนหลังจำกที่พระองค์ทรงเลิกบำเพ็ญ ทุกกรกิริยำแล้ว • ขันที่ ๑ กำรกัดฟัน • ขันที่ ๒ กำรกลันลมหำยใจ • ขันที่ ๓ กำรอดอำหำร
  • 8. พุทธประวัติ กำรตรัสรู้ • หลังจำกทรงพิจำรณำไตร่ตรองแล้ว พบว่ำกำรบำเพ็ญทุกกรกิริยำนัน มิใช่หนทำงดับทุกข์ที่แท้จริง พระสิทธัตถะ จึงทรงเลิกกระทำ แล้วทรงยึดทำงสำยกลำง จนตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้ำเมื่อวันขึน ๑๕ ค่ำ เดือน ๖ ก่อน พุทธศักรำช ๔๕ ปี โดยสิ่งที่พระองค์ตรัสรู้ คือ กระบวนกำรเกิดของทุกข์และกำรดับทุกข์ เรียกว่ำ “อริยสัจ ๔” ประกอบด้วย ทุกข์ สมุทัย นิโรธ มรรค
  • 9. ควำมทุกข์ หรือปัญหำ ของชีวิตทังหมด สำเหตุของทุกข์ หรือ สำเหตุของปัญหำชีวิต ควำมดับทุกข์ หรือภำวะหมดปัญหำ ทำงดับทุกข์ หรือ แนวทำงแก้ปัญหำชีวิต ทุกข์ สมุทัย มรรค นิโรธ อริยสัจ ๔ พุทธประวัติ กำรตรัสรู้
  • 10. พุทธประวัติ กำรตรัสรู้ • ควำมรู้แจ่มแจ้งนัน ได้ปรำกฏขึนในพระทัยของพระองค์ดุจมองเห็นด้วยตำเปล่ำ เป็นควำมสว่ำงโพลงภำยในที่ ปรำศจำกควำมสงสัยเคลือบแคลงใดๆ ควำมรู้นีได้ตอบปัญหำที่ทรงค้ำงพระทัยมำเป็นเวลำกว่ำ ๖ ปี พร้อม กับกำรเกิดควำมรู้ด้ำนกิเลส (ควำมเศร้ำหมองแห่งจิต คือ โลภ โกรธ หลง) ที่ทรงสงสัยอยู่ในจิตใจของ พระองค์ก็ได้ปลำสนำกำรหำยไปหมดสิน กำรรู้แจ้งของพระองค์สำมำรถสรุปเป็นขันๆ คือ ยำมต้น • ทรงระลึกถึงชำติหนหลังของพระองค์ได้ ยำมสอง • ทรงได้ตำทิพย์ มองเห็นกำรเกิด กำรตำยของสัตว์ทังหลำยตำมผลกรรมที่ได้กระทำไว้ ยำมสำม • ทรงเกิดกำรรู้แจ้งที่สำมำรถทำลำยกิเลสให้หมดสินไปได้
  • 11. พุทธประวัติ กำรสั่งสอน กำรแสดงปฐมเทศนำโปรดปัญจวัคคีย์ • หลังจำกทรงตรัสรู้ พระพุทธเจ้ำได้เสด็จไปตรัสสอน “ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร” ว่ำด้วยอริยสัจ ๔ ประกำรแก่ปัญจวัคคีย์ • โกณฑัญญะ ๑ ใน ๕ ของปัญจวัคคีย์ได้เกิด “ดวงตำเห็นธรรม” และขอบวช • พระพุทธเจ้ำประทำนอุปสมบทให้ด้วยวิธี “เอหิภิกขุ” เกิดพระสงฆ์รูปแรกขึนในโลก และมี “พระรัตนตรัย” ได้แก่ พระพุทธ พระธรรม และพระสงฆ์ ครบบริบูรณ์
  • 12. พุทธประวัติ กำรสั่งสอน กำรเผยแผ่พระพุทธศำสนำ • หลังจำกมีพระอรหันต์สำวกครบ ๖๐ รูป พระพุทธเจ้ำทรงส่งให้แยกย้ำยไปประกำศพระพุทธศำสนำยังทิศต่ำงๆ ส่วนพระพุทธเจ้ำ เสด็จไปโปรดชฎิลสำมพี่น้อง โดยทรงแสดง “อำทิตตปริยำยสูตร” จนชฎิลสำมพี่น้องและบริวำรบวชเป็นสำวกของพระพุทธองค์ • พระเจ้ำพิมพิสำร และชำวเมืองมคธที่นับถือชฎิลสำมพี่น้อง ต่ำงพำกันเลื่อมใสในพระพุทธศำสนำ และทรงสร้ำง “วัดพระเวฬุวัน” ถวำยเป็นวัดในพระพุทธศำสนำแห่งแรกของโลกศิษย์ของสัญชัยเวลัฏฐบุตร ชื่อ อุปติสสมำณพ และโกลิตมำณพ ได้ขอบวชเป็น พระสำวก ซึ่งต่อมำคือ พระสำรีบุตรและพระโมคคัลลำนะ • สุทัตตเศรษฐี หรืออนำถบิณฑิกเศรษฐี ทูลอำรำธนำพระพุทธเจ้ำให้เสด็จไปโปรดชำวเมืองสำวัตถี และสร้ำง “วัดพระเชตะวัน มหำวิหำร” ถวำย • หลังจำกเสด็จไปเผยแผ่พระพุทธศำสนำยังแคว้นต่ำงๆ เป็นเวลำ ๔๕ พรรษำ พระพุทธเจ้ำก็เสด็จดับขันธปรินิพพำน เมื่อพระชนมำยุได้ ๘๐ พรรษำ
  • 13. ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระสำรีบุตร ประวัติ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • มีนำมว่ำ อุปติสสะ เป็นบุตรพรำหมณ์ในเมืองนำลันทำ กรุงรำชคฤห์ • มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีปัญญำเฉียบแหลม เล่ำเรียนได้อย่ำงรวดเร็วได้เข้ำศึกษำปรัชญำอยู่ในสำนัก สัญชัยเวลัฏฐบุตร • เมื่อได้ฟังธรรมจำกพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตำเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสำวกของพระพุทธเจ้ำ ได้นำมว่ำ “สารีบุตร” และได้รับกำรแต่งตังจำกพระพุทธเจ้ำให้เป็นพระอัครสำวกเบืองขวำ • เป็นผู้มีปัญญำหลักแหลม • มีควำมกตัญญูกตเวทิตำธรรมเป็นเลิศ • เป็นผู้มั่นคง และปรำรถนำดีต่อพระพุทธศำสนำ
  • 14. ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระโมคคัลลำนะ ประวัติ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • มีนำมเดิมว่ำ โกลิตะ เป็นบุตรพรำหมณ์หัวหน้ำหมู่บ้ำนโกลิตคำม ได้เข้ำศึกษำปรัชญำสำนักสัญชัยเวลัฏฐบุตร • ได้ฟังธรรมจำกพระอัสสชิเถระจนได้ดวงตำเห็นธรรม จึงขอบวชเป็นสำวกของพระพุทธเจ้ำ มีนำมว่ำ “โมคคัลลำนะ” • มีคุณสมบัติพิเศษ คือ เป็นผู้มีฤทธิ์มำก สำมำรถใช้อิทธิปำฏิหำริย์ชักจูงคนให้คลำยจำกควำมเห็นผิด ได้รับกำรแต่งตังจำก พระพุทธเจ้ำให้เป็นพระอัครสำวกเบืองซ้ำย • เป็นผู้ที่มีควำมอดทนยิ่ง • เป็นผู้ที่มีควำมถ่อมตนยิ่ง • ผู้มีควำมใฝ่รู้อย่ำงยิ่ง
  • 15. ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ นำงขุชชุตตรำ ประวัติ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • เป็นหญิงค่อม ธิดำของนำงนมในบ้ำนโฆสกเศรษฐี เมืองโกสัมพี นำงขุชชุตตรำมีหน้ำที่ซือดอกไม้ถวำยแก่ พระนำงสำมำวดี • ได้ฟังพระธรรมเทศนำจำกพระพุทธเจ้ำ จนบรรลุโสดำปัตติผล • ได้รับมอบหน้ำที่จำกพระนำงสำมำวดีให้เป็นผู้ไปฟังธรรม แล้วนำมำแสดงให้พระนำงและบริวำรฟัง จนในเวลำต่อมำได้กลำยเป็นอำจำรย์ผู้แสดงพระธรรม • เป็นผู้ฝึกฝนตนเองอยู่เสมอ • เป็นผู้ที่เอำใจใส่หน้ำที่ที่ได้รับมอบหมำยอย่ำงดียิ่ง
  • 16. ประวัติพุทธสำวก พุทธสำวิกำ พระเจ้ำพิมพิสำร ประวัติ คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • พระเจ้ำพิมพิสำร เป็นพระมหำกษัตริย์แคว้นมคธ ทรงมีควำมเลื่อมใส ศรัทธำในพระพุทธเจ้ำ และพระพุทธศำสนำ • พระองค์ได้ถวำยสวนไผ่ เพื่อใช้ในกำรสร้ำงวัดเวฬุวันถวำยพระพุทธเจ้ำ ซึ่งถือเป็นวัดในพระพุทธศำสนำแห่งแรก ของโลก • ทรงเป็นพระบิดำที่ดีของบุตร • ทรงเป็นผู้มั่นคงในพระรัตนตรัย • ทรงเป็นผู้นำที่ดี
  • 17. ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย • ทรงเป็นพระรำชโอรสในพระยำเลอไทย พระมหำกษัตริย์องค์ที่ ๕ แห่งกรุงสุโขทัย • ทรงศึกษำวิชำชันต้นจำกพระเถระชำวลังกำหลังจำกครองรำชย์ได้ ๕ ปี • ทรงอุปสมบทเป็นภิกษุในพระพุทธศำสนำทรงปกครองแผ่นดินด้วยทศพิธรำชธรรม และให้กำรทำนุบำรุง พระพุทธศำสนำอย่ำงดียิ่ง • ทรงเป็นแบบอย่ำงพระมหำกษัตริย์ผู้ประพฤติธรรมพระองค์แรกของกรุงสุโขทัยและทรงเป็นนักปรำชญ์ที่รอบรู้ทัง ทำงศำสนำ กำรปกครอง และอักษรศำสตร์เป็นอย่ำงยิ่ง พระประวัติ
  • 18. • ทรงมีควำมเชี่ยวชำญทำงด้ำนศำสนำ รอบรู้พระไตรปิฎกอย่ำงแตกฉำน ทังอรรถกถำ ฎีกำ อนุฎีกำ และปกรณ์วิเสสอื่นๆ • ทรงส่งเสริมอุปถัมภ์ด้ำนกำรศึกษำพระพุทธศำสนำและศิลปะศำสตร์ต่ำงๆ • ทรงส่งรำชบุรุษไปขอพระบรมสำรีริกธำตุจำกลังกำทวีปและได้ทรงนำมำบรรจุไว้ใน พระมหำธำตุเมืองนครชุม • ทรงส่งรำชทูตไปอำรำธนำพระสังฆรำชมำจำกลังกำทวีป มำจำพรรษำ อยู่ที่วัดป่ำมะม่วง ด้ำนศำสนำ • โปรดให้สร้ำงปรำสำทรำชมณเฑียร • โปรดให้ยกผนังกันนำตังแต่เมืองสองแคว (พิษณุโลก) มำถึงกรุงสุโขทัย • ทรงปกครองด้วยทศพิธรำชธรรม ด้ำนกำรปกครอง • ทรงพระรำชนิพนธ์เรื่อง “เตภูมิกถำ” หรือ “ไตรภูมิพระร่วง” อันเป็นวรรณกรรมทำง พระพุทธศำสนำเรื่องแรกของไทย • โปรดให้มีกำรสร้ำงศิลำจำรึกไว้หลำยหลัก ด้ำนอักษรศำสตร์ ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย
  • 19. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • ทรงมีความกตัญญูอย่างยิ่ง พระมหำธรรมรำชำลิไทย ทรงมีควำมรักและกตัญญูต่อพระรำชมำรดำของพระองค์ เป็นอย่ำงยิ่ง • ทรงมีความสามารถในการถ่ายทอดนามธรรมให้เป็นรูปธรรม เนือหำของไตรภูมิพระร่วง กล่ำวถึงเรื่องศีลธรรม จริยธรรม เรื่องนรก สวรรค์ เป็นเรื่องละเอียดอ่อน ยำกที่จะอธิบำยให้เข้ำใจได้ • ทรงมีความคิดริเริ่มเป็นยอด วิเครำะห์ได้จำกกำรที่ทรงบรรยำยธรรมในไตรภูมิพระร่วง ทรงเสนอแนวคิดใหม่ๆ ด้วย เช่น แนวคิดเรื่องคนทำชั่วแล้วถูกจำรึกชื่อบนหนังสุนัข ซึ่งในคัมภีร์พระไตรปิฎกและอรรถกถำ ฎีกำ ศำสนิกชนตัวอย่ำง พระมหำธรรมรำชำลิไทย
  • 20. ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส • มีพระนำมเดิมว่ำ พระองค์เจ้ำมนุษยนำคมำนพ • ประสูติเมื่อวันที่ ๑๒ เมษำยน พ.ศ. ๒๔๐๒ • ทรงเป็นพระรำชโอรสในพระบำทสมเด็จพระจอมเกล้ำเจ้ำอยู่หัว และเจ้ำจอมมำรดำแพ • ทรงผนวชเป็นสำมเณรที่วัดพระศรีรัตนศำสดำรำมเมื่อพระชันษำได้ ๑๓ พรรษำ ทรงผนวชเป็นภิกษุ เมื่อพระชันษำได้ ๒๐ พรรษำ และเสด็จไปประทับที่วัดบวรนิเวศวิหำรและวัดมกุฏกษัตริยำรำมตำมลำดับ • ทรงได้รับกำรยกย่องว่ำทรงเป็น “ดวงประทีปแก้วแห่งคณะสงฆ์ไทย” พระประวัติ
  • 21. ผลงำนสำคัญด้ำนกำรจัดกำรทำงพระพุทธศำสนำ • ทรงจัดสอนภิกษุสำมเณรผู้บวชใหม่ ให้ได้เรียนพระธรรมวินัย และภำษำไทย • ทรงให้สวดมนต์ในวันพรรษำทุกวัน • ทรงจัดให้ภิกษุที่พรรษำต่ำกว่ำ ๕ ที่จบนักธรรมแล้ว มำเรียนบำลีทังหมด • ทรงจัดตังมหำมกุฏรำชวิทยำลัย • ทรงจัดกำรเรียนกำรสอนทังหนังสือไทยและควำมรู้ในศำสตร์อื่นๆ ควบคู่กันไป • ทรงฝึกพระธรรมกถึก จนสำมำรถแสดงธรรมปำกเปล่ำได้ • ทรงจัดตังกำรฟังธรรมสำหรับเด็กวัดในวันธรรมสวนะ ผลงำนพระนิพนธ์ทำงพระพุทธศำสนำ • ทรงตังหลักสูตร “สำมเณรผู้รู้ธรรม” • ทรงนิพนธ์ “นวโกวำท” • ทรงรจนำหนังสือแบบเรียนต่ำงๆ เช่น วินัยมุขเล่ม ๑, ๒ และ ๓ ธรรมวิจำรณ์ ธรรมวิภำค แบบเรียนบำลีไวยำกรณ์ เป็นต้น • ทรงพระนิพนธ์หนังสือประเภทอื่น เช่น ประเภทพระโอวำท พระธรรมกถำ ประเภทประวัติศำสตร์และโบรำณคดี เป็นต้น • ทรงพระนิพนธ์ภำษำบำลี ทรงรจนำบทนมัสกำรพระรัตนตรัย ชื่อ นมกำรสิทธิคำถำ (โย จักขุมำ) ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส
  • 22. คุณธรรมที่ควรถือเป็นแบบอย่ำง • ทรงมีความใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา พยำยำมเอำแบบอย่ำงที่ดีจำกผู้ที่พระองค์ประทับใจ เช่น พระยำปริยัติธรรมธำดำ เห็นว่ำเป็นคนมีควำมรู้และควำมประพฤติดี จึงคอยศึกษำหำควำมรู้จำกท่ำนเหล่ำนันเสมอ • ทรงมีความอ่อนน้อมถ่อมตนเป็นเลิศ พระองค์ทรงเป็น “เจ้ำนำย” มำผนวช กลับไม่ถือองค์ ทรงกรำบไหว้พระภิกษุ ที่อำยุพรรษำมำกกว่ำ • ทรงมีหิริโอตตัปปะเป็นเลิศ ทรงมีควำมละอำยต่อกำรทำชั่วทำผิด ทรงใช้จ่ำยสุรุ่ยสุร่ำย ไม่รู้จักประหยัด • ทรงมีความคิดริเริ่ม ฝึกพระภิกษุสงฆ์ให้มีควำมสำมำรถในกำรถ่ำยทอดพระธรรมให้เข้ำใจง่ำย รวมทังทรงนิพนธ์ หนังสือคู่มือศึกษำพระพุทธศำสนำอย่ำงง่ำย คือ นวโกวำท ซึ่งใช้เป็นหลักสูตรผู้บวชใหม่มำจนบัดนี • ทรงมีวิสัยทัศน์กว้างไกล เนื่องจำกทรงเป็นผู้ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษำ ทรงมีวิธีคิดที่แยบคำย (โยนิโสมนสิกำร) อย่ำงครบวงจรคือ คิดถูกวิธี คิดมีระเบียบ คิดเป็นเหตุเป็นผล และคิดก่อให้เกิดกุศล คือ สร้ำงสรรค์ในทำงดี ศำสนิกชนตัวอย่ำง สมเด็จพระมหำสมณเจ้ำ กรมพระยำวชิรญำณวโรรส
  • 23. ชำดก มิตตวินทุกชำดก มิตตวินทุกชำดก เป็นเรื่องรำวของชำยชื่อมิตตวินทุกะ ผู้ได้รับผลกรรมเห็นกงจักรเป็นดอกบัว เพรำะเป็น ผู้มีควำมโลภ ต้องกำรได้ทรัพย์สมบัติจำนวนมำก ทำให้เมื่อเขำได้พบกับปรำสำทแก้วผลึก ปรำสำทเงิน ปรำสำท แก้วมณี และปรำสำททอง เขำก็เลือกที่จะเดินผ่ำนเข้ำไปเรื่อยๆ เพรำะหวังว่ำจะได้พบกับทรัพย์ลำค่ำมำกขึน ในที่สุดควำมโลภนันได้ชักนำให้มิตตวินทุกะได้พบเจอกับผีเปรตที่มีกงจักรบดศีรษะอยู่ แต่มิตตวินทุกะกลับ เห็นว่ำเป็นเทพบุตรที่มีดอกบัวประดับศีรษะ จึงร้องขอดอกบัวนัน ทำให้ต้องเสวยผลกรรมต่อจำกผีเปรตตนนัน ถูกกงจักรบดศีรษะได้รับควำมทรมำนยิ่งนัก ซึ่งให้คติสอนใจ คือ โลภมาก ลาภหาย
  • 24. ชำดก รำโชวำทชำดก รำโชวำทชำดก เป็นเรื่องรำวที่สั่งสอนให้ผู้นำประเทศปกครองประเทศโดยธรรม มีควำมซื่อสัตย์ สุจริต ไม่คดโกง ทังนีเพื่อประโยชน์สุขของประชำรำษฎร์เป็นสำคัญ โดยข้อคิดสำคัญที่ได้จำกเรื่อง รำโชวำทชำดก สำมำรถสรุปได้ ๒ ประกำร คือ • ผู้ปกครองที่ดีต้องประพฤติตนเป็นแบบอย่ำงที่ดี เพื่อให้ผู้น้อยปฏิบัติตำม ซึ่งจะช่วยให้สังคมสงบสุข • ธรรมหรือคุณควำมดีนำมำซึ่งควำมสงบร่มเย็นของบ้ำนเมือง ผู้ปกครองที่ประพฤติธรรม จึงทำให้ประชำรำษฎร์ อยู่อย่ำงร่มเย็นเป็นสุข