SlideShare a Scribd company logo
1 of 37
ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ
ฮั่นเฟยจื๊อ คือ ใคร?
• ฮั่นเฟยจื๊อ เกิดที่แคว้นฮั่น ในตระกูลเจ้าครองนครฮั่น
• เกิดในระหว่าง พ.ศ. ๒๖๑-๒๖๓
• เกิดในช่วงที่แคว้นฮั่นถูกรุกราน และพ่ายแพ้ในการรบหลายครั้ง
ทาให้ผู้คนเดือดร้อนมาก – ภายในแคว้นฮั่น พวกตระกูลต่างๆ
ต่างแย่งกันเป็นใหญ่ >> นาไปสู่แนวคิดปรัชญานิตินิยม
• ได้รับการปฏิเสธจากเจ้าเมืองฮั่น จึงปลีกตัวจากสังคม เขียน
หนังสือ ชื่อ “ฮั่นเฟยจื๊อ” รวม ๕๕ บท
• สิ้นชีวิตจากการดื่มยาพิษราว พ.ศ. ๓๑๐
• ฮั่นเฟยจื๊อเห็นว่า จารีต
ประเพณี คุณธรรมเท่านั้น
ไม่สามารถป้ องกัน
ประเทศชาติ หรือนาความ
สงบสุขมาสู่บ้านเมืองได้
• กฎหมายเป็นเรื่องที่สาคัญ
ที่สุด ทาให้ประเทศเข้มแข็ง
นาความสงบสุขมาสู่
บ้านเมืองได้
• สานักนิตินิยม (Legalism)
ประวัติสานักนิตินิยม
• ปรัชญาสานักนิตินิยม ช่วงสมัยที่แคว้นต่างๆ กาลังทาสงคราม
กัน
• เกิดขึ้นโดย “กว้านชุง” (Kuan Chung) เสนาบดีแห่งแคว้น
ฉี่ >> ใช้วิธีปกครองอย่างเข้มงวดมาปกครองประเทศ
• “จื้อชาน” (Tzu Chan) มหาเสนาบดีแห่งแคว้นเช็ง ได้
ประกาศใช้ประมวลกฎหมายจีนฉบับแรกที่เขียนเป็นลายลักษณ์
อักษรใน พ.ศ. ๗ ขึ้นมาใช้ >> แคว้นเช็งจึงมีความสงบ
เรียบร้อย แคว้นใกล้เคียงต่างให้ความนับถือ
นักปรัชญาเด่นในสานักนิตินิยม
• ๑) เซนเต๋า (Shen Tao) แห่งแคว้นเจา >> ให้ความสาคัญกับ “ซี่”
(Shih) หรือ “อานาจ” มาก
• “อานาจ” สาคัญที่สุดในการปกครองประเทศ / อานาจเท่านั้นที่ทา
ให้ผู้ปกครองสามารถปกครองประเทศได้อย่างแท้จริง / ทาให้ทุก
ฝ่ายเกรงกลัวไม่กล้าฝ่าฝืน
• ๒) เซนปู-ไฮ (Shen Pu-Hai) แห่งแคว้นฮั่น >> เน้นเรื่อง “ซู่”
(Shu) >> “ศิลปะการปกครอง” เป็นสิ่งที่สาคัญ
• ศิลปะในการปกครองให้ประชาชนยินดีและปฏิบัติตามคาสั่ง
นักปรัชญาเด่นในสานักนิตินิยม
• ๓) ซางหยาง (Shang Yang) แห่งแคว้นเว่ย >> เน้นเรื่อง “ฝ่า”
(Fa) หรือ “กฎหมาย” สาคัญที่สุด
• เป็นผู้บัญญัติกฎหมายใหม่ๆ กาหนดทั้งคุณและโทษสาหรับผู้ทา
ตามและผู้ล่วงละเมิด ให้ความยุติธรรมทั่วหน้า
• ปฏิรูปทุกอย่าง ตั้งแต่วินัยในกองทัพ จนถึงการเช่าที่ดิน และเป็น
ผู้เผยแพร่เรื่อง “ศิลปะแห่งการทากสิกรรมและการทาสงคราม”
• ซางหยางรังเกียจพวกนักปราชญ์ ลัทธิขงจื๊อ เพราะไม่ได้ทา
ประโยชน์อะไร ------ ^___? คิดว่าเพราะอะไร??
• “หากรัฐใด ยึดถือเรื่อง ๑๐ อย่าง
นี้ คือ กวีนิพนธ์, ประวัติศาสตร์,
จารีตประเพณี, ดนตรี,
คุณธรรม, การปลูกฝังคุณธรรม,
ความรักต่อบิดา, ความรักต่อ
มารดา, ความรักต่อพี่น้อง และ
การครุ่นคิด บ้านเมืองนั้นจะ
แตกสลายก่อนที่ข้าศึกจะมา
โจมตี เพราะไม่มีใครที่จะ
สามารถออกไปต่อสู้ หรือแม้ไม่
มีใครรุกราน รัฐนั้นก็จะเผชิญ
กับความยากจนข้นแค้นอยู่
แล้ว” (ซางหยาง)
ปรัชญาของฮั่นเฟยจื๊อ
• ฮั่นเฟยจื๊อ เป็นนักปรัชญาที่
เด่นที่สุดในสานักนิตินิยม
>> ใช้จุดเด่นของนักปราชญ์
ทั้งหลายเป็นฐานรองรับ
ปรัชญาของตน
• เต๋า, ขงจื๊อ, ม่อจื๊อ, เซนเต๋า,
เซนปู-ไฮ, ซางหยาง....
• *** ซี่ ซู่ ฝ่า
ปรัชญาสังคม และการเมือง
• “....ในปัจจุบันนี้ หากจะมีใครยกย่องสรรเสริญวิธีการของพระเจ้า
เย้า พระเจ้าซุ่น พระเจ้ายู้ พระเจ้าถัง พระเจ้าหวู ซึ่งเป็น
กษัตริย์นักปราชญ์ทั้ง ๕ ในอดีตว่า ควรจะมาใช้ในปัจจุบัน ผู้นั้น
ย่อมเป็นที่ตลกขบขันเป็นแน่ ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่เป็นปราชญ์จึงไม่มี
ความมุ่งหมายที่จะปฏิบัติตามอดีต หรือกาหนดกฎเกณฑ์อะไร
จากอดีต แต่เขาจะศึกษาเหตุการณ์ในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคสมัยของ
เขาให้ถ่องแท้ แล้วคิดแสวงหาลู่ทาง เพื่อเผชิญกับเหตุการณ์ใน
ปัจจุบันอย่างเหมาะสมกับกรณี
ชาวนากับกระต่าย
ผู้ปกครองใดยึดมั่นกับสิ่งที่เป็นอดีต ปรารถนาจะใช้อดีตมาปกครองใน
ปัจจุบัน ผู้ปกครองนั้น ก็เหมือนกับชายคนเฝ้ าคอยกระต่ายนั่นเอง >>
การยึดมั่นในอดีตเป็นอุปสรรคขัดขวางความคิดใหม่ๆ และความ
เจริญก้าวหน้า
ปรัชญาสังคม และการเมือง
• พวกนักปราชญ์มัวแต่ถกเถียงกันในเรื่องการปกครองรูปแบบ
ต่างๆ แต่ไม่ได้คานึงถึงความจริงที่มีอยู่ในปัจจุบัน กลับพูดแต่คุณ
ความดีของการปกครองที่มีอยู่ในอดีต
• ผู้ปกครองที่ฉลาดจะใช้ปัญญาพิจารณาความเป็นจริง สลัดทิ้งสิ่ง
ที่ไร้ประโยชน์
• ผู้ปกครองที่มีสติปัญญาจะไม่ยอมพึ่งพา มนุษยธรรม ไม่ยึดมั่น
อยู่ในศีลธรรม หรือเชื่อตามนักปราชญ์ในลัทธิขงจื๊อ
• ***เรื่องที่ถูกต้องที่ควรนามาใช้กับสังคมในยุคของฮั่นเฟยจื๊อ
คือ ซี่ ซู่ ฝ่า
ซี่ (Shih)
• อานาจเท่านั้นที่จะจัดการกับสิ่งต่างๆ ได้
• อานาจทาให้คนมีอานาจเป็นที่เกรงกลัวของคนทั่วไป ไม่มีใคร
กล้าฝ่าฝืน
• กว้านจื้อ กล่าวว่า “เมื่อพระเจ้าแผ่นดินมีปัญญา และปกครอง
บ้านเมืองด้วยอานาจเด็ดขาด พวกเสนาบดีก็ไม่กล้าทาความชั่ว
ไม่กล้าทรยศต่อพระเจ้าแผ่นดิน ข้อนี้เป็นเพราะเสนาบดีมีความ
รักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดินก็หาไม่ แต่เป็นเพราะพวกเขาเกรงกลัว
ในพระราชอานาจ....”
คุณคิดอย่างไร ???
• กฎหมายจึงบัญญัติว่า
• “จงเคารพยกย่องพระเจ้าแผ่นดิน และอ่อนน้อมถ่อมตนต่อ
เสนาบดี ข้อนี้มิใช่เพราะประชาชนมีความรักภักดีต่อท่านเป็น
พิเศษก็หาไม่ แต่เป็นเพราะท่านเหล่านั้นเป็นผู้มีอานาจสูงสุดใน
แผ่นดิน”
คุณคิดยังไง??? ความรัก ภักดี เคารพจากใจจริง กับการใช้
อานาจ สิ่งไหนดีและได้ผลกว่ากัน???
---- นักปรัชญาคนใดที่มีแนวคิดตรงกันข้าม????
ซี่ (Shih)
• ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวว่า
• คนดีมีอานาจน้อย เพราะอยู่ในฐานะที่ต่ากว่า ก็ต้องยอมจานน
ต่อคนที่มีอานาจมาก เพราะเขาอยู่ในฐานะตาแหน่งที่สูงกว่า
• อานาจและตาแหน่งเป็นของจาเป็น ส่วนความดีและปัญญาไม่
สามารถเป็นที่พึ่งพาอาศัยได้
• คนชั่วแต่มีอานาจ ย่อมสามารถใช้อานาจบังคับให้ประชาชน
ปฏิบัติตามคาสั่งของตนได้
• ความดีและปัญญา ไม่สามารถทาให้ประชาชนเชื่อฟังได้ อานาจ
และหน้าที่ต่างหากที่สามารถทาให้ประชาชนเชื่อฟังได้
ซู่ (ศิลปะการปกครอง)
• ผู้ปกครองจะขาดซู่ไม่ได้ เพราะเป็นเครื่องมือในการปกครอง เพื่อ
ทาให้บุคคลในบังคับบัญชาเชื่อฟังและปฏิบัติตามด้วยความยินดี
• คนมีอานาจ แต่ใช้อานาจไม่เป็น ย่อมก่อให้เกิดโทษแก่ตัวเอง
• ซู่ของผู้นา คือ ***การให้รางวัลแก่ผู้ทาความดี และการลงโทษ
ทัณฑ์แก่คนที่ทาความชั่ว >> “การปกครองที่มีทั้งรางวัล และ
ลงโทษทัณฑ์นั้น เป็นความถูกต้องเหมาะสมกับธรรมชาติของคน”
• คิดว่า ความดี ความชั่วในทรรศนะของฮั่นเฟยจื๊อ คือ อะไร???
• คนดีก็คือคนที่ทาตามกฎหมาย คนชั่วก็คือคนที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ดี
ชั่วตัดสินกันที่กฎหมาย
• กฎหมายจะศักดิ์สิทธิ์ได้ ก็เพราะการปูนบาเหน็จและการลงโทษ
ทัณฑ์คอยสนับสนุน
ตัวอย่างการใช้ซู่
• เมื่อเสนาบดีกราบทูลว่า สามารถทาสิ่งใดได้ ผู้นาก็มอบหมายงานให้
ตามนั้น และต้องให้เขารับผิดชอบให้มีผลงานตรงกับสิ่งที่ได้รับ
มอบหมาย
• หากเขาสามารถมีผลงานสาเร็จดังที่เขารับอาสา เขาก็จะได้รับการ
ปูนบาเหน็จรางวัล แต่ถ้าไม่มีผลงานสาเร็จตามที่ตกลงกันไว้ เขาก็จะ
ถูกลงโทษ
• เมื่อผู้นารักษาหลักการนี้ไว้ได้อย่างเคร่งครัด บุคคลที่รู้ว่าตนไม่มี
ความสามารถก็จะไม่กล้ารับตาแหน่งนั้น
• โดยนัยนี้ ผู้ที่ไร้ความสามารถก็จะหมดไปเอง เหลือแต่ผู้มี
ความสามารถควรแต่ตาแหน่งนั้นๆ เท่านั้น ^__^
ฝ่า (กฎหมาย)
• กฎหมายเป็นตัวกาหนดคุณและโทษไว้อย่างชัดเจน
• ใครปฏิบัติตามกฎหมายก็จะได้รับประโยชน์ ใครฝ่าฝืนก็จะได้รับ
โทษทัณฑ์
• กฎหมายเป็นบรรทัดฐานในการปกครองประเทศ --- ทาให้
พลเมืองมองเห็นชัดว่า ตนควรทาอะไรและไม่ควรทาอะไร
• กฎหมายช่วยกวาดล้างความวุ่นวายไร้ระเบียบของสังคมให้หมด
ไป
• กฎหมายจะช่วยขจัดระบอบศักดินาและการแบ่งแยกระหว่างชน
ชั้น
• ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวไว้ว่า...
• “บ้านเมืองที่มีการปกครองที่ดี สิ่งสาคัญประการแรกต้อง
มีประมวลกฎหมายที่แน่นอน”
• “เมื่อใดมีการใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เมื่อนั้นบ้านเมือง
จะเข้มแข็ง เมื่อใดมีการใช้กฎหมายอย่างหย่อนยาน
เมื่อนั้นบ้านเมืองก็จะอ่อนแอ”
• *** “ถ้าโทษกาหนดไว้หนัก ก็จะไม่มีใครกล้าฝ่าฝื น นี่
คือวิธีกาจัดอาชญากรรมโดยวิธีกาหนดลงโทษ”
• ในการปกครอง >> ซี่ ซู่ ฝ่า ต้องอิงอาศัยกัน >> ผู้นาต้องมี
อานาจ อานาจจะต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายจะ
ศักดิ์สิทธิ์ได้ก็เพราะผู้มีอานาจใช้ และผู้นาจะต้องฉลาดใช้คน
ใช้อานาจ ใช้กฎหมายให้เหมาะสมกับกรณี
• ฮั่นเฟยจื๊อเชื่อว่า
• ผู้นาที่มีอานาจ ไม่จาเป็นต้องมีคุณธรรม หรือความสามารถ
พิเศษแต่อย่างใด มีอานาจอย่างเดียวก็เพียงพอแล้วที่จะทาให้
คนกลัวเกรง ปฏิบัติตามได้
• *_____* คุณคิดว่ายังไง เห็นด้วยหรือไม่??
• หน้าที่ของผู้นา เพียงให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามกฎหมายเท่านั้น แล้วทุก
อย่างจะดาเนินไปได้ด้วยดี >> เพราะพลเมืองได้รับรู้กฎหมายกันอย่าง
ทั่วถึง จึงทาให้พลเมืองรู้ว่าอะไรควรทา อะไรไม่ควรทา >> รู้ว่าผู้นามี
อานาจที่จะลงโทษแก่ผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย และให้รางวัลแก่คนทาตามได้
• ขงจื๊อทาให้ทุกคนเท่าเทียมกันโดย จารีต ประเพณี และคุณธรรม
• ฮั่นเฟยจื๊อ ควรใช้กฎหมายมาแทนที่จารีต ประเพณี และ
คุณธรรม ทุกคนไม่ว่าชนชั้นไหน จะต้องตกอยู่ภายใต้กฎหมาย
ทั้งหมด ไม่มียกเว้น >> “เสนาบดี ถ้ากระทาความผิดแล้ว ก็
จะต้องได้รับโทษทัณฑ์ไม่มียกเว้น สามัญชนหากทาความดี ก็จะ
ได้รับบาเหน็จรางวัล โดยไม่มีข้อยกเว้นเช่นกัน”
• ผู้นาที่ฉลาด จะประกาศใช้กฎหมายเป็นแนว
ทางการปฏิบัติของประชาชน
• จะไม่หวนนาวิธีในอดีตมาใช้
• จะสถาปนาข้าราชการเป็นผู้นาของประชาชน
- เชื่อฟังผู้นา
• ประชาชนต่างก็จะยึดมั่นอยู่ในกฎหมาย จะ
ทางานเพื่อบ้านเมือง และยินดีทาสงครามให้
บ้านเมือง
• กฎหมายควรจะเปลี่ยนไปพร้อมๆ กับ
ความเจริญก้าวหน้าในทุกกาลสมัย การ
ปกครอง จะต้องดาเนินไปให้สอดคล้อง
กับสภาวการณ์ของสมัยนั้นๆ
ปรัชญาชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมในอุดมคติ
• ธรรมชาติแท้ หรือ ดั้งเดิมของคนมีแต่ความเห็นแก่ตัว
***มุ่งแต่แสวงหาและรักษาผลประโยชน์ของตน และ
เป็นนักวัตถุนิยม >> ทุกอย่างที่ทาลงไป ก็เพื่อ
ผลประโยชน์ของตัวเท่านั้น
• ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวเตือนผู้นาของรัฐว่า ไม่ควรไว้ใจบุคคลที่
แวดล้อมใกล้ชิดอย่างเต็มที่ >> “เสนาบดีจะเฝ้ าสังเกตและทา
ตามความประสงค์ของพระราชา แล้วผลประโยชน์ต่างๆ ก็จะ
ตามมา แต่เมื่อใดตนเสียผลประโยชน์ ก็อาจทาความเสียหาย
ให้แก่พระราชาได้เช่นกัน...”
เหตุผลที่ต้องมีกฎหมาย
• หากปล่อยให้คนเป็นไปตามธรรมชาติ ก็ย่อมนาไปสู่ความรุนแรง
และการใช้กาลังอานาจเข้าเบียดเบียนกัน สังคมจะเต็มไปด้วย
ความทุกข์ ยุ่งเหยิง ไร้ระเบียบ
• มีวิธีเดียวที่จะขจัดความยุ่งยากได้ คือ ใช้กฎหมายที่เข้มงวดและ
กาหนดโทษอย่างรุนแรงมาควบคุมไว้ อย่านาหลักมนุษยธรรม
หรือศีลธรรมมาใช้
• ผู้นาจะต้องทา ๒ อย่างพร้อมกัน >> “นาประชาชนโดยกฎหมาย
และบังคับประชาชนให้ปฏิบัติตามกฎหมายโดยการลงโทษ”
ปรัชญาชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมในอุดมคติ
• คนจะแสดงความเห็นแก่ตัวมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการอิ่มปาก
อิ่มท้องเป็นสาคัญ ถ้าหากมีอาหารอุดมสมบูรณ์ก็จะไม่แสดง
ความเห็นแก่ตัว แต่ถ้าเกิดขาดแคลนอาหาร หิวโหย ก็สามารถกระทา
ความผิดได้ >> ปัญหาเศรษฐกิจจึงเป็นเรื่องสาคัญของประเทศ
• ผู้นาของรัฐพึงทาให้รัฐมีพลเมืองน้อย เพื่อจะได้มีอาหารเพียงพอ
ไม่ต้องแย่งกิน แย่งใช้
• การที่จะทาให้ประชาชนกินดีอยู่ดี >> ก็ด้วยอาชีพกสิกรรม และ
วิธีที่จะให้ผลผลิตมากขึ้น >> ต้องปล่อยให้กระทาโดยเสรี แข่งขัน
กันเอง
• ผู้นาจะต้องให้ความสาคัญกับการทา
กสิกรรมว่าเป็นอุดมการณ์ในการ
สร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง
• “บุคคลผู้ใช้ผืนแผ่นดินทาการกสิกร
รม ย่อมจะเจริญด้วยโภคทรัพย์ และ
บุคคลผู้ต่อสู้ศัตรู ย่อมจะเจริญใน
อานาจ”
• ๑) บังคับใช้กฎหมายให้พลเมืองทุก
คนทากสิกรรม และบุกเบิกแผ่นดิน
• ๒) มีกฎหมายบังคับให้พลเมือง
เรียนรู้การรบ ฝึกฝนการทาสงคราม
• ฮั่นเฟยจื๊อ แบ่งสมาชิกของสังคมออกเป็น ๒ กลุ่ม
• ๑) กลุ่มที่ทาประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติ >> ชาวนา ชาวไร่ ทหาร
• ๒) กลุ่มผู้เกียจคร้านและชอบเพ้อฝัน >> ขุนนาง และนักวิชาการ
• ฮั่นเฟยจื๊อจึงรังเกียจลัทธิขงจื๊อในแง่มุมนี้มาก ที่เอาแต่เล่าเรียนศึกษา ไม่ทา
สิ่งใดให้เป็นประโยชน์แจ้งชัดแก่บ้านเมือง
• ฮั่นเฟยจื๊อ ถือการกระทาสาคัญกว่าคาพูด >> นักปฏิบัติการ
สังคมในอุดมคติของฮั่นเฟยจื๊อ
• ๑. ต้องบังคับพลเมืองให้ทากสิกรรม และบุกเบิกผืนแผ่นดินเพื่อ
เพิ่มพูนโภคทรัพย์ของพลเมือง
• ๒ กาหนดการลงโทษ และดาเนินการลงโทษเพื่อควบคุมคนเลว
• ๓. กาหนดให้มีการเก็บภาษีอากร บรรจุยุ้งฉาง และท้องพระคลังให้เต็ม
เพื่อขจัดความอดอยากและเลี้ยงกองทัพ
• ๔. จัดให้มีการฝึกฝนวิชาการรบให้แก่ทุกคน และให้หมั่นฝึกซ้อมจน
ชานาญ เพื่อว่าพลเมืองจะได้ช่วยกันป้ องกันบ้านเมืองเมื่อถูกรุกราน
ดาวน์โหลดไฟล์นี้ได้ที่
www.philosophychicchic.com
สนุกกับการเรียนรู้ปรัชญาและศาสนาแบบชิคๆ เคียงคู่รอยยิ้ม

More Related Content

What's hot

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามPadvee Academy
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะPadvee Academy
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูPadvee Academy
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาPadvee Academy
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกAnchalee BuddhaBucha
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)Padvee Academy
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบthnaporn999
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารPadvee Academy
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณPadvee Academy
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6Thanawut Rattanadon
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)Padvee Academy
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้Sutthiluck Kaewboonrurn
 

What's hot (20)

ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
พุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายมาธยมิกะ
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
ศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลามศาสนาอิสลาม
ศาสนาอิสลาม
 
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญาวิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
วิชาพุทธปรัชญา : พื้นฐานพุทธปรัชญา
 
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎกโครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
โครงสร้างและเนื้อหาสาระพระไตรปิฎก
 
ความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนาความหมายและประเภทของศาสนา
ความหมายและประเภทของศาสนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์ศาสนาซิกส์
ศาสนาซิกส์
 
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาบั๊คจื๊อ (ม่อจื๊อ)
 
ศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบศาสนาเปรียบเทียบ
ศาสนาเปรียบเทียบ
 
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจารวิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
วิชาพระพุทธศาสนามหายาน ตอน นิกายโยคาจาร
 
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณบทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
บทที่ ๑ ศาสนาโบราณ
 
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6พุทธสาวก :  พระราธะ  ส16101 ป.6
พุทธสาวก : พระราธะ ส16101 ป.6
 
วรรณกรรม
วรรณกรรมวรรณกรรม
วรรณกรรม
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang  tzu)
ปรัชญาหยางจื๊อ (Yang tzu)
 
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
หลักการทรงงาน 23 ข้อกับการประยุกต์ใช้
 

More from Padvee Academy

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]Padvee Academy
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Padvee Academy
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)Padvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียPadvee Academy
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตPadvee Academy
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาPadvee Academy
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์Padvee Academy
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)Padvee Academy
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อPadvee Academy
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana BuddhismPadvee Academy
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land BuddhismPadvee Academy
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyPadvee Academy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyPadvee Academy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์Padvee Academy
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)Padvee Academy
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักPadvee Academy
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจPadvee Academy
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)Padvee Academy
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma CommunicationPadvee Academy
 

More from Padvee Academy (20)

หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
หนังสือสอนใช้ WordPress สำหรับผู้เริ่มต้น [ฉบับ E-book]
 
Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist Onpage stucture checklist
Onpage stucture checklist
 
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
ปรัชญาอัตถิภาวนิยมของ ฌอง ปอล ซาร์ต (Jean paul sartre)
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดียปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
ปรัชญาทั่วไป ตอน ปรัชญาอินเดีย
 
ปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิตปรัชญากับวิถีชีวิต
ปรัชญากับวิถีชีวิต
 
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญาปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
ปรัชญาทั่วไป ตอน ทำความรู้จักกับปรัชญา
 
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
5 ขั้นตอนที่ต้องรู้ก่อนทำเว็บไซต์
 
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส  ฮอบส์ (Thomas hobbes)
สรุปเนื้อหา ปรัชญาเบื้องต้น ตอน โทมัส ฮอบส์ (Thomas hobbes)
 
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อวิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
วิเคราะห์ปรัชญาขงจื๊อ
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhismพุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
พุทธศาสนามหายาน นิกายสุขาวดี | Pure Land Buddhism
 
Timeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophyTimeline : history of philosophy
Timeline : history of philosophy
 
Timeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern PhilosophyTimeline : A History of Eastern Philosophy
Timeline : A History of Eastern Philosophy
 
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
รูปภาพ Infographic สรุปแนวคิดที่สำคัญทาง จริยศาสตร์
 
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
เทพเจ้ากรีกและโรมัน (The greek and roman gods Infographic)
 
ศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรักศิลปะแห่งความรัก
ศิลปะแห่งความรัก
 
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
ความฉลาดทางอารมณ์และการพัฒนาจิตใจ
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communicationธรรมนิเทศ Dhamma Communication
ธรรมนิเทศ Dhamma Communication
 

วิชาปรัชญาจีน ตอน ปรัชญาฮั่นเฟยจื๊อ

  • 2. ฮั่นเฟยจื๊อ คือ ใคร? • ฮั่นเฟยจื๊อ เกิดที่แคว้นฮั่น ในตระกูลเจ้าครองนครฮั่น • เกิดในระหว่าง พ.ศ. ๒๖๑-๒๖๓ • เกิดในช่วงที่แคว้นฮั่นถูกรุกราน และพ่ายแพ้ในการรบหลายครั้ง ทาให้ผู้คนเดือดร้อนมาก – ภายในแคว้นฮั่น พวกตระกูลต่างๆ ต่างแย่งกันเป็นใหญ่ >> นาไปสู่แนวคิดปรัชญานิตินิยม • ได้รับการปฏิเสธจากเจ้าเมืองฮั่น จึงปลีกตัวจากสังคม เขียน หนังสือ ชื่อ “ฮั่นเฟยจื๊อ” รวม ๕๕ บท • สิ้นชีวิตจากการดื่มยาพิษราว พ.ศ. ๓๑๐
  • 3. • ฮั่นเฟยจื๊อเห็นว่า จารีต ประเพณี คุณธรรมเท่านั้น ไม่สามารถป้ องกัน ประเทศชาติ หรือนาความ สงบสุขมาสู่บ้านเมืองได้ • กฎหมายเป็นเรื่องที่สาคัญ ที่สุด ทาให้ประเทศเข้มแข็ง นาความสงบสุขมาสู่ บ้านเมืองได้ • สานักนิตินิยม (Legalism)
  • 4.
  • 5.
  • 6.
  • 7. ประวัติสานักนิตินิยม • ปรัชญาสานักนิตินิยม ช่วงสมัยที่แคว้นต่างๆ กาลังทาสงคราม กัน • เกิดขึ้นโดย “กว้านชุง” (Kuan Chung) เสนาบดีแห่งแคว้น ฉี่ >> ใช้วิธีปกครองอย่างเข้มงวดมาปกครองประเทศ • “จื้อชาน” (Tzu Chan) มหาเสนาบดีแห่งแคว้นเช็ง ได้ ประกาศใช้ประมวลกฎหมายจีนฉบับแรกที่เขียนเป็นลายลักษณ์ อักษรใน พ.ศ. ๗ ขึ้นมาใช้ >> แคว้นเช็งจึงมีความสงบ เรียบร้อย แคว้นใกล้เคียงต่างให้ความนับถือ
  • 8. นักปรัชญาเด่นในสานักนิตินิยม • ๑) เซนเต๋า (Shen Tao) แห่งแคว้นเจา >> ให้ความสาคัญกับ “ซี่” (Shih) หรือ “อานาจ” มาก • “อานาจ” สาคัญที่สุดในการปกครองประเทศ / อานาจเท่านั้นที่ทา ให้ผู้ปกครองสามารถปกครองประเทศได้อย่างแท้จริง / ทาให้ทุก ฝ่ายเกรงกลัวไม่กล้าฝ่าฝืน • ๒) เซนปู-ไฮ (Shen Pu-Hai) แห่งแคว้นฮั่น >> เน้นเรื่อง “ซู่” (Shu) >> “ศิลปะการปกครอง” เป็นสิ่งที่สาคัญ • ศิลปะในการปกครองให้ประชาชนยินดีและปฏิบัติตามคาสั่ง
  • 9. นักปรัชญาเด่นในสานักนิตินิยม • ๓) ซางหยาง (Shang Yang) แห่งแคว้นเว่ย >> เน้นเรื่อง “ฝ่า” (Fa) หรือ “กฎหมาย” สาคัญที่สุด • เป็นผู้บัญญัติกฎหมายใหม่ๆ กาหนดทั้งคุณและโทษสาหรับผู้ทา ตามและผู้ล่วงละเมิด ให้ความยุติธรรมทั่วหน้า • ปฏิรูปทุกอย่าง ตั้งแต่วินัยในกองทัพ จนถึงการเช่าที่ดิน และเป็น ผู้เผยแพร่เรื่อง “ศิลปะแห่งการทากสิกรรมและการทาสงคราม” • ซางหยางรังเกียจพวกนักปราชญ์ ลัทธิขงจื๊อ เพราะไม่ได้ทา ประโยชน์อะไร ------ ^___? คิดว่าเพราะอะไร??
  • 10. • “หากรัฐใด ยึดถือเรื่อง ๑๐ อย่าง นี้ คือ กวีนิพนธ์, ประวัติศาสตร์, จารีตประเพณี, ดนตรี, คุณธรรม, การปลูกฝังคุณธรรม, ความรักต่อบิดา, ความรักต่อ มารดา, ความรักต่อพี่น้อง และ การครุ่นคิด บ้านเมืองนั้นจะ แตกสลายก่อนที่ข้าศึกจะมา โจมตี เพราะไม่มีใครที่จะ สามารถออกไปต่อสู้ หรือแม้ไม่ มีใครรุกราน รัฐนั้นก็จะเผชิญ กับความยากจนข้นแค้นอยู่ แล้ว” (ซางหยาง)
  • 11. ปรัชญาของฮั่นเฟยจื๊อ • ฮั่นเฟยจื๊อ เป็นนักปรัชญาที่ เด่นที่สุดในสานักนิตินิยม >> ใช้จุดเด่นของนักปราชญ์ ทั้งหลายเป็นฐานรองรับ ปรัชญาของตน • เต๋า, ขงจื๊อ, ม่อจื๊อ, เซนเต๋า, เซนปู-ไฮ, ซางหยาง.... • *** ซี่ ซู่ ฝ่า
  • 12. ปรัชญาสังคม และการเมือง • “....ในปัจจุบันนี้ หากจะมีใครยกย่องสรรเสริญวิธีการของพระเจ้า เย้า พระเจ้าซุ่น พระเจ้ายู้ พระเจ้าถัง พระเจ้าหวู ซึ่งเป็น กษัตริย์นักปราชญ์ทั้ง ๕ ในอดีตว่า ควรจะมาใช้ในปัจจุบัน ผู้นั้น ย่อมเป็นที่ตลกขบขันเป็นแน่ ด้วยเหตุนี้ ผู้ที่เป็นปราชญ์จึงไม่มี ความมุ่งหมายที่จะปฏิบัติตามอดีต หรือกาหนดกฎเกณฑ์อะไร จากอดีต แต่เขาจะศึกษาเหตุการณ์ในปัจจุบันซึ่งเป็นยุคสมัยของ เขาให้ถ่องแท้ แล้วคิดแสวงหาลู่ทาง เพื่อเผชิญกับเหตุการณ์ใน ปัจจุบันอย่างเหมาะสมกับกรณี
  • 13. ชาวนากับกระต่าย ผู้ปกครองใดยึดมั่นกับสิ่งที่เป็นอดีต ปรารถนาจะใช้อดีตมาปกครองใน ปัจจุบัน ผู้ปกครองนั้น ก็เหมือนกับชายคนเฝ้ าคอยกระต่ายนั่นเอง >> การยึดมั่นในอดีตเป็นอุปสรรคขัดขวางความคิดใหม่ๆ และความ เจริญก้าวหน้า
  • 14. ปรัชญาสังคม และการเมือง • พวกนักปราชญ์มัวแต่ถกเถียงกันในเรื่องการปกครองรูปแบบ ต่างๆ แต่ไม่ได้คานึงถึงความจริงที่มีอยู่ในปัจจุบัน กลับพูดแต่คุณ ความดีของการปกครองที่มีอยู่ในอดีต • ผู้ปกครองที่ฉลาดจะใช้ปัญญาพิจารณาความเป็นจริง สลัดทิ้งสิ่ง ที่ไร้ประโยชน์ • ผู้ปกครองที่มีสติปัญญาจะไม่ยอมพึ่งพา มนุษยธรรม ไม่ยึดมั่น อยู่ในศีลธรรม หรือเชื่อตามนักปราชญ์ในลัทธิขงจื๊อ • ***เรื่องที่ถูกต้องที่ควรนามาใช้กับสังคมในยุคของฮั่นเฟยจื๊อ คือ ซี่ ซู่ ฝ่า
  • 15. ซี่ (Shih) • อานาจเท่านั้นที่จะจัดการกับสิ่งต่างๆ ได้ • อานาจทาให้คนมีอานาจเป็นที่เกรงกลัวของคนทั่วไป ไม่มีใคร กล้าฝ่าฝืน • กว้านจื้อ กล่าวว่า “เมื่อพระเจ้าแผ่นดินมีปัญญา และปกครอง บ้านเมืองด้วยอานาจเด็ดขาด พวกเสนาบดีก็ไม่กล้าทาความชั่ว ไม่กล้าทรยศต่อพระเจ้าแผ่นดิน ข้อนี้เป็นเพราะเสนาบดีมีความ รักภักดีต่อพระเจ้าแผ่นดินก็หาไม่ แต่เป็นเพราะพวกเขาเกรงกลัว ในพระราชอานาจ....”
  • 16. คุณคิดอย่างไร ??? • กฎหมายจึงบัญญัติว่า • “จงเคารพยกย่องพระเจ้าแผ่นดิน และอ่อนน้อมถ่อมตนต่อ เสนาบดี ข้อนี้มิใช่เพราะประชาชนมีความรักภักดีต่อท่านเป็น พิเศษก็หาไม่ แต่เป็นเพราะท่านเหล่านั้นเป็นผู้มีอานาจสูงสุดใน แผ่นดิน” คุณคิดยังไง??? ความรัก ภักดี เคารพจากใจจริง กับการใช้ อานาจ สิ่งไหนดีและได้ผลกว่ากัน??? ---- นักปรัชญาคนใดที่มีแนวคิดตรงกันข้าม????
  • 17. ซี่ (Shih) • ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวว่า • คนดีมีอานาจน้อย เพราะอยู่ในฐานะที่ต่ากว่า ก็ต้องยอมจานน ต่อคนที่มีอานาจมาก เพราะเขาอยู่ในฐานะตาแหน่งที่สูงกว่า • อานาจและตาแหน่งเป็นของจาเป็น ส่วนความดีและปัญญาไม่ สามารถเป็นที่พึ่งพาอาศัยได้ • คนชั่วแต่มีอานาจ ย่อมสามารถใช้อานาจบังคับให้ประชาชน ปฏิบัติตามคาสั่งของตนได้ • ความดีและปัญญา ไม่สามารถทาให้ประชาชนเชื่อฟังได้ อานาจ และหน้าที่ต่างหากที่สามารถทาให้ประชาชนเชื่อฟังได้
  • 18. ซู่ (ศิลปะการปกครอง) • ผู้ปกครองจะขาดซู่ไม่ได้ เพราะเป็นเครื่องมือในการปกครอง เพื่อ ทาให้บุคคลในบังคับบัญชาเชื่อฟังและปฏิบัติตามด้วยความยินดี • คนมีอานาจ แต่ใช้อานาจไม่เป็น ย่อมก่อให้เกิดโทษแก่ตัวเอง • ซู่ของผู้นา คือ ***การให้รางวัลแก่ผู้ทาความดี และการลงโทษ ทัณฑ์แก่คนที่ทาความชั่ว >> “การปกครองที่มีทั้งรางวัล และ ลงโทษทัณฑ์นั้น เป็นความถูกต้องเหมาะสมกับธรรมชาติของคน”
  • 19. • คิดว่า ความดี ความชั่วในทรรศนะของฮั่นเฟยจื๊อ คือ อะไร??? • คนดีก็คือคนที่ทาตามกฎหมาย คนชั่วก็คือคนที่ฝ่าฝืนกฎหมาย ดี ชั่วตัดสินกันที่กฎหมาย • กฎหมายจะศักดิ์สิทธิ์ได้ ก็เพราะการปูนบาเหน็จและการลงโทษ ทัณฑ์คอยสนับสนุน
  • 20. ตัวอย่างการใช้ซู่ • เมื่อเสนาบดีกราบทูลว่า สามารถทาสิ่งใดได้ ผู้นาก็มอบหมายงานให้ ตามนั้น และต้องให้เขารับผิดชอบให้มีผลงานตรงกับสิ่งที่ได้รับ มอบหมาย • หากเขาสามารถมีผลงานสาเร็จดังที่เขารับอาสา เขาก็จะได้รับการ ปูนบาเหน็จรางวัล แต่ถ้าไม่มีผลงานสาเร็จตามที่ตกลงกันไว้ เขาก็จะ ถูกลงโทษ • เมื่อผู้นารักษาหลักการนี้ไว้ได้อย่างเคร่งครัด บุคคลที่รู้ว่าตนไม่มี ความสามารถก็จะไม่กล้ารับตาแหน่งนั้น • โดยนัยนี้ ผู้ที่ไร้ความสามารถก็จะหมดไปเอง เหลือแต่ผู้มี ความสามารถควรแต่ตาแหน่งนั้นๆ เท่านั้น ^__^
  • 21. ฝ่า (กฎหมาย) • กฎหมายเป็นตัวกาหนดคุณและโทษไว้อย่างชัดเจน • ใครปฏิบัติตามกฎหมายก็จะได้รับประโยชน์ ใครฝ่าฝืนก็จะได้รับ โทษทัณฑ์ • กฎหมายเป็นบรรทัดฐานในการปกครองประเทศ --- ทาให้ พลเมืองมองเห็นชัดว่า ตนควรทาอะไรและไม่ควรทาอะไร • กฎหมายช่วยกวาดล้างความวุ่นวายไร้ระเบียบของสังคมให้หมด ไป • กฎหมายจะช่วยขจัดระบอบศักดินาและการแบ่งแยกระหว่างชน ชั้น
  • 22. • ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวไว้ว่า... • “บ้านเมืองที่มีการปกครองที่ดี สิ่งสาคัญประการแรกต้อง มีประมวลกฎหมายที่แน่นอน” • “เมื่อใดมีการใช้กฎหมายอย่างเข้มงวด เมื่อนั้นบ้านเมือง จะเข้มแข็ง เมื่อใดมีการใช้กฎหมายอย่างหย่อนยาน เมื่อนั้นบ้านเมืองก็จะอ่อนแอ” • *** “ถ้าโทษกาหนดไว้หนัก ก็จะไม่มีใครกล้าฝ่าฝื น นี่ คือวิธีกาจัดอาชญากรรมโดยวิธีกาหนดลงโทษ”
  • 23.
  • 24. • ในการปกครอง >> ซี่ ซู่ ฝ่า ต้องอิงอาศัยกัน >> ผู้นาต้องมี อานาจ อานาจจะต้องเป็นไปตามกฎหมาย กฎหมายจะ ศักดิ์สิทธิ์ได้ก็เพราะผู้มีอานาจใช้ และผู้นาจะต้องฉลาดใช้คน ใช้อานาจ ใช้กฎหมายให้เหมาะสมกับกรณี
  • 25. • ฮั่นเฟยจื๊อเชื่อว่า • ผู้นาที่มีอานาจ ไม่จาเป็นต้องมีคุณธรรม หรือความสามารถ พิเศษแต่อย่างใด มีอานาจอย่างเดียวก็เพียงพอแล้วที่จะทาให้ คนกลัวเกรง ปฏิบัติตามได้ • *_____* คุณคิดว่ายังไง เห็นด้วยหรือไม่?? • หน้าที่ของผู้นา เพียงให้ทุกฝ่ายปฏิบัติตามกฎหมายเท่านั้น แล้วทุก อย่างจะดาเนินไปได้ด้วยดี >> เพราะพลเมืองได้รับรู้กฎหมายกันอย่าง ทั่วถึง จึงทาให้พลเมืองรู้ว่าอะไรควรทา อะไรไม่ควรทา >> รู้ว่าผู้นามี อานาจที่จะลงโทษแก่ผู้ฝ่าฝืนกฎหมาย และให้รางวัลแก่คนทาตามได้
  • 26. • ขงจื๊อทาให้ทุกคนเท่าเทียมกันโดย จารีต ประเพณี และคุณธรรม • ฮั่นเฟยจื๊อ ควรใช้กฎหมายมาแทนที่จารีต ประเพณี และ คุณธรรม ทุกคนไม่ว่าชนชั้นไหน จะต้องตกอยู่ภายใต้กฎหมาย ทั้งหมด ไม่มียกเว้น >> “เสนาบดี ถ้ากระทาความผิดแล้ว ก็ จะต้องได้รับโทษทัณฑ์ไม่มียกเว้น สามัญชนหากทาความดี ก็จะ ได้รับบาเหน็จรางวัล โดยไม่มีข้อยกเว้นเช่นกัน”
  • 27. • ผู้นาที่ฉลาด จะประกาศใช้กฎหมายเป็นแนว ทางการปฏิบัติของประชาชน • จะไม่หวนนาวิธีในอดีตมาใช้ • จะสถาปนาข้าราชการเป็นผู้นาของประชาชน - เชื่อฟังผู้นา • ประชาชนต่างก็จะยึดมั่นอยู่ในกฎหมาย จะ ทางานเพื่อบ้านเมือง และยินดีทาสงครามให้ บ้านเมือง • กฎหมายควรจะเปลี่ยนไปพร้อมๆ กับ ความเจริญก้าวหน้าในทุกกาลสมัย การ ปกครอง จะต้องดาเนินไปให้สอดคล้อง กับสภาวการณ์ของสมัยนั้นๆ
  • 28. ปรัชญาชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมในอุดมคติ • ธรรมชาติแท้ หรือ ดั้งเดิมของคนมีแต่ความเห็นแก่ตัว ***มุ่งแต่แสวงหาและรักษาผลประโยชน์ของตน และ เป็นนักวัตถุนิยม >> ทุกอย่างที่ทาลงไป ก็เพื่อ ผลประโยชน์ของตัวเท่านั้น • ฮั่นเฟยจื๊อ กล่าวเตือนผู้นาของรัฐว่า ไม่ควรไว้ใจบุคคลที่ แวดล้อมใกล้ชิดอย่างเต็มที่ >> “เสนาบดีจะเฝ้ าสังเกตและทา ตามความประสงค์ของพระราชา แล้วผลประโยชน์ต่างๆ ก็จะ ตามมา แต่เมื่อใดตนเสียผลประโยชน์ ก็อาจทาความเสียหาย ให้แก่พระราชาได้เช่นกัน...”
  • 29.
  • 30. เหตุผลที่ต้องมีกฎหมาย • หากปล่อยให้คนเป็นไปตามธรรมชาติ ก็ย่อมนาไปสู่ความรุนแรง และการใช้กาลังอานาจเข้าเบียดเบียนกัน สังคมจะเต็มไปด้วย ความทุกข์ ยุ่งเหยิง ไร้ระเบียบ • มีวิธีเดียวที่จะขจัดความยุ่งยากได้ คือ ใช้กฎหมายที่เข้มงวดและ กาหนดโทษอย่างรุนแรงมาควบคุมไว้ อย่านาหลักมนุษยธรรม หรือศีลธรรมมาใช้ • ผู้นาจะต้องทา ๒ อย่างพร้อมกัน >> “นาประชาชนโดยกฎหมาย และบังคับประชาชนให้ปฏิบัติตามกฎหมายโดยการลงโทษ”
  • 31. ปรัชญาชีวิต เศรษฐกิจ และสังคมในอุดมคติ • คนจะแสดงความเห็นแก่ตัวมากหรือน้อย ขึ้นอยู่กับการอิ่มปาก อิ่มท้องเป็นสาคัญ ถ้าหากมีอาหารอุดมสมบูรณ์ก็จะไม่แสดง ความเห็นแก่ตัว แต่ถ้าเกิดขาดแคลนอาหาร หิวโหย ก็สามารถกระทา ความผิดได้ >> ปัญหาเศรษฐกิจจึงเป็นเรื่องสาคัญของประเทศ • ผู้นาของรัฐพึงทาให้รัฐมีพลเมืองน้อย เพื่อจะได้มีอาหารเพียงพอ ไม่ต้องแย่งกิน แย่งใช้ • การที่จะทาให้ประชาชนกินดีอยู่ดี >> ก็ด้วยอาชีพกสิกรรม และ วิธีที่จะให้ผลผลิตมากขึ้น >> ต้องปล่อยให้กระทาโดยเสรี แข่งขัน กันเอง
  • 32. • ผู้นาจะต้องให้ความสาคัญกับการทา กสิกรรมว่าเป็นอุดมการณ์ในการ สร้างบ้านเมืองให้เข้มแข็ง • “บุคคลผู้ใช้ผืนแผ่นดินทาการกสิกร รม ย่อมจะเจริญด้วยโภคทรัพย์ และ บุคคลผู้ต่อสู้ศัตรู ย่อมจะเจริญใน อานาจ” • ๑) บังคับใช้กฎหมายให้พลเมืองทุก คนทากสิกรรม และบุกเบิกแผ่นดิน • ๒) มีกฎหมายบังคับให้พลเมือง เรียนรู้การรบ ฝึกฝนการทาสงคราม
  • 33. • ฮั่นเฟยจื๊อ แบ่งสมาชิกของสังคมออกเป็น ๒ กลุ่ม • ๑) กลุ่มที่ทาประโยชน์ให้แก่ประเทศชาติ >> ชาวนา ชาวไร่ ทหาร • ๒) กลุ่มผู้เกียจคร้านและชอบเพ้อฝัน >> ขุนนาง และนักวิชาการ • ฮั่นเฟยจื๊อจึงรังเกียจลัทธิขงจื๊อในแง่มุมนี้มาก ที่เอาแต่เล่าเรียนศึกษา ไม่ทา สิ่งใดให้เป็นประโยชน์แจ้งชัดแก่บ้านเมือง • ฮั่นเฟยจื๊อ ถือการกระทาสาคัญกว่าคาพูด >> นักปฏิบัติการ
  • 34. สังคมในอุดมคติของฮั่นเฟยจื๊อ • ๑. ต้องบังคับพลเมืองให้ทากสิกรรม และบุกเบิกผืนแผ่นดินเพื่อ เพิ่มพูนโภคทรัพย์ของพลเมือง • ๒ กาหนดการลงโทษ และดาเนินการลงโทษเพื่อควบคุมคนเลว • ๓. กาหนดให้มีการเก็บภาษีอากร บรรจุยุ้งฉาง และท้องพระคลังให้เต็ม เพื่อขจัดความอดอยากและเลี้ยงกองทัพ • ๔. จัดให้มีการฝึกฝนวิชาการรบให้แก่ทุกคน และให้หมั่นฝึกซ้อมจน ชานาญ เพื่อว่าพลเมืองจะได้ช่วยกันป้ องกันบ้านเมืองเมื่อถูกรุกราน
  • 35.
  • 36.