SlideShare a Scribd company logo
1

แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6
ปี การศึกษา 2556
ชื่อโครงงาน แอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเรื่ องการหาค่ากลางของคณิ ตศาสตร์
่

ชื่อผู้ทาโครงงาน
1 นาย ณัฐกรณ์ ตากันทะ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 8
2 นางสาว กมลวรรณ ทองมี เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 8

ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงานร่ วม ครู หทัยรัตน์
ศรี วโรจน์
ิ
ครู วรัชชัย
ิ
จันต๊ะวงค์

ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556

โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
้ ่
2

ใบงาน
การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นายณัฐกรณ์
2. นางสาว กมลวรรณ

ตากันทะ
ทองมี

เลขที่ 10
เลขที่ 22

คาชี้แจง ให้ ผู้เรียนแต่ ละกลุ่มเขียนข้ อเสนอโครงงานตามหัวข้ อต่ อไปนี้
ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : แอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเรื่ องการหาค่ากลางของคณิ ตศาสตร์
่
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Smart phone application development - medium finding
ประเภทโครงงาน : วิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขา คอมพิวเตอร์
ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายณัฐกรณ์
ตากันทะ
นางสาว กมลวรรณ ทองมี
ชื่อทีปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์
่
ชื่อทีปรึกษาร่ วม : ครู หทัยรัตน์
่
ศรี วโรจน์
ิ
ครู วรัชชัย จันต๊ะวงค์
ิ
ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556
ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
่
ปั จจุ บ ัน การใช้ง านสมาร์ ท โฟนเข้ามามี บ ทบาทในชี วิตประจาวัน ของมนุ ษ ย์เป็ นอย่างมาก โดยเป็ นที่
่
แพร่ หลายในสังคมทุกเพศทุกวัย ไม่วาจะเป็ นนักศึกษาหรื อวัยทางาน เพราะมีความรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย ระบบ
ปฎิบติการบนสมาร์ ทโฟนที่นิยมใช้ส่วนใหญ่มี 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ และ ระบบปฏิบติการ
ั
ั
ั
ios ซึ่ งระบบปฏิบติการดังกล่าวนี้ จะต้องมีแอพพลิเคชันเฉพาะการใช้งานต่างๆ เช่น แอปพลิเคชันสอนพูดอังกฤษ
ั
่
่
ในชี วิตประจาวัน แอปพลิเคชันสอนสทนาอังกฤษ แอปพลิ เคชันพจนานุ กรมภาษาไทย เป็ นต้น แอปพลิเคชันบน
่
่
่
สมาร์ ทโฟนมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มมากขึ้นรวมทั้งแอปพลิเคชันที่เกี่ยวกับการศึกษาด้วย เนื่ องจากสมาร์ ทโฟน
่
เป็ นอุปกรณ์สื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ประกอบกับการเรี ยนเกี่ยวกับวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง “การหาค่ากลาง”
ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จาเป็ นจะต้องศึกษาเกี่ ยวกับเรื่ องการหาค่ากลางเป็ นส่ วนหนึ่ งของรายวิชา
คณิ ตศาสตร์ ซึ่ งการคานวณหาค่ากลางต่างๆ มีความยาก และมีสูตรที่แตกต่างกันไปทั้งการหาค่าของ x , Mo, Me,
H.M. และ G.M.
3

ั
ดังนั้น ผูจดทาจึงคิดที่จะนาเทคโนโลยีบนสมาร์ ทโฟนที่กาลังเป็ นที่นิยมในปั จจุบนมาประยุกต์กบการเรี ยน
้ั
ั
การสอน โดยพัฒนาโครงงานแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟนเรื่ อง การหาค่ากลาง เพื่อเป็ นสื่ อในการใช้คานวณหาค่า
่
กลางได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ บนรู ปของเครื่ องคิดเลข X4MCalculator ในระบบปฏิบติการแอนดรอยด์
ั
เพื่ออานวยความสะดวกของนักเรี ยนในการหาค่ากลาง

วัตถุประสงค์ (สิ่ งที่ตองการในการทาโครงงาน ระบุเป็ นข้อ)
้
1. เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง
่

ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ขอบเขตการศึกษา
สร้างแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง ประกอบด้วยเนื้อหาการหาค่ากลางและตัวอย่างการ
่
คานวณหาค่ากลางของข้อมูลได้จานวน 5 ค่า
วิธีการค้ นคว้า
1) ศึกษาปัญหาและความเป็ นไปได้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน
่
2) ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวกับการหาค่ากลาง
3) ศึกษาการเขียนแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟนโดยโปรแกรม eclipse
่
4) ออกแบบ และการสร้างแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน ด้วยโปรแกรม eclipse
่
-...ออกแบบระบบ
-...สร้างแอปพลิเคชัน ด้วยโปรแกรม eclipse
่
5) ทดสอบการใช้งานแอปพลิเคชัน
่
- กลุ่มตัวอย่าง
6) วิเคราะห์ผลและปรับปรุ งแอปพลิเคชันในส่ วนที่มีปัญหา
่
7) จัดทาเอกสารประกอบ

หลักการและทฤษฎี (ความรู ้ หลักการ หรื อทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็ นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความสะดวกในการสรุ ปเรื่ องราวเกี่ยวกับข้อมูล
นั้นๆ จะช่วยทาให้เกิดการวิเคราะห์ขอมูลถูกต้องดีข้ ึนการหาค่ากลางของข้อมูลมีวธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีขอดีและ
้
ิ
้
่ ั
ข้อเสี ย และมีความเหมาะสมในการนาไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยูกบลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผูใช้ขอมูล
้ ้
นั้นๆ
ค่ าเฉลียเลขคณิต ( X ) จัดว่าเป็ นค่าที่มีความสาคัญมากในวิชาสถิติ เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่ากลางหรื อ
่
เป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด
1) เป็ นค่าที่ไม่เอนเอียง
2) เป็ นค่าที่มีความคงเส้นคงวา
4

3) เป็ นค่าที่มีความแปรปรวนต่าที่สุด และ
4) เป็ นค่าที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด
แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตก็มีขอจากัดในการใช้ เช่น ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก หรื อข้อมูลบางตัวมีค่ามากหรื อน้อยจน
้
ผิดปกติ หรื อข้อมูลมีการเพิ่มขึ้นเป็ นเท่าตัว ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะไม่สามารถเป็ นค่ากลางหรื อเป็ นตัวแทนที่ดีของ
ข้อมูลได้การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ( X )
ในกรณี ที่ขอมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตสามารถหาได้โดย
้
N
i1 Xi
สู ตร x =
N
่
มัธยฐาน (Median) ใช้ สัญลักษณ์ Med คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูล
่
ทั้งหมด เมื่อได้เรี ยงข้อมูลตามลาดับ ไม่วาจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อย
การหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่
หลักการคิด
่ ั
1) เรี ยงข้อมูลที่มีอยูท้ งหมดจากน้อยไปมาก หรื อมากไปน้อยก็ได้
2) ตาแหน่งมัธยฐาน คือ ตาแหน่งกึ่งกลางข้อมูล ดังนั้นตาแหน่งของ
มัธยฐาน = N  1
2
เมื่อ N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด
่
3) มัธยฐาน คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด ข้อควรสนใจ
1. เนื่องจากตาแหน่งกึ่งกลางเป็ นตาแหน่งที่เราจะหามัธยฐานดังนั้นเรา
่
จะเรี ยกตาแหน่งนี้วาตาแหน่งของมัธยฐาน
2. เราไม่สามารถหาตาแหน่งกึ่งกลางโดยวิธีการตามตัวอย่างข้างต้น เพราะต้องเสี ยเวลา
ในการนาค่าจากการสังเกตมาเขียนเรี ยงกันทีละตาแหน่ง ดังนั้น เราจะใช้วธีการคานวณหา โดยสังเกตดังนี้
ิ
ตาแหน่งมัธยฐาน = N  1
2
่ ั
3. ในการหามัธยฐาน ความสาคัญอยูที่นกเรี ยนต้องหาตาแหน่งของมัธยฐานให้ได้
เสี ยก่อนแล้วจึงไปหาค่าของข้อมูล ณ ตาแหน่งนั้น
มัธยฐาน = N  1
2
ฐานนิยม (Mode)
การหาฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่
หลักการคิด
่
่ ั
1) ให้ดูวาข้อมูลใดในข้อมูลที่มีอยูท้ งหมด มีการซ้ ากันมากที่สุด (ความถี่
สู งสุ ด) ข้อมูลนั้นเป็ นฐานนิยมของข้อมูลชุดนั้น
หมายเหตุ ฐานอาจจะไม่มี หรื อ มีมากกว่า 1 ค่าก็ได้
5

การหาฐานนิยมของข้อมูลที่มีการแจกแจงเป็ นอันตรภาคชั้นการประมาณอย่างคร่ าวๆ
ฐานนิยม คือ จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่สูงสุ ด
คะแนน
20 - 29
30 - 39
40 - 49
50 - 59
60 - 69

ความถี่
2
10
15
13
5

ตารางที่ 2.1 แสดงตัวอย่างการหาค่าฐานนิยม
อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุ ด คือ 40-49
จุดกลางชั้น คือ 40  49 = 89 = 44.5
2
2
ดังนั้น ฐานนิยมโดยประมาณ คือ 44.5
คุณสมบัติที่สาคัญของฐานนิยม
1. ฐานนิยมสามารถหาได้จากเส้นโค้งของความถี่ และฮิสโทแกรม
2. ในข้อมูลแต่ละชุด อาจจะมีฐานนิยมหรื อไม่มีก็ได้ ถ้ามี อาจจะมีเพียงค่าเดียว หรื อ
หลายค่าก็ได้
3. ให้ X1, X2, X3, ….., XN เป็ นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo ถ้า k เป็ นค่าคงตัว จะได้
ว่า X1+k, X2+k, X3+k, …., XN+k เป็ นข้อมูลที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo + k
4. ให้ X1, X2, X3, …., XN เป็ นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo ถ้า k เป็ นค่าคง
่
ตัว ซึ่ง k =/= 0 จะได้วา kX1, kX2, kX3, …, kXN จะเป็ นข้อมูลที่มีฐานนิยนเท่ากับ kMo
คุณสมบัติขอที่ 3 และ 4 ก็เช่นเดียวกับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และมัธยฐาน กล่าวคือ ถ้านาค่าคงตัวไปบวก หรื อ
้
คูณกับค่าจากการสังเกตทุกตัวในข้อมูลชุดหนึ่ง ฐานนิยมของข้อมูลชุดใหม่น้ ี จะเท่ากับ ฐานนิยมของข้อมูลชุด
เดิม บวกหรื อคูณกับค่าคงตัวดังกล่าว ตามลาดับ
ค่ าเฉลียเรขาคณิต (Geometric mean) มีประโยชน์ในการหาค่าเฉลี่ยของ
่
่
ข้อมูลในกรณี ที่ค่าของข้อมูลสู งหรื อต่ากว่าค่าอื่นๆ รวมอยูบางค่าหรื อหลายค่ามาก กรณี เช่นนี้ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตใช้
เป็ นค่ากลางของข้อมูลได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต เนื่องจากค่าที่สูงหรื อต่ามากเหล่านี้ จะมีผลกระทบต่อค่าเฉลี่ย
เรขาคณิ ตของข้อมูลไม่มากนัก
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต

G.M. =
6

หมายเหตุ เนื่องจากการหาค่า G.M.ต้องมีการคานวณหากรณฑ์ที่ N ของจานวน ซึ่งทาให้การใช้สูตร
ดังกล่าวข้างต้นไม่สะดวกในกรณี ที่ขอมูลมีค่ามากๆและต้องใช้เครื่ องคิดเลขในการคานวณ ดังนั้นเพื่อความสะดวก
้
จึงใช้ลอการิ ทึมช่วย โดยจะได้สูตรในการหาค่า G.M. ดังนี้
สาหรับข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี

2.2 เครื่องมือทีใช้ ในการพัฒนา
่
2.2.1 ภาษาจาวา (JAVA)
Java หรื อ Java programming language คื อภาษาโปรแกรมเชิ งวัต ถุ พัฒ นาโดย เจมส์ กอสลิ ง และกลุ่ ม
วิศวกรคนอื่นๆ ของบริ ษท ซัน ไมโครซิ สเต็มส์ ภาษานี้ มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซี พลัสพลัส C++ โดยภาพ
ั
แบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้ เรี ยกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่ งตั้งชื่ อตาม
ต้นโอ๊กใกล้ที่ทางานของ เจมส์ กอสลิง แล้วภายหลังจึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่ งเป็ นชื่อกาแฟแทนดังภาพที่ 2-1
จุ ด เด่ น ของภาษาจาวาอยู่ที่ ผูเ้ ขี ย นโปรแกรมสามารถใช้ห ลัก การของ Object-Oriented Programming มาพัฒ นา
โปรแกรมของตนด้วย Java ได้ภาษาจาวาเป็ นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ(
OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่ เขี ย นขึ้ น ถู ก สร้ างภายในคลาส ดัง นั้น คลาสคื อ ที่ เก็ บ เมทอด
(method) หรื อพฤติกรรม (behavior) ซึ่งมีสถานะ (state) และภาพพรรณ (identity) ประจา พฤติกรรม

ภาพที่ 2.1 แสดงสัญลักษณ์ภาษาจาวา
ข้อดีของ ภาษาจาวา
1) ภาษาจาวาเป็ นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบสมบูรณ์ซ่ ึ งเหมาะสาหรับพัฒนาระบบ
่
ที่มีความซับซ้อน การพัฒนาโปรแกรมแบบวัตถุจะช่วยให้เราสามารถใช้คาหรื อชื่ อต่างๆที่มีอยูในระบบงานนั้นมา
ใช้ในการออกแบบโปรแกรมได้ ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น
2) โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษาจาวาจะมีความสามารถทางานได้ในระบบปฏิบติการที่แตกต่างกัน ไม่
ั
จาเป็ นต้องดัดแปลงแก้ไขโปรแกรม เช่ น หากเขียนโปรแกรมบนเครื่ อง Sun โปรแกรมนั้นสามารถนามา compile
และ run บนเครื่ องพีซีธรรมดาได้3
3) ภาษาจาวามีการตรวจสอบข้อผิดพลาดทั้งตอน compile และ run ทาให้ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิ ดขึ้นใน
โปรแกรม และช่วยให้ debug โปรแกรมได้ง่าย
7

4) ภาษาจาวามีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษา C++ เมื่อเปรี ยบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา
จาวากับ C++ พบว่า โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวาจะมีจานวน code น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ท
าให้ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น
5) ภาษาจาวาถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยสู งตั้งแต่แรก การรักษาความปลอดภัยทาให้โปรแกรมที่
เขียนขึ้นด้วยจาวามีความปลอดภัยมากกว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้ น ด้วยภาษาอื่น เพราะจาวามี security ทั้ง low level
และ high level ได้แก่ electronic signature, public and private key management, access control และ certificates
6) มี IDE, application server, และ library ต่าง ๆ มากมายสาหรับจาวาที่เราสามารถใช้งานได้โดยไม่ตอง
้
เสี ยค่าใช้จ่าย ทาให้เราสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ตองเสี ยไปกับการซื้ อเครื่ องมือและซอฟต์แวร์ ต่าง ตัวอย่างต่อไปนี้ คือ
้
การเขียนโปรแกรม Hello world โดยใช้ภาษาจาวา
public class Main
{ public static void main(String[] args)
{ System.out.println("Hello World!");
}}
โปรแกรมข้างต้นจะแสดงข้อความ Hello world บนจอภาพ
2.2.2 Eclipse คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับพัฒนาภาษา Java ซึ่งโปรแกรม Eclipse เป็ นโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ใน
การพัฒนา Application Server ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเนื่องจาก Eclipse เป็ นซอฟต์แวร์ OpenSource ที่
พัฒนาขึ้นเพื่อใช้โดยนักพัฒนาเอง ทาให้ความก้าวหน้าในการพัฒนาของ Eclipse เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ ว
Eclipse มีองค์ประกอบหลักที่เรี ยกว่า Eclipse Platform ซึ่งให้บริ การพื้นฐานหลักสาหรับรวบรวมเครื่ องมือ
ต่างๆจากภายนอกให้สามารถเข้ามาทางานร่ วมกันในสภาพแวดล้อมเดียวกัน และมีองค์ประกอบที่เรี ยกว่า Plug-in
Development Environment (PDE) ซึ่ งใช้ในการเพิ่มความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์ มากขึ้น เครื่ องมือ
ภายนอกจะถูกพัฒนาในภาพแบบที่เรี ยกว่า Eclipse plug-ins ดังนั้นหากต้องการให้ Eclipse ทางานใดเพิ่มเติม ก็
ั
เพียงแต่พฒนา plugin สาหรับงานนั้นขึ้นมา และนา Plug-in นั้นมาติดตั้งเพิ่มเติมให้กบ Eclipse ที่มีอยูเ่ ท่านั้น
ั
Eclipse Plug-in ที่มีมาพร้อมกับ Eclipse เมื่อเรา download มาครั้งแรกก็คือองค์ประกอบที่เรี ยกว่า Java
Development Toolkit (JDT) ซึ่งเป็ นเครื่ องมือในการเขียนและ Debug โปรแกรมภาษา Java
ั
ข้อดีของโปรแกรม Eclipse คือ ติดตั้งง่าย สามารถใช้ได้กบ J2SDK ได้ทุกเวอร์ ชน รองรับ
ั่
ั
ภาษาต่างประเทศอีกหลายภาษา มี plugin ที่ใช้เสริ มประสิ ทธิภาพของโปรแกรม สามารถทางานได้กบไฟล์หลาย
ชนิด เช่น HTML, Java, C, JSP, EJB, XML และ GIF และที่สาคัญเป็ นฟรี เเวร์ (ให้ใช้งานได้ 90 วัน ถ้าจะใช้งาน
ั
เต็มประสิ ทธิ ภาพต้องเสี ยค่าใช้จ่ายภายหลัง) ใช้งานได้กบระบบปฏิบติการ Windows, Linux
ั
8

ภาพที่ 2.2 แสดงสัญลักษณ์ Eclipse
2.2.3 Android SDK
Android SDK ย่ อ มาจาก Android Software Development Kit ซึ่ งเป็ นชุ ดโปรแกรมที่ ท าง Google
พัฒ นาออกมาเพื่ อ แจกจ่ ายให้ นั ก พั ฒ นาแอปพลิเคชั่ น หรื อ ผู้ ส นใจทั่ ว ไปดาวน์ โหลดไปใช้ งานกั น ได้ โดยไม่ มี
ค่ าใช้ จ่ายใดๆ (ฟรี สาหรับการใช้ งานโปรแกรม) จึงเป็ นอีกหนึ่งปั จจัยที่ทาให้ แอปพลิเคชั่ นบนแอนดรอยด์ น้ัน
เพิ่ม ขึ้น อย่ างรวดเร็ ว ในชุ ด SDK นั้ นจะมี โปรแกรมและไลบรารี่ ต่ างๆ ที่จาเป็ นต่ อการพัฒ นาแอปพลิเคชั่ นบน
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ อย่ างเช่ น Emulator หรื อโปรแกรมจาลองเครื่ องจักรเสมือนดัง ภาพที่ 2-4 ซึ่ งทาให้
ผู้พัฒ นาโปรแกรมสามารถสร้ างแอปพลิเคชั่ นและนามาทดลองใช้ งานบน Emulator ก่ อนโดยมีสภาวะแวดล้ อม
เหมือนกับการนาไปใช้ งานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ที่ ใช้ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จริ งๆ เลยโดยสามารถดาวน์ โหลด
Android SDK ทีมีให้ เลือกทั้งบน Windows, Mac และ Linux5
่

ภาพที่ 2.3 แสดงสัญลักษณ์ Android SDK
2.3 งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง
่
นางสาวจิตราวรรณ พฤกษ์ไพศาล และนายธนวัฒน์ พลสุ วรรณ(2554) ได้ศึกษาแอปพลิ เคชันการดูแลเด็ก
่
ให้มีสุขภาพและพัฒนาการที่ดีต้ งแต่แรกเกิด เป็ นแอปพลิเคชันช่วยลดภาระของแม่ในการติดตามบันทึกพัฒนาการ
ั
่
ของลูก และส่ งเสริ มการพึ่งพาตนเองด้านสุ ขภาพ และมีการเข้าถึงข้อมูลจากผูเ้ ชี่ยวชาญและแม่ผมีประสบการณ์ใน
ู้
โซเชียลเน็ตเวิร์ค (social network) ซึ่ งทาให้แม่ได้ขอมูลที่ถูกต้องและหลากหลายแง่มุมโดยสะดวกและรวดเร็ ว
้
นายอนุ กูล คงสกูล (2551) ระบบทดสอบย่อยผ่านทางอุปกรณ์ โทรศัพท์มือถื อโครงงานชิ้ นนี้ ได้นาส่ วน
ของโปรแกรมประยุก ต์ส าหรั บ ทดสอบหรื อ Quiz Player มาพัฒ นาและปรั บ ปรุ ง ให้ ส ามารถใช้ ง านได้อ ย่า ง
9

เหมาะสมทั้งบนอุ ปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มือถื อ เพื่อพัฒนาและทดสอบระบบทดสอบย่อย (QMS) ใน
ส่ วนของโปรแกรมประยุกต์สาหรับทดสอบ ให้สามารถใช้งานผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือให้ได้มากที่สุด

วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
วิเคราะห์ เนือหา
้
1 ) ค่ าเฉลียเลขคณิต จัดว่าเป็ นค่าที่มีความสาคัญมากในวิชาสถิติ เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่า
่
กลางหรื อเป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่
ในกรณี ที่ขอมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตสามารถหาได้โดย
้
N Xi
สู ตร x = i1
N
2 ) ค่ าเฉลียเรขาคณิต เนื่ องจากการหาค่า G.M. ต้องมีการคานวณหากรณฑ์ที่ N ของจานวน ซึ่งทา
่
ให้การใช้สูตรดังกล่าวข้างต้นไม่สะดวกใน กรณี ที่ขอมูลมีค่ามากๆ และต้องใช้เครื่ องคิดเลขในการ
้
คานวณ ดังนั้นเพื่อความสะดวกจึงใช้ลอการิ ทึมช่วย โดยจะได้สูตรในการหาค่า G.M. ดังนี้
G.M. =
่
3 ) มัธยฐาน (Median) ใช้สญลักษณ์ Med คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อ
ั
่
ได้เรี ยงข้อมูลตามลาดับ ไม่วาจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อยการหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจก
แจงความถี่
หลักการคิด
่ ั
1) เรี ยงข้อมูลที่มีอยูท้ งหมดจากน้อยไปมาก หรื อมากไปน้อยก็ได้
2) ตาแหน่งมัธยฐาน คือ ตาแหน่งกึ่งกลางข้อมูล ดังนั้นตาแหน่งของ
มัธยฐาน = N  1
2
เมื่อ N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด
่
3) มัธยฐาน คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด
4 ) พิสัย (Range : R)พิสัย หมายถึง การหาการกระจายของข้อมูลโดยนาข้อมูลที่มี
ค่าสู งที่สุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่าที่สุด เพื่อให้ได้ค่าที่เป็ นช่วงของการกระจาย ซึ่ งสามารถบอกถึงความกว้างของ
ข้อมูลชุดนั้นๆ สาหรับสู ตรที่ใช้ในการหาพิสัยคือ
พิสัย (R) = Xmax – Xmin
10

การออกแบบโครงสร้ างของบทเรียน
เมนูหลัก

บทเรี ยน
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต G.M.

ทดลองคานวณ
คานวณ

G.M. =

ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต x
มัธยฐาน Me
พิสัย

Me = N  1
2

N
i1 Xi
x=
N
พิสัย Xmax - Xmin

ภาพที่ 3.1 ภาพแสดงการออกแบบโครงสร้างของบทเรี ยน
การออกแบบหน้ าจอ
หน้าเมนูหลัก ประกอบไปด้วยส่ วนประกอบ ดังนี้
1) ชื่อแอพพลิเคชัน “X4MCalculator”
่
2) ปุ่ มเลือกเข้าใช้งานแอพพลิเคชันเนื้อหาบทเรี ยน
่
3) ปุ่ มเลือกเข้าใช้งานการทดลองคานวณ
-ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
-มัธยฐาน
-พิสัย
-ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต

การหาค่ากลาง
บทเรี ยน
ทดลองคานวณ
ค่าเฉลี่ยเลข
คณิ ต
มัธยฐาน
พิสย
ั
ค่าเฉลี่ย
เรขาคณิ ต

ภาพที่ 3.2 แสดงหน้าเมนูหลัก
หน้าเมนูของเนื้อหาทฤษฎีเกี่ยวกับสมบัติของก๊าซ ประกอบด้วยเนื้อหา 4 ส่ วน แบ่งออกเป็ น 4 ปุ่ ม คือ
- ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
- มัธยฐาน
- พิสัย
- ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต
11

กรุ ณาเลือกเนื้อหา
ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต
มัธยฐาน
พิสัย
ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต

ภาพที่ 3.3 แสดงหน้าเนื้อหาบทเรี ยน
เทคนิคการพัฒนาโครงงาน
1 ) ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต //ทาการคานวณ
Double F = (A + B + C + D + E )/5;
String G = changeFormat.format(F);//textView2.setText(Double.toString(G));
TextView2.setText(G);}});
2) มัธยฐาน //ทาการคานวณ
Double F = (double) ((5 + 1)/2);
String G = changeFormat.format(F);
//textView2.setText(Double.toString(G));
TextView2.setText(G);}});
3 ) พิสัย //ทาการคานวณ
Double F = (E - A );
String G = changeFormat.format(F);
//textView2.setText(Double.toString(G));
TextView2.setText(G);}});
4 ) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต //ทาการคานวณ
Double F = (Math.sqrt(Math.sqrt((A * B * C * D ))));
String G = changeFormat.format(F);
//textView2.setText(Double.toString(G));
TextView2.setText(G);}});
12

เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้
ี่
ฮาร์ ดแวร์
1) เครื่ องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก พร้อมเชื่ อมต่ออินเตอร์ เน็ต
2) โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่มีระบบปฏิบติงานแอนดรอยด์
ั
ซอฟต์ แวร์
1) โปรแกรม Eclipse
2) ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์
ั

งบประมาณ 2000 บาท

ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่

ขั้นตอน

สั ปดาห์ ที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9

1
2
3
4
5
6
7
8

คิดหัวข้อโครงงาน
ศึกษาและค้นคว้า
ข้อมูล
จัดทาโครงร่ างงาน
ปฏิบติการสร้าง
ั
โครงงาน
ปรับปรุ งทดสอบ
การทาเอกสารรายงาน
ประเมินผลงาน
นาเสนอโครงงาน

ผู้รับผิดชอบ

1 1
1 1 1 1 1
12
0 1
3 4 5 6 7
ณัฐกรณ์
ณัฐกรณ์
กมลวรรณ
กมลวรรณ
ณัฐกรณ์
กมลวรรณ
ณัฐกรณ์
กมลวรรณ
ณัฐกรณ์
ณัฐกรณ์
กมลวรรณ
13

ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ (ผลลัพธ์ที่ตองการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้ นสุ ดการทาโครงงาน)
่
้
1. ได้แอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง
่

สถานทีดาเนินการ: โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
่
กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ อง: กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศ
่
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรื อแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
จิตราวรรณ พฤกษ์ไพศาล และธนวัฒน์ พลสุ วรรณ.(2554). แอปพลิเคชั่ นการดูแลเด็กให้ มีสุขภาพและ
พัฒนาการทีดี. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
่
จุฑารัตน์ ขันธศักดิ์. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต. (2552). ค่ าเฉลียเรขาคณิต 20 มกราคม 2556. [Online] Available
่
URL: https://sites.google.com/site/jutharatkhanthasak/kha-cheliy-rekhakhnit
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง. (2551). ค่ าเฉลียเลขคณิต
่
(Arithmetic Mean, Average) ค่ ามัธยฐาน (Median: Me). 20 มกราคม 2556. [Online] Available URL:
http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_5.htm
มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (Absolute Variation) (2551). พิสัย (Range
: R). 20 มกราคม 2556, [Online] Available URL: http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_6.htm
อนุกล คงสกูล. (2551). ระบบทดสอบย่ อยผ่ านทางอุปกรณ์ โทรศัพท์ มือถือ. ภาควิชาวิศวกรรม
ู
คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์

More Related Content

What's hot

การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
AomJi Math-ed
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
ไชยยา มะณี
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
ปรัชญาทวี พงพยัคฆ์
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
พัน พัน
 

What's hot (20)

82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
82 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่9_การกระจายสัมพัทธ์
 
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไรการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นคืออะไร
 
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง377 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
77 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่4_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง3
 
สถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้นสถิติเบื่องต้น
สถิติเบื่องต้น
 
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
73 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล บทนำ
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์381 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
81 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่8_การกระจายสัมบูรณ์3
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล184 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
84 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่11_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล1
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
83 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่10_คะแนนมาตรฐาน
 
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์179 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
79 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่6_การกระจายสัมบูรณ์1
 
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
74 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่1_เนื้อหา
 
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง276 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
76 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่3_แนวโน้มเข้าสู่ส่วนกลาง2
 
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติใบความรู้ เรื่องสถิติ
ใบความรู้ เรื่องสถิติ
 
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ186 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
86 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่13_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ1
 
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ287 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
87 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่14_โปรแกรมการคำนวณทางสถิติ2
 
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์280 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
80 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่7_การกระจายสัมบูรณ์2
 
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล285 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
85 สถิติและการวิเคราะห์ข้อมูล ตอนที่12_ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล2
 
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์การวัดการกระจายสัมพัทธ์
การวัดการกระจายสัมพัทธ์
 

Viewers also liked

โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
noeiinoii
 
Correct the errors
Correct the errorsCorrect the errors
Correct the errors
jayaenglish
 
Tips for option market with newsletter: 5 Aug
Tips for option market with newsletter: 5 AugTips for option market with newsletter: 5 Aug
Tips for option market with newsletter: 5 Aug
Rakhi Tips Provider
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
noeiinoii
 
Equity Market Newsletter 8-October
Equity Market Newsletter 8-OctoberEquity Market Newsletter 8-October
Equity Market Newsletter 8-October
Rakhi Tips Provider
 
Facebook calender sep
Facebook calender sepFacebook calender sep
Facebook calender sep
wilsonrd1987
 
Untitled presentation (1)
Untitled presentation (1)Untitled presentation (1)
Untitled presentation (1)
Matt Bond
 
What causes sickness
What causes sicknessWhat causes sickness
What causes sickness
lilyocampo
 
Daily equity news letter 18 sep 2013
Daily equity news letter 18 sep 2013Daily equity news letter 18 sep 2013
Daily equity news letter 18 sep 2013
Rakhi Tips Provider
 
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_egoArthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
psionicmind
 
Bit iit submission_form1
Bit iit submission_form1Bit iit submission_form1
Bit iit submission_form1
Amy Li
 

Viewers also liked (20)

Uwp soufriere fond st jacques constituency branch offers advise to slp soufri...
Uwp soufriere fond st jacques constituency branch offers advise to slp soufri...Uwp soufriere fond st jacques constituency branch offers advise to slp soufri...
Uwp soufriere fond st jacques constituency branch offers advise to slp soufri...
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Correct the errors
Correct the errorsCorrect the errors
Correct the errors
 
Tips for option market with newsletter: 5 Aug
Tips for option market with newsletter: 5 AugTips for option market with newsletter: 5 Aug
Tips for option market with newsletter: 5 Aug
 
Daily option news letter 02 july 2013
Daily option news letter 02 july 2013Daily option news letter 02 july 2013
Daily option news letter 02 july 2013
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
Equity Market Newsletter 8-October
Equity Market Newsletter 8-OctoberEquity Market Newsletter 8-October
Equity Market Newsletter 8-October
 
Facebook calender sep
Facebook calender sepFacebook calender sep
Facebook calender sep
 
DTC Wine Workshops Overview
DTC Wine Workshops OverviewDTC Wine Workshops Overview
DTC Wine Workshops Overview
 
Untitled presentation (1)
Untitled presentation (1)Untitled presentation (1)
Untitled presentation (1)
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
Blog
BlogBlog
Blog
 
Paseo Heights E-Brochure
Paseo Heights E-BrochurePaseo Heights E-Brochure
Paseo Heights E-Brochure
 
What causes sickness
What causes sicknessWhat causes sickness
What causes sickness
 
Daily equity news letter 18 sep 2013
Daily equity news letter 18 sep 2013Daily equity news letter 18 sep 2013
Daily equity news letter 18 sep 2013
 
Legal research
Legal researchLegal research
Legal research
 
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_egoArthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
Arthur e. powell_-_the_causal_body_-_the_ego
 
Uptown Ritz Penthouse Floor Plan
Uptown Ritz Penthouse Floor PlanUptown Ritz Penthouse Floor Plan
Uptown Ritz Penthouse Floor Plan
 
Bit iit submission_form1
Bit iit submission_form1Bit iit submission_form1
Bit iit submission_form1
 
664 2
664 2664 2
664 2
 

Similar to โครงงานคอม

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
Ploy Gntnd
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Manasara Sempiapt
 

Similar to โครงงานคอม (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอมโครงร่างโครงงาคอม
โครงร่างโครงงาคอม
 
h6ju
h6juh6ju
h6ju
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 1
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
2560 project (1) (1)
2560 project  (1) (1)2560 project  (1) (1)
2560 project (1) (1)
 
2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)2558 project -2 (2)
2558 project -2 (2)
 
2560 project 2
2560 project 22560 project 2
2560 project 2
 
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็งเห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
เห็ดหลินจือแดงต้านมะเร็ง
 
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทยมหัศจรรย์รายการอาหารไทย
มหัศจรรย์รายการอาหารไทย
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
หลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้นหลักสูตรคณิตม.ต้น
หลักสูตรคณิตม.ต้น
 
งานฝ้าย
งานฝ้ายงานฝ้าย
งานฝ้าย
 
2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
2557 project
2557 project2557 project
2557 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 

More from noeiinoii

โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
noeiinoii
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
noeiinoii
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
noeiinoii
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
noeiinoii
 
วิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลาวิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลา
noeiinoii
 
งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ
noeiinoii
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
noeiinoii
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
noeiinoii
 
M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552
noeiinoii
 
O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53
noeiinoii
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
noeiinoii
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
noeiinoii
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
noeiinoii
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
noeiinoii
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
noeiinoii
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
noeiinoii
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
noeiinoii
 

More from noeiinoii (20)

โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิลโครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงาน ถ่านไม้รีไซเคิล
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
โครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลีโครงงานเที่ยวเกาหลี
โครงงานเที่ยวเกาหลี
 
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)สงครามโลกคร  งท__  2 (1) (1)
สงครามโลกคร งท__ 2 (1) (1)
 
วิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลาวิธีจัดตู้ปลา
วิธีจัดตู้ปลา
 
ปลา
ปลาปลา
ปลา
 
งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ งานโครงงานคอม นำเสนอ
งานโครงงานคอม นำเสนอ
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพ วเตอร_
 
M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552M6health+art+tech2552
M6health+art+tech2552
 
ปี 50
ปี 50ปี 50
ปี 50
 
O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53O-net สุขะปี 53
O-net สุขะปี 53
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
 
06 e
06 e06 e
06 e
 
Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53Key onet m6_housework_53
Key onet m6_housework_53
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
 
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
โครงงานถ่านไม้รีไซเคิล
 

โครงงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่ างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร 6 ปี การศึกษา 2556 ชื่อโครงงาน แอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเรื่ องการหาค่ากลางของคณิ ตศาสตร์ ่ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 นาย ณัฐกรณ์ ตากันทะ เลขที่ 10 ชั้น ม.6 ห้อง 8 2 นางสาว กมลวรรณ ทองมี เลขที่ 22 ชั้น ม.6 ห้อง 8 ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงาน ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่ออาจารย์ที่ปรึ กษาโครงงานร่ วม ครู หทัยรัตน์ ศรี วโรจน์ ิ ครู วรัชชัย ิ จันต๊ะวงค์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ้ ่
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้ อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นายณัฐกรณ์ 2. นางสาว กมลวรรณ ตากันทะ ทองมี เลขที่ 10 เลขที่ 22 คาชี้แจง ให้ ผู้เรียนแต่ ละกลุ่มเขียนข้ อเสนอโครงงานตามหัวข้ อต่ อไปนี้ ชื่อโครงงาน(ภาษาไทย) : แอพลิเคชันบนสมาร์ทโฟนเรื่ องการหาค่ากลางของคณิ ตศาสตร์ ่ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) : Smart phone application development - medium finding ประเภทโครงงาน : วิทยาศาสตร์ประยุกต์ สาขา คอมพิวเตอร์ ชื่อผู้ทาโครงงาน : นายณัฐกรณ์ ตากันทะ นางสาว กมลวรรณ ทองมี ชื่อทีปรึกษา : ครู เขื่อนทอง มูลวรรณ์ ่ ชื่อทีปรึกษาร่ วม : ครู หทัยรัตน์ ่ ศรี วโรจน์ ิ ครู วรัชชัย จันต๊ะวงค์ ิ ระยะเวลาดาเนินงาน : ภาคเรี ยนที่ 2 ปี การศึกษา 2556 ทีมาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ่ ปั จจุ บ ัน การใช้ง านสมาร์ ท โฟนเข้ามามี บ ทบาทในชี วิตประจาวัน ของมนุ ษ ย์เป็ นอย่างมาก โดยเป็ นที่ ่ แพร่ หลายในสังคมทุกเพศทุกวัย ไม่วาจะเป็ นนักศึกษาหรื อวัยทางาน เพราะมีความรวดเร็ วและใช้งานได้ง่าย ระบบ ปฎิบติการบนสมาร์ ทโฟนที่นิยมใช้ส่วนใหญ่มี 2 ประเภท คือ ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ และ ระบบปฏิบติการ ั ั ั ios ซึ่ งระบบปฏิบติการดังกล่าวนี้ จะต้องมีแอพพลิเคชันเฉพาะการใช้งานต่างๆ เช่น แอปพลิเคชันสอนพูดอังกฤษ ั ่ ่ ในชี วิตประจาวัน แอปพลิเคชันสอนสทนาอังกฤษ แอปพลิ เคชันพจนานุ กรมภาษาไทย เป็ นต้น แอปพลิเคชันบน ่ ่ ่ สมาร์ ทโฟนมีแนวโน้มที่จะขยายตัวเพิ่มมากขึ้นรวมทั้งแอปพลิเคชันที่เกี่ยวกับการศึกษาด้วย เนื่ องจากสมาร์ ทโฟน ่ เป็ นอุปกรณ์สื่อสารที่สามารถเข้าถึงได้ง่าย ประกอบกับการเรี ยนเกี่ยวกับวิชาคณิ ตศาสตร์ เรื่ อง “การหาค่ากลาง” ในระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 5 จาเป็ นจะต้องศึกษาเกี่ ยวกับเรื่ องการหาค่ากลางเป็ นส่ วนหนึ่ งของรายวิชา คณิ ตศาสตร์ ซึ่ งการคานวณหาค่ากลางต่างๆ มีความยาก และมีสูตรที่แตกต่างกันไปทั้งการหาค่าของ x , Mo, Me, H.M. และ G.M.
  • 3. 3 ั ดังนั้น ผูจดทาจึงคิดที่จะนาเทคโนโลยีบนสมาร์ ทโฟนที่กาลังเป็ นที่นิยมในปั จจุบนมาประยุกต์กบการเรี ยน ้ั ั การสอน โดยพัฒนาโครงงานแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟนเรื่ อง การหาค่ากลาง เพื่อเป็ นสื่ อในการใช้คานวณหาค่า ่ กลางได้อย่างรวดเร็ วและมีประสิ ทธิ ภาพ บนรู ปของเครื่ องคิดเลข X4MCalculator ในระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ ั เพื่ออานวยความสะดวกของนักเรี ยนในการหาค่ากลาง วัตถุประสงค์ (สิ่ งที่ตองการในการทาโครงงาน ระบุเป็ นข้อ) ้ 1. เพื่อพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง ่ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ขอบเขตการศึกษา สร้างแอปพลิเคชันบนสมาร์ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง ประกอบด้วยเนื้อหาการหาค่ากลางและตัวอย่างการ ่ คานวณหาค่ากลางของข้อมูลได้จานวน 5 ค่า วิธีการค้ นคว้า 1) ศึกษาปัญหาและความเป็ นไปได้ในการพัฒนาแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน ่ 2) ศึกษาเนื้อหาที่เกี่ยวกับการหาค่ากลาง 3) ศึกษาการเขียนแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟนโดยโปรแกรม eclipse ่ 4) ออกแบบ และการสร้างแอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน ด้วยโปรแกรม eclipse ่ -...ออกแบบระบบ -...สร้างแอปพลิเคชัน ด้วยโปรแกรม eclipse ่ 5) ทดสอบการใช้งานแอปพลิเคชัน ่ - กลุ่มตัวอย่าง 6) วิเคราะห์ผลและปรับปรุ งแอปพลิเคชันในส่ วนที่มีปัญหา ่ 7) จัดทาเอกสารประกอบ หลักการและทฤษฎี (ความรู ้ หลักการ หรื อทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) การหาค่ากลางของข้อมูลที่เป็ นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมดเพื่อความสะดวกในการสรุ ปเรื่ องราวเกี่ยวกับข้อมูล นั้นๆ จะช่วยทาให้เกิดการวิเคราะห์ขอมูลถูกต้องดีข้ ึนการหาค่ากลางของข้อมูลมีวธีหาหลายวิธี แต่ละวิธีมีขอดีและ ้ ิ ้ ่ ั ข้อเสี ย และมีความเหมาะสมในการนาไปใช้ไม่เหมือนกัน ขึ้นอยูกบลักษณะข้อมูลและวัตถุประสงค์ของผูใช้ขอมูล ้ ้ นั้นๆ ค่ าเฉลียเลขคณิต ( X ) จัดว่าเป็ นค่าที่มีความสาคัญมากในวิชาสถิติ เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่ากลางหรื อ ่ เป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด 1) เป็ นค่าที่ไม่เอนเอียง 2) เป็ นค่าที่มีความคงเส้นคงวา
  • 4. 4 3) เป็ นค่าที่มีความแปรปรวนต่าที่สุด และ 4) เป็ นค่าที่มีประสิ ทธิ ภาพสู งสุ ด แต่ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตก็มีขอจากัดในการใช้ เช่น ถ้าข้อมูลมีการกระจายมาก หรื อข้อมูลบางตัวมีค่ามากหรื อน้อยจน ้ ผิดปกติ หรื อข้อมูลมีการเพิ่มขึ้นเป็ นเท่าตัว ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตจะไม่สามารถเป็ นค่ากลางหรื อเป็ นตัวแทนที่ดีของ ข้อมูลได้การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ( X ) ในกรณี ที่ขอมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตสามารถหาได้โดย ้ N i1 Xi สู ตร x = N ่ มัธยฐาน (Median) ใช้ สัญลักษณ์ Med คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูล ่ ทั้งหมด เมื่อได้เรี ยงข้อมูลตามลาดับ ไม่วาจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อย การหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี่ หลักการคิด ่ ั 1) เรี ยงข้อมูลที่มีอยูท้ งหมดจากน้อยไปมาก หรื อมากไปน้อยก็ได้ 2) ตาแหน่งมัธยฐาน คือ ตาแหน่งกึ่งกลางข้อมูล ดังนั้นตาแหน่งของ มัธยฐาน = N  1 2 เมื่อ N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด ่ 3) มัธยฐาน คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด ข้อควรสนใจ 1. เนื่องจากตาแหน่งกึ่งกลางเป็ นตาแหน่งที่เราจะหามัธยฐานดังนั้นเรา ่ จะเรี ยกตาแหน่งนี้วาตาแหน่งของมัธยฐาน 2. เราไม่สามารถหาตาแหน่งกึ่งกลางโดยวิธีการตามตัวอย่างข้างต้น เพราะต้องเสี ยเวลา ในการนาค่าจากการสังเกตมาเขียนเรี ยงกันทีละตาแหน่ง ดังนั้น เราจะใช้วธีการคานวณหา โดยสังเกตดังนี้ ิ ตาแหน่งมัธยฐาน = N  1 2 ่ ั 3. ในการหามัธยฐาน ความสาคัญอยูที่นกเรี ยนต้องหาตาแหน่งของมัธยฐานให้ได้ เสี ยก่อนแล้วจึงไปหาค่าของข้อมูล ณ ตาแหน่งนั้น มัธยฐาน = N  1 2 ฐานนิยม (Mode) การหาฐานนิยมของข้อมูลที่ไม่แจกแจงความถี่ หลักการคิด ่ ่ ั 1) ให้ดูวาข้อมูลใดในข้อมูลที่มีอยูท้ งหมด มีการซ้ ากันมากที่สุด (ความถี่ สู งสุ ด) ข้อมูลนั้นเป็ นฐานนิยมของข้อมูลชุดนั้น หมายเหตุ ฐานอาจจะไม่มี หรื อ มีมากกว่า 1 ค่าก็ได้
  • 5. 5 การหาฐานนิยมของข้อมูลที่มีการแจกแจงเป็ นอันตรภาคชั้นการประมาณอย่างคร่ าวๆ ฐานนิยม คือ จุดกึ่งกลางชั้นที่มีความถี่สูงสุ ด คะแนน 20 - 29 30 - 39 40 - 49 50 - 59 60 - 69 ความถี่ 2 10 15 13 5 ตารางที่ 2.1 แสดงตัวอย่างการหาค่าฐานนิยม อันตรภาคชั้นที่มีความถี่สูงสุ ด คือ 40-49 จุดกลางชั้น คือ 40  49 = 89 = 44.5 2 2 ดังนั้น ฐานนิยมโดยประมาณ คือ 44.5 คุณสมบัติที่สาคัญของฐานนิยม 1. ฐานนิยมสามารถหาได้จากเส้นโค้งของความถี่ และฮิสโทแกรม 2. ในข้อมูลแต่ละชุด อาจจะมีฐานนิยมหรื อไม่มีก็ได้ ถ้ามี อาจจะมีเพียงค่าเดียว หรื อ หลายค่าก็ได้ 3. ให้ X1, X2, X3, ….., XN เป็ นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo ถ้า k เป็ นค่าคงตัว จะได้ ว่า X1+k, X2+k, X3+k, …., XN+k เป็ นข้อมูลที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo + k 4. ให้ X1, X2, X3, …., XN เป็ นข้อมูลชุดหนึ่งที่มีฐานนิยมเท่ากับ Mo ถ้า k เป็ นค่าคง ่ ตัว ซึ่ง k =/= 0 จะได้วา kX1, kX2, kX3, …, kXN จะเป็ นข้อมูลที่มีฐานนิยนเท่ากับ kMo คุณสมบัติขอที่ 3 และ 4 ก็เช่นเดียวกับค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต และมัธยฐาน กล่าวคือ ถ้านาค่าคงตัวไปบวก หรื อ ้ คูณกับค่าจากการสังเกตทุกตัวในข้อมูลชุดหนึ่ง ฐานนิยมของข้อมูลชุดใหม่น้ ี จะเท่ากับ ฐานนิยมของข้อมูลชุด เดิม บวกหรื อคูณกับค่าคงตัวดังกล่าว ตามลาดับ ค่ าเฉลียเรขาคณิต (Geometric mean) มีประโยชน์ในการหาค่าเฉลี่ยของ ่ ่ ข้อมูลในกรณี ที่ค่าของข้อมูลสู งหรื อต่ากว่าค่าอื่นๆ รวมอยูบางค่าหรื อหลายค่ามาก กรณี เช่นนี้ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ตใช้ เป็ นค่ากลางของข้อมูลได้ดีกว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต เนื่องจากค่าที่สูงหรื อต่ามากเหล่านี้ จะมีผลกระทบต่อค่าเฉลี่ย เรขาคณิ ตของข้อมูลไม่มากนัก ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต G.M. =
  • 6. 6 หมายเหตุ เนื่องจากการหาค่า G.M.ต้องมีการคานวณหากรณฑ์ที่ N ของจานวน ซึ่งทาให้การใช้สูตร ดังกล่าวข้างต้นไม่สะดวกในกรณี ที่ขอมูลมีค่ามากๆและต้องใช้เครื่ องคิดเลขในการคานวณ ดังนั้นเพื่อความสะดวก ้ จึงใช้ลอการิ ทึมช่วย โดยจะได้สูตรในการหาค่า G.M. ดังนี้ สาหรับข้อมูลที่ไม่ได้แจกแจงความถี 2.2 เครื่องมือทีใช้ ในการพัฒนา ่ 2.2.1 ภาษาจาวา (JAVA) Java หรื อ Java programming language คื อภาษาโปรแกรมเชิ งวัต ถุ พัฒ นาโดย เจมส์ กอสลิ ง และกลุ่ ม วิศวกรคนอื่นๆ ของบริ ษท ซัน ไมโครซิ สเต็มส์ ภาษานี้ มีจุดประสงค์เพื่อใช้แทนภาษาซี พลัสพลัส C++ โดยภาพ ั แบบที่เพิ่มเติมขึ้นคล้ายกับภาษาอ็อบเจกต์ทีฟซี (Objective-C) แต่เดิมภาษานี้ เรี ยกว่า ภาษาโอ๊ก (Oak) ซึ่ งตั้งชื่ อตาม ต้นโอ๊กใกล้ที่ทางานของ เจมส์ กอสลิง แล้วภายหลังจึงเปลี่ยนไปใช้ชื่อ "จาวา" ซึ่ งเป็ นชื่อกาแฟแทนดังภาพที่ 2-1 จุ ด เด่ น ของภาษาจาวาอยู่ที่ ผูเ้ ขี ย นโปรแกรมสามารถใช้ห ลัก การของ Object-Oriented Programming มาพัฒ นา โปรแกรมของตนด้วย Java ได้ภาษาจาวาเป็ นภาษาสาหรับเขียนโปรแกรมที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ( OOP : Object-Oriented Programming) โปรแกรมที่ เขี ย นขึ้ น ถู ก สร้ างภายในคลาส ดัง นั้น คลาสคื อ ที่ เก็ บ เมทอด (method) หรื อพฤติกรรม (behavior) ซึ่งมีสถานะ (state) และภาพพรรณ (identity) ประจา พฤติกรรม ภาพที่ 2.1 แสดงสัญลักษณ์ภาษาจาวา ข้อดีของ ภาษาจาวา 1) ภาษาจาวาเป็ นภาษาที่สนับสนุนการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุแบบสมบูรณ์ซ่ ึ งเหมาะสาหรับพัฒนาระบบ ่ ที่มีความซับซ้อน การพัฒนาโปรแกรมแบบวัตถุจะช่วยให้เราสามารถใช้คาหรื อชื่ อต่างๆที่มีอยูในระบบงานนั้นมา ใช้ในการออกแบบโปรแกรมได้ ทาให้เข้าใจได้ง่ายขึ้น 2) โปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยใช้ภาษาจาวาจะมีความสามารถทางานได้ในระบบปฏิบติการที่แตกต่างกัน ไม่ ั จาเป็ นต้องดัดแปลงแก้ไขโปรแกรม เช่ น หากเขียนโปรแกรมบนเครื่ อง Sun โปรแกรมนั้นสามารถนามา compile และ run บนเครื่ องพีซีธรรมดาได้3 3) ภาษาจาวามีการตรวจสอบข้อผิดพลาดทั้งตอน compile และ run ทาให้ลดข้อผิดพลาดที่อาจเกิ ดขึ้นใน โปรแกรม และช่วยให้ debug โปรแกรมได้ง่าย
  • 7. 7 4) ภาษาจาวามีความซับซ้อนน้อยกว่าภาษา C++ เมื่อเปรี ยบเทียบ code ของโปรแกรมที่เขียนขึ้นโดยภาษา จาวากับ C++ พบว่า โปรแกรมที่เขียนโดยภาษาจาวาจะมีจานวน code น้อยกว่าโปรแกรมที่เขียนโดยภาษา C++ ท าให้ใช้งานได้ง่ายกว่าและลดความผิดพลาดได้มากขึ้น 5) ภาษาจาวาถูกออกแบบมาให้มีความปลอดภัยสู งตั้งแต่แรก การรักษาความปลอดภัยทาให้โปรแกรมที่ เขียนขึ้นด้วยจาวามีความปลอดภัยมากกว่าโปรแกรมที่เขียนขึ้ น ด้วยภาษาอื่น เพราะจาวามี security ทั้ง low level และ high level ได้แก่ electronic signature, public and private key management, access control และ certificates 6) มี IDE, application server, และ library ต่าง ๆ มากมายสาหรับจาวาที่เราสามารถใช้งานได้โดยไม่ตอง ้ เสี ยค่าใช้จ่าย ทาให้เราสามารถลดค่าใช้จ่ายที่ตองเสี ยไปกับการซื้ อเครื่ องมือและซอฟต์แวร์ ต่าง ตัวอย่างต่อไปนี้ คือ ้ การเขียนโปรแกรม Hello world โดยใช้ภาษาจาวา public class Main { public static void main(String[] args) { System.out.println("Hello World!"); }} โปรแกรมข้างต้นจะแสดงข้อความ Hello world บนจอภาพ 2.2.2 Eclipse คือโปรแกรมที่ใช้สาหรับพัฒนาภาษา Java ซึ่งโปรแกรม Eclipse เป็ นโปรแกรมหนึ่งที่ใช้ใน การพัฒนา Application Server ได้อย่างมีประสิ ทธิ ภาพ และเนื่องจาก Eclipse เป็ นซอฟต์แวร์ OpenSource ที่ พัฒนาขึ้นเพื่อใช้โดยนักพัฒนาเอง ทาให้ความก้าวหน้าในการพัฒนาของ Eclipse เป็ นไปอย่างต่อเนื่องและรวดเร็ ว Eclipse มีองค์ประกอบหลักที่เรี ยกว่า Eclipse Platform ซึ่งให้บริ การพื้นฐานหลักสาหรับรวบรวมเครื่ องมือ ต่างๆจากภายนอกให้สามารถเข้ามาทางานร่ วมกันในสภาพแวดล้อมเดียวกัน และมีองค์ประกอบที่เรี ยกว่า Plug-in Development Environment (PDE) ซึ่ งใช้ในการเพิ่มความสามารถในการพัฒนาซอฟต์แวร์ มากขึ้น เครื่ องมือ ภายนอกจะถูกพัฒนาในภาพแบบที่เรี ยกว่า Eclipse plug-ins ดังนั้นหากต้องการให้ Eclipse ทางานใดเพิ่มเติม ก็ ั เพียงแต่พฒนา plugin สาหรับงานนั้นขึ้นมา และนา Plug-in นั้นมาติดตั้งเพิ่มเติมให้กบ Eclipse ที่มีอยูเ่ ท่านั้น ั Eclipse Plug-in ที่มีมาพร้อมกับ Eclipse เมื่อเรา download มาครั้งแรกก็คือองค์ประกอบที่เรี ยกว่า Java Development Toolkit (JDT) ซึ่งเป็ นเครื่ องมือในการเขียนและ Debug โปรแกรมภาษา Java ั ข้อดีของโปรแกรม Eclipse คือ ติดตั้งง่าย สามารถใช้ได้กบ J2SDK ได้ทุกเวอร์ ชน รองรับ ั่ ั ภาษาต่างประเทศอีกหลายภาษา มี plugin ที่ใช้เสริ มประสิ ทธิภาพของโปรแกรม สามารถทางานได้กบไฟล์หลาย ชนิด เช่น HTML, Java, C, JSP, EJB, XML และ GIF และที่สาคัญเป็ นฟรี เเวร์ (ให้ใช้งานได้ 90 วัน ถ้าจะใช้งาน ั เต็มประสิ ทธิ ภาพต้องเสี ยค่าใช้จ่ายภายหลัง) ใช้งานได้กบระบบปฏิบติการ Windows, Linux ั
  • 8. 8 ภาพที่ 2.2 แสดงสัญลักษณ์ Eclipse 2.2.3 Android SDK Android SDK ย่ อ มาจาก Android Software Development Kit ซึ่ งเป็ นชุ ดโปรแกรมที่ ท าง Google พัฒ นาออกมาเพื่ อ แจกจ่ ายให้ นั ก พั ฒ นาแอปพลิเคชั่ น หรื อ ผู้ ส นใจทั่ ว ไปดาวน์ โหลดไปใช้ งานกั น ได้ โดยไม่ มี ค่ าใช้ จ่ายใดๆ (ฟรี สาหรับการใช้ งานโปรแกรม) จึงเป็ นอีกหนึ่งปั จจัยที่ทาให้ แอปพลิเคชั่ นบนแอนดรอยด์ น้ัน เพิ่ม ขึ้น อย่ างรวดเร็ ว ในชุ ด SDK นั้ นจะมี โปรแกรมและไลบรารี่ ต่ างๆ ที่จาเป็ นต่ อการพัฒ นาแอปพลิเคชั่ นบน ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ อย่ างเช่ น Emulator หรื อโปรแกรมจาลองเครื่ องจักรเสมือนดัง ภาพที่ 2-4 ซึ่ งทาให้ ผู้พัฒ นาโปรแกรมสามารถสร้ างแอปพลิเคชั่ นและนามาทดลองใช้ งานบน Emulator ก่ อนโดยมีสภาวะแวดล้ อม เหมือนกับการนาไปใช้ งานโทรศัพท์ เคลื่อนที่ที่ ใช้ ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ จริ งๆ เลยโดยสามารถดาวน์ โหลด Android SDK ทีมีให้ เลือกทั้งบน Windows, Mac และ Linux5 ่ ภาพที่ 2.3 แสดงสัญลักษณ์ Android SDK 2.3 งานวิจัยทีเ่ กียวข้ อง ่ นางสาวจิตราวรรณ พฤกษ์ไพศาล และนายธนวัฒน์ พลสุ วรรณ(2554) ได้ศึกษาแอปพลิ เคชันการดูแลเด็ก ่ ให้มีสุขภาพและพัฒนาการที่ดีต้ งแต่แรกเกิด เป็ นแอปพลิเคชันช่วยลดภาระของแม่ในการติดตามบันทึกพัฒนาการ ั ่ ของลูก และส่ งเสริ มการพึ่งพาตนเองด้านสุ ขภาพ และมีการเข้าถึงข้อมูลจากผูเ้ ชี่ยวชาญและแม่ผมีประสบการณ์ใน ู้ โซเชียลเน็ตเวิร์ค (social network) ซึ่ งทาให้แม่ได้ขอมูลที่ถูกต้องและหลากหลายแง่มุมโดยสะดวกและรวดเร็ ว ้ นายอนุ กูล คงสกูล (2551) ระบบทดสอบย่อยผ่านทางอุปกรณ์ โทรศัพท์มือถื อโครงงานชิ้ นนี้ ได้นาส่ วน ของโปรแกรมประยุก ต์ส าหรั บ ทดสอบหรื อ Quiz Player มาพัฒ นาและปรั บ ปรุ ง ให้ ส ามารถใช้ ง านได้อ ย่า ง
  • 9. 9 เหมาะสมทั้งบนอุ ปกรณ์ คอมพิวเตอร์ และโทรศัพท์มือถื อ เพื่อพัฒนาและทดสอบระบบทดสอบย่อย (QMS) ใน ส่ วนของโปรแกรมประยุกต์สาหรับทดสอบ ให้สามารถใช้งานผ่านอุปกรณ์โทรศัพท์มือถือให้ได้มากที่สุด วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน วิเคราะห์ เนือหา ้ 1 ) ค่ าเฉลียเลขคณิต จัดว่าเป็ นค่าที่มีความสาคัญมากในวิชาสถิติ เพราะค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเป็ นค่า ่ กลางหรื อเป็ นตัวแทนของข้อมูลที่ดีที่สุด การหาค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตเมื่อข้อมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ในกรณี ที่ขอมูลไม่ได้มีการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ตสามารถหาได้โดย ้ N Xi สู ตร x = i1 N 2 ) ค่ าเฉลียเรขาคณิต เนื่ องจากการหาค่า G.M. ต้องมีการคานวณหากรณฑ์ที่ N ของจานวน ซึ่งทา ่ ให้การใช้สูตรดังกล่าวข้างต้นไม่สะดวกใน กรณี ที่ขอมูลมีค่ามากๆ และต้องใช้เครื่ องคิดเลขในการ ้ คานวณ ดังนั้นเพื่อความสะดวกจึงใช้ลอการิ ทึมช่วย โดยจะได้สูตรในการหาค่า G.M. ดังนี้ G.M. = ่ 3 ) มัธยฐาน (Median) ใช้สญลักษณ์ Med คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด เมื่อ ั ่ ได้เรี ยงข้อมูลตามลาดับ ไม่วาจากน้อยไปมาก หรื อจากมากไปน้อยการหามัธยฐานของข้อมูลที่ไม่ได้แจก แจงความถี่ หลักการคิด ่ ั 1) เรี ยงข้อมูลที่มีอยูท้ งหมดจากน้อยไปมาก หรื อมากไปน้อยก็ได้ 2) ตาแหน่งมัธยฐาน คือ ตาแหน่งกึ่งกลางข้อมูล ดังนั้นตาแหน่งของ มัธยฐาน = N  1 2 เมื่อ N คือ จานวนข้อมูลทั้งหมด ่ 3) มัธยฐาน คือ ค่าที่มีตาแหน่งอยูก่ ึงกลางของข้อมูลทั้งหมด 4 ) พิสัย (Range : R)พิสัย หมายถึง การหาการกระจายของข้อมูลโดยนาข้อมูลที่มี ค่าสู งที่สุด ลบกับข้อมูลที่มีค่าต่าที่สุด เพื่อให้ได้ค่าที่เป็ นช่วงของการกระจาย ซึ่ งสามารถบอกถึงความกว้างของ ข้อมูลชุดนั้นๆ สาหรับสู ตรที่ใช้ในการหาพิสัยคือ พิสัย (R) = Xmax – Xmin
  • 10. 10 การออกแบบโครงสร้ างของบทเรียน เมนูหลัก บทเรี ยน ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต G.M. ทดลองคานวณ คานวณ G.M. = ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต x มัธยฐาน Me พิสัย Me = N  1 2 N i1 Xi x= N พิสัย Xmax - Xmin ภาพที่ 3.1 ภาพแสดงการออกแบบโครงสร้างของบทเรี ยน การออกแบบหน้ าจอ หน้าเมนูหลัก ประกอบไปด้วยส่ วนประกอบ ดังนี้ 1) ชื่อแอพพลิเคชัน “X4MCalculator” ่ 2) ปุ่ มเลือกเข้าใช้งานแอพพลิเคชันเนื้อหาบทเรี ยน ่ 3) ปุ่ มเลือกเข้าใช้งานการทดลองคานวณ -ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต -มัธยฐาน -พิสัย -ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต การหาค่ากลาง บทเรี ยน ทดลองคานวณ ค่าเฉลี่ยเลข คณิ ต มัธยฐาน พิสย ั ค่าเฉลี่ย เรขาคณิ ต ภาพที่ 3.2 แสดงหน้าเมนูหลัก หน้าเมนูของเนื้อหาทฤษฎีเกี่ยวกับสมบัติของก๊าซ ประกอบด้วยเนื้อหา 4 ส่ วน แบ่งออกเป็ น 4 ปุ่ ม คือ - ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต - มัธยฐาน - พิสัย - ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต
  • 11. 11 กรุ ณาเลือกเนื้อหา ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต มัธยฐาน พิสัย ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต ภาพที่ 3.3 แสดงหน้าเนื้อหาบทเรี ยน เทคนิคการพัฒนาโครงงาน 1 ) ค่าเฉลี่ยเลขคณิ ต //ทาการคานวณ Double F = (A + B + C + D + E )/5; String G = changeFormat.format(F);//textView2.setText(Double.toString(G)); TextView2.setText(G);}}); 2) มัธยฐาน //ทาการคานวณ Double F = (double) ((5 + 1)/2); String G = changeFormat.format(F); //textView2.setText(Double.toString(G)); TextView2.setText(G);}}); 3 ) พิสัย //ทาการคานวณ Double F = (E - A ); String G = changeFormat.format(F); //textView2.setText(Double.toString(G)); TextView2.setText(G);}}); 4 ) ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต //ทาการคานวณ Double F = (Math.sqrt(Math.sqrt((A * B * C * D )))); String G = changeFormat.format(F); //textView2.setText(Double.toString(G)); TextView2.setText(G);}});
  • 12. 12 เครื่องมือและอุปกรณ์ ทใช้ ี่ ฮาร์ ดแวร์ 1) เครื่ องคอมพิวเตอร์ โน้ตบุ๊ก พร้อมเชื่ อมต่ออินเตอร์ เน็ต 2) โทรศัพท์สมาร์ทโฟนที่มีระบบปฏิบติงานแอนดรอยด์ ั ซอฟต์ แวร์ 1) โปรแกรม Eclipse 2) ระบบปฏิบติการแอนดรอยด์ ั งบประมาณ 2000 บาท ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สั ปดาห์ ที่ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 2 3 4 5 6 7 8 คิดหัวข้อโครงงาน ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล จัดทาโครงร่ างงาน ปฏิบติการสร้าง ั โครงงาน ปรับปรุ งทดสอบ การทาเอกสารรายงาน ประเมินผลงาน นาเสนอโครงงาน ผู้รับผิดชอบ 1 1 1 1 1 1 1 12 0 1 3 4 5 6 7 ณัฐกรณ์ ณัฐกรณ์ กมลวรรณ กมลวรรณ ณัฐกรณ์ กมลวรรณ ณัฐกรณ์ กมลวรรณ ณัฐกรณ์ ณัฐกรณ์ กมลวรรณ
  • 13. 13 ผลทีคาดว่ าจะได้ รับ (ผลลัพธ์ที่ตองการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้ นสุ ดการทาโครงงาน) ่ ้ 1. ได้แอปพลิเคชันบนสมาร์ ทโฟน เรื่ องการหาค่ากลาง ่ สถานทีดาเนินการ: โรงเรี ยนยุพราชวิทยาลัย อาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ่ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทเี่ กียวข้ อง: กลุ่มสาระการงานอาชีพและเทคโนโลยีสารสนเทศ ่ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรื อแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) จิตราวรรณ พฤกษ์ไพศาล และธนวัฒน์ พลสุ วรรณ.(2554). แอปพลิเคชั่ นการดูแลเด็กให้ มีสุขภาพและ พัฒนาการทีดี. ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ่ จุฑารัตน์ ขันธศักดิ์. ค่าเฉลี่ยเรขาคณิ ต. (2552). ค่ าเฉลียเรขาคณิต 20 มกราคม 2556. [Online] Available ่ URL: https://sites.google.com/site/jutharatkhanthasak/kha-cheliy-rekhakhnit มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การวิเคราะห์แนวโน้มเข้าสู่ ส่วนกลาง. (2551). ค่ าเฉลียเลขคณิต ่ (Arithmetic Mean, Average) ค่ ามัธยฐาน (Median: Me). 20 มกราคม 2556. [Online] Available URL: http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_5.htm มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม. การวัดการกระจายสัมบูรณ์ (Absolute Variation) (2551). พิสัย (Range : R). 20 มกราคม 2556, [Online] Available URL: http://pibul2.psru.ac.th/~buncha/Chp1_6.htm อนุกล คงสกูล. (2551). ระบบทดสอบย่ อยผ่ านทางอุปกรณ์ โทรศัพท์ มือถือ. ภาควิชาวิศวกรรม ู คอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานคริ นทร์